Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Law and Economics Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

8,564 Full-Text Articles 5,579 Authors 5,669,062 Downloads 191 Institutions

All Articles in Law and Economics

Faceted Search

8,564 full-text articles. Page 68 of 264.

The Problem With Predators, June Carbone, William K. Black 2020 University of Missouri - Kansas City, School of Law

The Problem With Predators, June Carbone, William K. Black

Faculty Works

Both corporate theory and sex discrimination law start with presumptions that CEOs seek to advance legitimate ends and design the internal organization of business enterprises to achieve such ends. Yet, a growing literature questions why CEOs and boards of directors nonetheless select for Machiavellianism, narcissism, psychopathy, and toxic masculinity, despite the downsides associated with these traits. Three scholarly literatures—economics, criminology, and gender theory—draw on advances in psychology to shed new light on the construction of seemingly dysfunctional corporate cultures. They start by questioning the assumption that CEOs—even CEOs of seemingly mainstream businesses—necessarily seek to advance “legitimate” ends. Instead, they suggest …


The Costs And Benefits Of Affordable Housing: A Partial Solution To The Conflict Of Competing Goods, Michael R. Diamond 2020 Georgetown University Law Center

The Costs And Benefits Of Affordable Housing: A Partial Solution To The Conflict Of Competing Goods, Michael R. Diamond

Georgetown Law Faculty Publications and Other Works

In this Article, I extend a prior inquiry into the costs borne by society due to the lack of enough decent, affordable housing units. I previously outlined those costs and suggested a combination of public cost savings and public and private benefits that would accrue by providing that housing. I posited that the savings and benefits, in the aggregate, could at least substantially offset the costs and might even exceed them. If that is so, I queried, why has society not produced the needed units? In answering that question, I offered several possible responses: inadequate resources, racism, and public choice …


Defined Contribution Plans And The Challenge Of Financial Illiteracy, Jill E. Fisch, Annamaria Lusardi, Andrea Hasler 2020 University of Pennsylvania Carey Law School

Defined Contribution Plans And The Challenge Of Financial Illiteracy, Jill E. Fisch, Annamaria Lusardi, Andrea Hasler

All Faculty Scholarship

Retirement investing in the United States has changed dramatically. The classic defined-benefit (DB) plan has largely been replaced by the defined contribution (DC) plan. With the latter, individual employees’ decisions about how much to save for retirement and how to invest those savings determine the benefits available upon retirement.

We analyze data from the 2015 National Financial Capability Study to show that people whose only exposure to investment decisions is by virtue of their participation in an employer-sponsored 401(k) plan are poorly equipped to make sound investment decisions. Specifically, they suffer from higher levels of financial illiteracy than other investors. …


Cross-Border Corporate Insolvency In The Era Of Soft(Ish) Law, John A.E. Pottow 2020 University of Michigan Law School

Cross-Border Corporate Insolvency In The Era Of Soft(Ish) Law, John A.E. Pottow

Book Chapters

Insolvency law (bankruptcy law to some) moves so quickly in the cross-border realm that this piece's discussion, started in 2015, is probably already outdated. Nonetheless, I publish it unrepentantly because it turns overdue attention to the role of soft law in this domain. Building on earlier work in which I address the role of incrementalism, I discuss the marked success of the UNCITRAL Model Law on Cross-Border Insolvency and its cognate Insolvency Regulation in the EU (the latter now into its "Recast"). As predicted/hoped, the EU Recast, joining other contemporaneous reform projects, is building upon the scaffolding of legal doctrines …


Christianity And The International Economic Order, Daniel A. Crane 2020 University of Michigan Law School

Christianity And The International Economic Order, Daniel A. Crane

Book Chapters

The relationship between Christianity and the global economic order is murky. The influence of certain Christian thinkers can be seen in certain aspects of the international economic system, but it would be difficult to sustain the case that the system pervasively reflects a Christian character. There is little ongoing engagement between formal Christian institutions (churches or church groups) and formal political institutions such as the WTO, IMF, or World Bank, because the work of elite global political institutions has become technical, technocratic, and specialized. At a retail level, Christians of course exert influence on the global economy in their capacities …


The New Mechanisms Of Market Inefficiency, Kathryn Judge 2020 Columbia Law School

The New Mechanisms Of Market Inefficiency, Kathryn Judge

Faculty Scholarship

Mechanisms of market inefficiency are some of the most important and least understood institutions in financial markets today. A growing body of empirical work reveals a strong and persistent demand for “safe assets,” financial instruments that are sufficiently low risk and opaque that holders readily accept them at face value. The production of such assets, and the willingness of holders to treat them as information insensitive, depends on the existence of mechanisms that promote faith in the value of the underlying assets while simultaneously discouraging information production specific to the value of those assets. Such mechanisms include private arrangements, like …


Race And Bankruptcy: Explaining Racial Disparities In Consumer Bankruptcy, Edward R. Morrison, Belisa Pang, Antoine Uettwiller 2020 Columbia Law School

Race And Bankruptcy: Explaining Racial Disparities In Consumer Bankruptcy, Edward R. Morrison, Belisa Pang, Antoine Uettwiller

Faculty Scholarship

African American bankruptcy filers select Chapter 13 far more often than other debtors, who opt instead for Chapter 7, which has higher success rates and lower attorneys’ fees. Prior scholarship blames racial discrimination by attorneys. We propose an alternative explanation: Chapter 13 offers benefits, including retention of cars and driver’s licenses, that are more valuable to African American debtors because of relatively long commutes. We study a 2011 policy change in Chicago, which seized cars and suspended licenses of consumers with large traffic-related debts. The policy produced a large increase in Chapter 13 filings, especially by African Americans. Two mechanisms …


Contractual Arbitrage, Stephen J. Choi, G. Mitu Gulati, Robert E. Scott 2020 Columbia Law School

Contractual Arbitrage, Stephen J. Choi, G. Mitu Gulati, Robert E. Scott

Faculty Scholarship

Standard-form contracts are likely to be incomplete because they are not tailored to the needs of particular deals. In an attempt to reduce incompleteness, standard-form contracts often contain clauses with vague or ambiguous terms. Terms with indeterminate meaning present opportunities for strategic behavior well after a contract has been executed. This linguistic uncertainty in standard-form commercial contracts creates an opportunity for “contractual arbitrage”: parties may argue ex post that the uncertainties in expression mean something that the contracting parties did not contemplate ex ante. This chapter argues that the scope for contractual arbitrage is a direct function of the techniques …


How To Help Small Businesses Survive Covid-19, Todd Baker, Kathryn Judge 2020 Columbia Law School, Richard Paul Richman Center for Business, Law, and Public Policy

How To Help Small Businesses Survive Covid-19, Todd Baker, Kathryn Judge

Faculty Scholarship

Small businesses are among the hardest hit by the COVID-19 crisis. Many are shuttered, and far more face cash flow constraints, raising questions about just how many will survive this recession. The government has responded with a critical forgivable loan program, but for many of these businesses, this program alone will not provide the cash they need to retain workers, pay rent, and help their business come back to life when Americans are no longer sheltering in place. This essay calls on regulators to find new and creative ways to work with existing intermediaries, including banks and online lenders, who …


An Economic Approach To Religious Exemptions, Stephanie H. Barclay 2020 Notre Dame Law School

An Economic Approach To Religious Exemptions, Stephanie H. Barclay

Journal Articles

Externalities caused by religious exemptions have been getting the spotlight again in light a case the U.S. Supreme Court will hear this term: Fulton v. City of Philadelphia. Some argue that religious individuals should be required to internalize the costs they impose on third parties and thus should be denied the right to practice that harmful behavior. These new progressive theories about harm trade on rhetoric and normative intuitions regarding externalities and costs. But curiously, these theories also largely ignore an influential theoretical movement that has studied externalities and costs for the last fifty years: law and economics.

This Article …


Building A Law-And-Political-Economy Framework: Beyond The Twentieth-Century Synthesis, Jedediah S. Purdy, David Singh Grewal, Amy Kapczynski, K. Sabeel Rahman 2020 Columbia Law School

Building A Law-And-Political-Economy Framework: Beyond The Twentieth-Century Synthesis, Jedediah S. Purdy, David Singh Grewal, Amy Kapczynski, K. Sabeel Rahman

Faculty Scholarship

We live in a time of interrelated crises. Economic inequality and precarity, and crises of democracy, climate change, and more raise significant challenges for legal scholarship and thought. “Neoliberal” premises undergird many fields of law and have helped authorize policies and practices that reaffirm the inequities of the current era. In particular, market efficiency, neutrality, and formal equality have rendered key kinds of power invisible, and generated a skepticism of democratic politics. The result of these presumptions is what we call the “Twentieth-Century Synthesis”: a pervasive view of law that encases “the market” from claims of justice and conceals it …


Revisiting The Enforceability Of Online Contracts: The Need For Unambiguous Assent To Inconspicuous Terms, Tom Mozingo 2020 Seattle University School of Law

Revisiting The Enforceability Of Online Contracts: The Need For Unambiguous Assent To Inconspicuous Terms, Tom Mozingo

Seattle University Law Review

In determining the enforceability of online contracts, namely those formed from the use of smartphone applications, courts typically look to whether the contract terms were reasonably conspicuous or communicated to the consumer. With the rise of “browse-wrap” contracts, where terms are not directly communicated to the consumer or where the consumer is not required to click the equivalent of an “I agree” button clearly manifesting assent to the terms, courts have inconsistently applied the reasonable communicativeness standard to the detriment of consumers and application developers alike. This Comment will explore the development of browse-wrap contracting jurisprudence and the need to …


In Memory Of Professor James E. Bond, Janet Ainsworth 2020 Seattle University School of Law

In Memory Of Professor James E. Bond, Janet Ainsworth

Seattle University Law Review

Janet Ainsworth, Professor of Law at Seattle University School of Law: In Memory of Professor James E. Bond.


Attorney–Client Privilege In Bad Faith Insurance Claims: The Cedell Presumption And A Necessary National Resolution, Klien Hilliard 2020 Seattle University School of Law

Attorney–Client Privilege In Bad Faith Insurance Claims: The Cedell Presumption And A Necessary National Resolution, Klien Hilliard

Seattle University Law Review

Attorney–client privilege is one of the most important aspects of our legal system. It is one of the oldest privileges in American law and is codified both at the national and state level. Applying to both individual persons and corporations, this expanded privilege covers a wide breadth of clients. However, this broad privilege can sometimes become blurred in relationships between the corporation and the individuals it serves. Specifically, insurance companies and those they cover have complex relationships, as the insurer possesses a quasi-fiduciary relationship in relation to the insured. This type of relationship requires that the insurer act in good …


The Post-Chicago Antitrust Revolution: A Retrospective, Christopher S. Yoo 2020 University of Pennsylvania Law School

The Post-Chicago Antitrust Revolution: A Retrospective, Christopher S. Yoo

All Faculty Scholarship

A symposium examining the contributions of the post-Chicago School provides an appropriate opportunity to offer some thoughts on both the past and the future of antitrust. This afterword reviews the excellent papers with an eye toward appreciating the contributions and limitations of both the Chicago School, in terms of promoting the consumer welfare standard and embracing price theory as the preferred mode of economic analysis, and the post-Chicago School, with its emphasis on game theory and firm-level strategic conduct. It then explores two emerging trends, specifically neo-Brandeisian advocacy for abandoning consumer welfare as the sole goal of antitrust and the …


ปัญหาการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย ศึกษากรณีนำเงินตราและตราสารเปลี่ยนมือออกไปนอกหรือเข้ามาในประเทศ, รสกร ไชยบัวแดง 2020 คณะนิติศาสตร์

ปัญหาการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย ศึกษากรณีนำเงินตราและตราสารเปลี่ยนมือออกไปนอกหรือเข้ามาในประเทศ, รสกร ไชยบัวแดง

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ปัจจุบันอาชญากรส่วนใหญ่มุ่งประกอบอาชญากรรมเพื่อให้ได้มาซึ่งเงินหรือทรัพย์สินอันเป็นปัจจัยสำคัญ ในการดำรงชีวิต นอกจากนี้นวัตกรรมและเทคโนโลยีหลายประเภทมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องทำให้อาชญากรสามารถนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือในการก่ออาชญากรรมเพื่อให้ได้มาซึ่งเงินหรือทรัพย์สินในจำนวนที่มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้การประกอบอาชญากรรมมีรูปแบบและวิธีการที่พัฒนาเป็นการกระทำความผิดในรูปแบบองค์กรอาชญากรรม และองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติซึ่งยากต่อการควบคุมและปราบปรามด้วยกฎหมายในลักษณะเดิมๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการควบคุมและปราบปรามการแปรสภาพของเงินหรือทรัพย์สินที่ได้มาจากการกระทำความผิด หรือเรียกว่า "การฟอกเงิน" ซึ่งเป็นการกระทำด้วยวิธีการใดๆ ก็ตามให้เงินที่ได้มาจากการกระทำความผิดกลายเป็นเงินที่เสมือนว่าได้มาโดยชอบด้วยกฎหมายเพื่อหลีกเลี่ยงการถูกจับกุมลงโทษและยึดเงินนั้น ประเทศไทยจึงได้มีการตราพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 และพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม การสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง พ.ศ. 2559 เพื่อใช้ เป็นเครื่องมือสำคัญในการตัดช่องทางการเงินของอาชญากร โดยได้กำหนดมาตรการที่ยึดหลักการในข้อแนะนำของคณะทำงาน Financial Action Task Force หรือ FATF ซึ่งเป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ทำหน้าที่หลักในการกำหนดมาตรการด้านต่างๆ เพื่อต่อต้านการฟอกเงิน การสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย และการแพร่ขยายอาวุธ ที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง ตลอดจนภัยอื่นๆ ที่จะกระทบต่อระบบการเงินระหว่างประเทศ นอกจากนี้ FATF ยังร่วมมือกับหน่วยงานระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องเพื่อระบุจุดอ่อนด้านต่างๆ ในระดับชาติ โดยมีเป้าหมายเพื่อคุ้มครอง ไม่ให้มีการนำระบบการเงินระหว่างประเทศไปใช้กระทำความผิด


ปัญหาการลดอัตราค่าใช้จ่ายแบบเหมาสำหรับการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากรณีฟาร์มสุกรรายย่อย, จิตติมา เกียรติจานนท์ 2020 คณะนิติศาสตร์

ปัญหาการลดอัตราค่าใช้จ่ายแบบเหมาสำหรับการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากรณีฟาร์มสุกรรายย่อย, จิตติมา เกียรติจานนท์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ค่าใช้จ่ายเป็นองค์ประกอบหนึ่งในการคำนวณภาษี และค่าใช้จ่ายถือเป็นสิทธิประโยชน์ทางภาษีอย่างหนึ่งที่กฎหมายกำหนดไว้สำหรับหักเป็นต้นทุนในการทำงานของผู้มีเงินได้ เพื่อให้ได้เงินได้หรือรายได้สุทธิมาคิดภาษีตามอัตราภาษี โดยกฎหมายได้กำหนดอัตราการหักค่าใช้จ่ายมากหรือน้อยตามแต่ละประเภทของเงินได้ เนื่องจากเงินได้พึงประเมินแต่ละประเภทต่างมีค่าใช้จ่ายต่างกัน หากกำหนดค่าใช้จ่ายให้หักเป็นการเหมาตายตัวทุกประเภทแล้วย่อมไม่สมเหตุสมผลกับผู้มีเงินได้ ดังนั้น ผู้มีเงินได้จึงมีทางเลือกสำหรับการค่าใช้จ่ายได้ 2 วิธีด้วยกัน คือ การหักค่าใช้จ่ายแบบเหมา การหักค่าใช้จ่ายตามความจำเป็นและสมควร ในทางทฤษฏี ผู้มีเงินได้ควรเลือกวิธีหักค่าใช้จ่ายตามความจำเป็นและสมควร เพราะสามารถหักค่าใช้จ่ายได้มากกว่า จะทำให้มีภาระภาษีที่ต้องเสียน้อยลง แต่อย่างไรก็ตาม การหักค่าใช้จ่ายตามความจำเป็นและสมควรนั้นจำเป็นต้องทำตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่กฎหมายกำหนด กล่าวคือ ต้องมีเอกสารและหลักฐานที่ตรวจสอบได้ ค่าใช้จ่ายที่นำมาใช้ต้องเกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจหรือประเภทเงินได้ที่ได้มา มีจำนวนที่เหมาะสม และไม่เป็นค่าใช้จ่ายที่กฎหมายห้ามไม่ให้หักเป็นรายจ่าย เช่น รายจ่ายที่มีลักษณะเป็นการส่วนตัว เป็นต้น จากหลักเกณฑ์ที่กล่าวมานั้น หากพิจารณาในด้านต้นทุนของการจัดการเอกสาร ความรู้ของผู้มีเงินได้ และรูปแบบของการประกอบกิจการแล้วนั้น ในทางปฏิบัติ ผู้มีเงินได้ที่เป็นบุคคลธรรมดาส่วนใหญ่จึงเลือกวิธีหักค่าใช้จ่ายแบบเหมา เพราะมีความสะดวกและประหยัดต้นทุนในด้านการจัดการเอกสารมากกว่า ผู้มีเงินได้จากการประกอบกิจการฟาร์มสุกรเป็นผู้มีเงินได้พึงประเมินตามประมวลรัษฎากรประเภท 40(8) ที่มีสิทธิเลือกหักค่าใช้จ่ายได้ทั้งวิธีการหักค่าใช้จ่ายแบบเหมา และหักค่าใช้จ่ายตามความจำเป็นและสมควร โดยก่อนปี พ.ศ.2560 ผู้ประกอบกิจการฟาร์มสุกรมีสิทธิหักค่าใช้จ่ายแบบเหมาได้ถึงร้อยละ 85 ของเงินได้พึงประเมิน ผู้ประกอบการส่วนใหญ่จึงเลือกหักค่าใช้จ่ายในอัตราเหมา ทั้งเหตุผลของความสะดวกและความคุ้มค่ากว่าการลงทุนจัดทำเอกสารแล้วนั้น ยังรวมถึงเหตุผลของสภาพธุรกิจที่ต้องติดต่อค้าขายกับผู้ประกอบการที่เป็นบุคคลธรรมดา และเกษตรกรรายย่อยที่ไม่สามารถจัดทำเอกสารหลักฐานตามที่กฎหมายกำหนด ซึ่งเป็นสาเหตุของการไม่สามารถใช้เป็นค่าใช้จ่ายในทางภาษีของกิจการได้ เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ.2560 กรมสรรพากรได้มีการประกาศพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการกำหนดค่าใช้จ่ายที่ยอมให้หักจากเงินได้พึงประเมิน (ฉบับที่ 629) พ.ศ.2560 ให้มีการปรับปรุงอัตราค่าใช้จ่ายที่ยอมให้หักจากเงินได้พึงประเมินตามประมวลรัษฎากรประเภท 40 (8) เป็นอัตราเหมาร้อยละ 60 โดยให้เหตุผลว่า อัตราค่าใช้จ่ายที่ยอมให้หักได้จากเงินได้พึงประเมินในการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (8) แห่งประมวลรัษฎากร ได้ใช้บังคับมาเป็นระยะเวลานานแล้ว ประกอบกับเพื่อเป็นการสนับสนุนให้บุคคลธรรมดาหักค่าใช้จ่ายตามความจำเป็นและสมควร หรือเปลี่ยนรูปแบบการประกอบกิจการจากบุคคลธรรมดาเป็นนิติบุคคล อันเป็นผลให้ผู้มีเงินได้ต้องจัดทำบัญชีประกอบการหักค่าใช้จ่ายดังกล่าวเพื่อแสดงผลประกอบการที่แท้จริง จากการประกาศลดอัตราค่าใช้จ่ายแบบเหมาร้อยละ 85 เหลือเพียงร้อยละ 60 ส่งผลกระทบอย่างมากต่อผู้ประกอบการฟาร์มสุกรที่มีส่วนต่างกำไรที่ต้องเสียเพิ่มขึ้นจากเดิมถึงร้อยละ 25 หรือเรียกได้ว่าผู้ประกอบการมีกำไรส่วนเกินที่ถูกประเมินโดยกรมสรรพากรสูงถึงร้อยละ 40 ที่จะนำไปหักค่าลดหย่อนแล้วนำไปคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามโครงสร้างอัตราภาษี ซึ่งหากพิจารณาจากสภาพธุรกิจแล้วนั้น กำไรส่วนเกินของสินค้าประเภทสุกรมีเพียง 5-15% โดยเฉลี่ย เนื่องจากผู้ประกอบการฟาร์มสุกรไม่สามารถเป็นผู้กำหนดรายได้ค่าสินค้าให้กับตนเองได้อย่างชัดเจน จากการที่สุกรเป็นสินค้าประเภทโภคภัณฑ์ ราคาของสินค้าขึ้นลงตามอุปสงค์อุปทาน อีกทั้งสุกรเป็นหนึ่งในสินค้าเกษตรกรรมที่ถูกกำกับควบคุมภายใต้กฎหมายว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ ภาครัฐจะเข้าแทรกแซงราคาเพื่อดูแลค่าครองชีพของพลเมืองในช่วงที่ราคาสุกรขยับตัวสูง โดยการขอความร่วมมือในการตรึงราคาจำหน่ายสุกรมีชีวิต การประกาศลดอัตราค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาร้อยละ 60 จึงไม่สะท้อนให้เห็นถึงผลประกอบการที่แท้จริงของผู้ประกอบการฟาร์มสุกรได้ และยังเป็นการสร้างภาระภาษีที่เพิ่มขึ้นให้กับผู้เสียภาษีเงินได้อีกด้วย ดังนั้น ด้วยเหตุผลและความจำเป็นตามที่กล่าวมาจึงต้องศึกษาถึงความเหมาะสมของการบังคับลดอัตราเหมาจ่ายแก่กลุ่มเกษตรกรรายย่อย และศึกษามาตรการและวิธีการในการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจากผู้ประกอบธุรกิจฟาร์มสุกรที่มีประสิทธิภาพและสามารถสะท้อนให้เห็นถึงรายได้ที่แท้จริงของผู้ประกอบการ แทนการบังคับให้ผู้ประกอบการบุคคลธรรมดาเข้าสู่ระบบนิติบุคคล


ปัญหาของการรับรู้รายได้และรายจ่ายในการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลของบริษัทประกันชีวิต, ณัฐพงษ์ บุญรังษี 2020 คณะนิติศาสตร์

ปัญหาของการรับรู้รายได้และรายจ่ายในการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลของบริษัทประกันชีวิต, ณัฐพงษ์ บุญรังษี

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การรับรู้รายได้และรายจ่ายของธุรกิจประกันชีวิตต้องอาศัยการคำนวณโดยใช้การประมาณ การและสมมติฐานที่สำคัญ เช่น สมมติฐานทางคณิตศาสตร์ประกันภัย ความเสี่ยงทางด้านการเงิน ความเสี่ยงจากตัวสัญญาประกันภัย และการคิดลดมูลค่าเงินปัจจุบัน เป็นต้น เมื่อทำการศึกษาการรับรู้ รายได้และรายจ่ายเพื่อคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลตามมาตรา 65 แห่งประมวลรัษฎากรที่กำหนดให้ ใช้เกณฑ์สิทธิ์โดยให้รับรู้รายจ่ายสำรองประกันชีวิตและรายจ่ายสำรองเบี้ยของสัญญาที่ไม่ใช่สัญญา คุ้มครองชีวิตเฉพาะส่วนที่ไม่เกินร้อยละ 65 และ 40 ของจำนวนเบี้ยประกันภัยที่ได้รับในรอบ ระยะเวลาบัญชีหลังจากหักเบี้ยประกันภัยซึ่งเอาประกันต่อออกแล้ว ตามลำดับ หลักเกณฑ์ดังกล่าวไม่สอดคล้องกับลักษณะการรับรู้รายได้และรายจ่ายตามรูปแบบการ ดำเนินธุรกิจของบริษัท รวมถึงการรับรู้รายได้และรายจ่ายทางบัญชีรูปแบบใหม่ตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงินฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาประกันภัย ที่จะมีผลบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2567 และ กำหนดให้บริษัทรับรู้รายได้และรายจ่ายจากการรับประกันภัยสำหรับความคุ้มครองที่เหลืออยู่โดย สะท้อนการให้การบริการตามสัญญาและสิ่งตอบแทนที่บริษัทคาดว่าจะมีสิทธิได้รับจากการให้บริการ ดังกล่าวโดยใช้หลักการปันตามการล่วงของเวลา ความแตกต่างดังกล่าวส่งผลให้เกิดผลต่างระหว่าง กำไร (ขาดทุน) สุทธิทางภาษีและกำไรที่ (ขาดทุน) ที่แท้จริงจากการดำเนินธุรกิจ ทำให้เกิดต้นทุนค่า เสียโอกาสในการนำเงินรายได้เบี้ยประกันภัยไปลงทุนเพื่อให้เกิดผลตอบแทนส่วนเพิ่มและเงินสำรอง ของบริษัทที่ควรกันไว้สำหรับผู้เอาประกันภัย เมื่อทำการศึกษาและวิเคราะห์เปรียบเทียบหลักเกณฑ์การรับรู้รายได้และรายจ่ายของบริษัท ประกันชีวิตของเขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีนและสาธารณรัฐเกาหลีพบว่ามี ความสอดคล้องกันระหว่างกับลักษณะการรับรู้รายได้และรายจ่ายตามรูปแบบการดำเนินธุรกิจของ บริษัทประกันชีวิต รวมถึงหลักการทางบัญชีและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง เช่น มาตรฐานการบัญชีและ มาตรฐานการรายงานทางการเงินและรายงานตามข้อบังคับที่บริษัทถือปฏิบัติอยู่ในปัจจุบัน ส่งผลให้ รายจ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคลที่เกิดขึ้นมีความสมเหตุสมผลและไม่เป็นภาระที่เกินความจำเป็น ดังนั้น การแก้ไขบทบัญญัติตามกฎหมายให้บริษัทประกันชีวิตในประเทศไทยสามารถรับรู้ รายได้และรายจ่ายในการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลที่สอดคล้องกับลักษณะของธุรกิจ ตามที่ได้มีการ ปฏิบัติในต่างประเทศ นอกจากจะทำให้เกิดความเป็นธรรมแก่ภาคธุรกิจในเรื่องของภาระรายจ่ายภาษี เงินได้ ยังช่วยเพิ่มสภาพคล่อง เงินสำรองและเงินทุนสะสม เพื่อใช้ในการลงทุนและเกิดประโยชน์ต่อผู้ เอาประกันภัย


ปัญหาความไม่ชัดเจนว่าด้วยกฎหมายศุลกากร ในกรณีที่เกิดปัญหา การจำแนกพิกัดศุลกากรของสินค้าที่ต่างกันระหว่างเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจพิจารณาปัญหาพิกัดอัตราศุลกากร, อรุณวรรณ ภาคภากร 2020 คณะนิติศาสตร์

ปัญหาความไม่ชัดเจนว่าด้วยกฎหมายศุลกากร ในกรณีที่เกิดปัญหา การจำแนกพิกัดศุลกากรของสินค้าที่ต่างกันระหว่างเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจพิจารณาปัญหาพิกัดอัตราศุลกากร, อรุณวรรณ ภาคภากร

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ปัญหาในการจัดเก็บภาษีอากรสำหรับสินค้าที่นำเข้ามาในราชอาณาจักร ยังมีความคลุมเคลือไม่ชัดเจนต่อ ผู้ประกอบการจำแนกพิกัดอัตราศุลกากรของเจ้าหน้าที่ศุลกากรที่ไม่เป็นไปในทางทิศเดียวกันนั้น ซึ่งแต่ละ หน่วยงานที่มีอำนาจนั้นต่างฝ่ายต่างใช้ดุลยพินิจของตนในการจำแนกพิกัดอัตราศุลกากร ทำให้ผู้ประกอบการ สับสนและไม่เข้าใจถึงความไม่ชัดเจนของการจำแนกพิกัดศุลกากรของแต่ละหน่วยงานส่งผลให้ผู้ประกอบการไม่ สามารถที่จะคาดการณ์ของธุรกิจตนเองได้เลยเนื่องจากอาจถูกเรียกเก็บภาษีย้อนหลัง หรืออาจเสียเบี้ยปรับและ เงินเพิ่ม เป็นต้น แม้ในปัจจุบันปัญหาการจำแนกพิกัดอัตราศุลกากรที่ไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกันนั้นแก้โดยให้ อำนาจอธิบดีกรมศุลกากรตีความพิกัดอัตราศุลกากรโดยวิธีออกประกาศแจ้งพิกัดอัตราศุลกากร แต่อธิบดีกรม ศุลกากรมักจะไม่ใช้วิธีนี้ในการแก้ไขปัญหาทุกครั้งเนื่องจากการออกประกาศแจ้งพิกัดศุลกากรนั้นอาจเกิดความไม่ ยุติธรรม อีกทั้งยังมีการให้บริการการจำแนกประเภทพิกัดศุลกากรล่วงหน้า ซึ่งเป็นวิธีที่ดีและใช้กันหลายประเทศ แต่ในประเทศไทยยังมีข้อจำกัดที่เกิดขึ้น คือยังขาดบุคลากรในการให้บริการ จึงทำให้มีความล่าช้าเกิดขึ้น จากการวิจัยผู้วิจัยได้มีการสัมภาษณ์ผู้อำนวยการส่วนมาตรฐานพิกัดอัตราศุลกากร พนักงานบริษัทเอกชน และผู้ประกอบการรายย่อย ในประเด็นปัญหาการจำแนกพิกัดอัตราศุลกากรที่ไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน การออก ประกาศแจ้งพิกัดอัตราศุลกากร และการให้บริการการจำแนกประเภทพิกัดศุลกากรล่วงหน้า อีกทั้งยังศึกษาและ แนวทางการแก้ไขของทฤษฎีไคเซ็น (KAIZEN Theory) ซึ่งเป็นแนวทางในการปรับปรุงขั้นตอนการผ่านพิธีการ ศุลกากรในการนำสินค้าเข้ามาของผู้ประกอบการ โดยการสลับขั้นตอนเท่านั้น อาจจะเป็นการแก้ไขไม่มากนัก แต่ ได้ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นต่อสาธารณะ (Public Value) โดยประโยชน์ของการสลับขั้นตอนจะทำให้มีการพิจารณา พิกัดศุลกากรแก่สินค้าก่อน ผู้ประกอบการจึงนำผลการพิจารณาพิกัดศุลกากรไปกรอกในใบขนสินค้า ซึ่งวิธีนี้จะ คล้ายกับการขอคำวินิฉัยพิกัดศุลกากรล่วงหน้าแต่จะเหมาะสมกว่าหลายประการ ดังนั้นหากประเทศไทยมีกฎหมายที่กำหนดไว้ชัดเจนต่ออำนาจดุลยพินิจชี้ขาดของการจำแนกพิกัดอัตรา ศุลกากรปัญหาข้อพิพาทดังกล่าวนั้นอาจลดลงไปได้ นอกจากนี้ควรพัฒนาบุคลากรที่มีอยู่ให้เชี่ยวชาญในประเภท สินค้าอย่างต่อเนื่องเพื่อลดปัญหาการให้บริการการจำแนกพิกัดล่วงหน้าล่าช้า หากกรมศุลกากรสามารถแก้ปัญหา จุดนี้ได้ ย่อมสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้ประกอบการและสร้างความชัดเจนในการจัดเก็บภาษีที่อย่างถูกต้องและเป็น ธรรมมากขึ้น


มาตรการทางกฎหมายภาษีเพื่อส่งเสริมการแยกขยะขวดน้ำพลาสติก ชนิดกลับมาแปรรูปใช้ใหม่ได้, ธัญชนก ภัทรรังษี 2020 คณะนิติศาสตร์

มาตรการทางกฎหมายภาษีเพื่อส่งเสริมการแยกขยะขวดน้ำพลาสติก ชนิดกลับมาแปรรูปใช้ใหม่ได้, ธัญชนก ภัทรรังษี

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การขยายตัวของสังคมเมือง ทำให้ปัจจัยความต้องการอุปโภคและบริโภคมีปริมาณมากขึ้น และเกิดบรรจุภัณฑ์พลาสติกสำหรับอาหารและเครื่องดื่มที่ไม่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อเพิ่มอำนวยความสะดวกสบายให้กับผู้บริโภคมากขึ้น เช่น การใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกที่มีปริมาณและขนาดสำหรับพกพาและการบริโภคที่สะดวกรวดเร็ว เน้นรูปแบบวัสดุ ที่น้ำหนักเบา ยืดหยุ่น และสามารถปรับเปลี่ยนลักษณะได้ตามความต้องการ ประกอบกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีซึ่งเกิดจากการแข่งขันพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้งเพื่อที่จะแสวงหากำไรของผู้ประกอบการ โดยคำนึงถึงแค่การทำให้ต้นทุนต่ำเพื่อให้ราคาสินค้ามีราคาต่ำที่สุด เพื่อดึงดูดให้ผู้บริโภคมาบริโภคสินค้าของตน จากสาเหตุดังกล่าวส่งผลให้เกิดขยะบรรจุภัณฑ์พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้งมีปริมาณมากขึ้น และขยะเหล่านี้ส่วนใหญ่จะถูกนำไปเผาและฝังกลบรวมกับขยะมูลฝอยทั่วไป ซึ่งจะใช้พื้นที่ในการฝังกลบมากกว่าขยะเศษอาหารประมาณ 3 เท่า เนื่องจากขยะพลาสติก มีปริมาตรสูง เมื่อเทียบกับน้ำหนักและมีความสามารถทนต่อแรงอัดได้ ทำให้ต้องสิ้นเปลืองพื้นที่ ฝังกลบ นอกจากนี้หากเกิดการรั่วไหลของสารปรุงแต่งหรือสารประกอบที่เป็นพิษของพลาสติก ก็จะส่งผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัยของประชาชนตามมา เช่น ส่งกลิ่นเหม็น เกิดน้ำเสียจากน้ำชะขยะปนเปื้อนสู่แหล่งน้ำผิวดินและแหล่งน้ำใต้ดิน ทำให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและเกิดมลพิษทางอากาศ เป็นต้น นอกจากนี้ปัญหาการจัดการขยะพลาสติก ยังเกิดจากประชาชนขาดองค์ความรู้และจิตสำนึกเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย ที่จะลดและคัดแยกขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทางหรือแหล่งกำเนิดอย่างถูกวิธี ส่งผลให้ปริมาณขยะมูลฝอยเพิ่มสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม จากข้อมูลของกรมควบคุมมลพิษพบว่า ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นมีสัดส่วนองค์ประกอบที่สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้ในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 โดยสามารถนำมาแปรรูปใช้ใหม่ได้ร้อยละ 30-35 และนำมาหมักทำปุ๋ยได้ร้อยละ 45-50 แต่ปัจจุบันอัตราการนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ มีเพียงร้อยละ 18 ซึ่งยังคงเป็นอัตราที่ต่ำเมื่อเปรียบเทียบกับขยะมูลฝอยที่มีศักยภาพในการนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้ ทำให้วัสดุจากการรีไซเคิลที่นำมาใช้เป็นวัตถุดิบทดแทนวัตถุดิบใหม่กลับเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมยังมีน้อย ดังนั้นผู้วิจัยเห็นควรให้ประเทศไทยนำมาตรการที่มีลักษณะเป็นการเพิ่มแรงจูงใจ ให้ผู้ประกอบการและผู้บริโภคหันมาให้ความสำคัญในการรักษาสิ่งแวดล้อมและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมากขึ้น ซึ่งมาตรการที่มีลักษณะดังกล่าว ได้แก่ การจัดเก็บภาษีบรรจุภัณฑ์เครื่องดื่ม ประกอบกับการใช้ระบบมัดจำขวด ซึ่งจะทำให้ต้นทุนของผู้ประกอบการและผู้บริโภคที่ก่อผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมสูงขึ้น ส่งผลให้ผู้ประกอบการและผู้บริโภคเกิดความใส่ใจที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาขยะขวดน้ำพลาสติกให้นำกลับมาแปรรูปใช้ใหม่มากขึ้นได้ ดังตัวอย่างเช่น ในประเทศนอร์เวย์ที่ได้มีการจัดเก็บภาษีบรรจุภัณฑ์เครื่องดื่มควบคู่ไปกับระบบมัดจำ ในวงจรระบบ รีไซเคิล โดยเริ่มต้นจากผู้ประกอบการสินค้าเครื่องดื่มจะถูกเก็บภาษีบรรจุภัณฑ์เครื่องดื่ม และหากเข้าสู่ระบบมัดจำก็จะได้รับสิทธิประโยชน์ลดอัตราภาษีหรือยกเว้นภาษีบรรจุภัณฑ์ตามอัตราส่วนการนำกลับมาใช้ใหม่ของขวดบรรจุภัณฑ์เครื่องดื่ม และหากสามารถรีไซเคิลขวดบรรจุภัณฑ์เครื่องดื่มได้มากกว่าร้อยละ 95 ก็จะไม่ต้องเสียภาษี โดยจะมีองค์กร Infinitum เป็นองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร ซึ่งก่อตั้งขึ้นโดยอุตสาหกรรมเครื่องดื่มและอุตสาหกรรมค้าปลีก เป็นผู้ดูแลระบบการรับคืนบรรจุภัณฑ์เครื่องดื่ม รวมทั้งจัดระบบการคืนมัดจำขวด ขนส่ง คัดแยก และนำเข้าโรงงานรีไซเคิล ฯลฯ นอกจากนี้สำหรับผู้บริโภคสินค้าเครื่องดื่มที่มีค่ามัดจำบรรจุภัณฑ์รวมไปในราคาจำหน่าย สามารถคืนขวดได้ตามเครื่องแลกขวดอัตโนมัติที่ตั้งอยู่ตามร้านค้าต่าง ๆ หรือสถานีบริการน้ำมัน โดยเครื่องรับคืนขวดจะอ่านข้อมูลบาร์โค้ดบนฉลากก่อนออกใบเสร็จคืนเงินให้ เพื่อนำไปขึ้นเงินสด ใช้จ่ายแทนเงินสด หรือสามารถบริจาคได้ ดังนั้นการจัดเก็บภาษีบรรจุภัณฑ์เครื่องดื่มประกอบกับการใช้ระบบมัดจำ จะสามารถเข้ามามีส่วนช่วยในการคัดแยกขยะโดยทุกภาคส่วนและเป็นระบบมากขึ้น โดยเริ่มตั้งแต่ผู้ประกอบการบรรจุภัณฑ์เครื่องดื่ม ผู้ค้าปลีก ตลอดจนผู้บริโภค


Digital Commons powered by bepress