Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Other Education Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

8,743 Full-Text Articles 10,507 Authors 6,466,551 Downloads 274 Institutions

All Articles in Other Education

Faceted Search

8,743 full-text articles. Page 174 of 338.

ปัจจัยความสำเร็จในการจัดกิจกรรมขับร้องคาราโอเกะสำหรับผู้สูงอายุไทย, วรัท โชควิทยา 2018 คณะครุศาสตร์

ปัจจัยความสำเร็จในการจัดกิจกรรมขับร้องคาราโอเกะสำหรับผู้สูงอายุไทย, วรัท โชควิทยา

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การทำวิจัยเรื่องปัจจัยความสำเร็จในการจัดกิจกรรมขับร้องคาราโอเกะสำหรับผู้สูงอายุไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ที่ต้องการจัดกิจกรรมขับร้องคาราโอเกะมีความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมสำหรับผู้สูงอายุ โดยใช้ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้สำหรับผู้ใหญ่แอนดราโกจี (Andragogy) และ การออกแบบการเรียนรู้ที่เป็นสากล (Universal Design for Learning) การวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยเลือกผู้ให้ข้อมูลสำคัญเป็นประชากรผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปจากศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุนครนนทบุรี ได้แก่ ผู้บริหาร 1 ท่าน ผู้สอน 5 ท่าน และผู้เรียน 23 ท่าน และชมรมขับร้องประสานเสียงนนทรีคอรัส ได้แก่ ประธานชมรมผู้นำกิจกรรม 1 ท่าน สมาชิกชมรม 11 ท่าน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์อย่างเป็นทางการ และไม่เป็นทางการ การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วม ตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูลโดยใช้วิธีการตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า จัดระเบียบข้อมูล สรุปข้อมูล และนำเสนอผลการศึกษาโดยการบรรยาย ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยในการจัดกิจกรรมขับร้องคาราโอเกะสำหรับผู้สูงอายุของทั้งสองกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญที่ประสบความสำเร็จ ได้แก่ 1) ปัจจัยด้านสุขภาวะ ได้แก่ สุขภาวะทางอารมณ์ สุขภาวะทางสังคม สุขภาวะทางร่างกาย ด้านสมองและความจำ 2) ปัจจัยด้านการจัดกิจกรรม ได้แก่ มโนภาพต่อตนเอง จุดประสงค์ของกิจกรรม บรรยากาศของกิจกรรม รูปแบบของกิจกรรม และเจตคติของผู้สอน และผู้สูงอายุ 3) ปัจจัยด้านนโยบายและการบริหาร ด้านนโยบายทั้งสองกลุ่มให้การส่งเสริมด้านกิจกรรม ด้านการบริหารบุคลากร ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลนครนนทบุรีมีผู้สอนจิตอาสาเป็นผู้สูงอายุ อบรมเจ้าหน้าที่ให้มีความเข้าใจผู้สูงอายุ ให้การดูแลผู้สูงอายุเบื้องต้น ปัญหาด้านงบประมาณที่ไม่เพียงพอแก้ปัญหาร่วมกับครูจิตอาสา ชมรมขับร้องประสานเสียงนนทรีคอรัส สมาคมนิสิตเก่ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในพระบรมราชุปถัมภ์ ไม่มีโยบายการใช้งบประมาณที่ชัดเจน และสมาชิกมีส่วนร่วมไม่เท่าเทียมกัน ปัจจัยดังกล่าวเป็นแนวทางสำหรับผู้จัดกิจกรรมในการทำความเข้าใจถึงผู้สูงอายุเพื่อนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมขับร้องคาราโอเกะเพื่อสร้างความสุขและการมีสุขภาวะที่ดีสำหรับผู้สูงอายุ


กระบวนการถ่ายทอดการบรรเลงเดี่ยวระนาดเอกของครูพินิจ ฉายสุวรรณ ศิลปินแห่งชาติ, รัษศิษฏา เกลาพิมาย 2018 คณะครุศาสตร์

กระบวนการถ่ายทอดการบรรเลงเดี่ยวระนาดเอกของครูพินิจ ฉายสุวรรณ ศิลปินแห่งชาติ, รัษศิษฏา เกลาพิมาย

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากระบวนการถ่ายทอดการบรรเลงเดี่ยวระนาดเอกของครูพินิจ ฉายสุวรรณ ศิลปินแห่งชาติ 2) สร้างคู่มือการถ่ายทอดการบรรเลงเดี่ยวระนาดเอกตามแนวทางของครูพินิจ ฉายสุวรรณ ศิลปินแห่งชาติ วิธีการดำเนินการวิจัยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการศึกษาเอกสาร และการสัมภาษณ์ (interview) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการตีความข้อมูล (interpretation) สร้างข้อสรุปและนำเสนอเป็นความเรียง ผลการวิจัยพบว่า 1. ครูพินิจ ฉายสุวรรณ เป็นศิลปินผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรีปี่พาทย์ทั้งภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ และการถ่ายทอด โดยเฉพาะเครื่องมือระนาดเอก ได้รับการยกย่องว่ามีความเป็นเลิศ ครูพินิจได้รับการถ่ายทอดการบรรเลงเดี่ยวระนาดเอกจากครูสอน วงฆ้อง ครูพริ้ง ดนตรีรส และครูเชื้อ ดนตรีรส โดยครูทั้งสามท่านนี้เป็นลูกศิษย์โดยตรงของพระยาเสนาะดุริยางค์ ในช่วงหลังขณะที่ครูพินิจรับราชการประจำอยู่ที่วงดนตรีไทยกรุงเทพมหานคร ท่านได้รับการถ่ายทอดบทเพลงเดี่ยวต่าง ๆ จากครูบุญยงค์ เกตุคง รวมทั้งได้ต่อเพลงเดี่ยวเพิ่มเติมกับครูท่านอื่น ๆ ด้วย เช่น ครูบุญช่วย ชิตท้วม ครูสนิท ลัดดาอ่อน เป็นต้น ลูกศิษย์ที่ได้รับการถ่ายทอดการบรรเลงเดี่ยวระนาดเอกจากครูพินิจต้องมีพื้นฐานการบรรเลงระนาดเอกมาก่อนในระดับหนึ่ง ในการถ่ายทอดบทเพลง ครูพินิจเป็นผู้พิจารณาว่าผู้เรียนแต่ละคนเหมาะสมกับบทเพลงใด สำหรับหลักการถ่ายทอดทักษะการบรรเลงเดี่ยวระนาดเอกของครูพินิจ ฉายสุวรรณ มี 3 ประการ ได้แก่ 1) สอนตามสติปัญญาและความสามารถ 2) เน้นเรื่องรสมือของผู้เรียนที่ควรเป็นไปตามธรรมชาติของแต่ละคน 3) เน้นการบรรเลงที่ถูกต้องชัดเจนไพเราะและได้อรรถรสของบทเพลง 2. คู่มือการถ่ายทอดการบรรเลงเดี่ยวระนาดเอกของครูพินิจ ฉายสุวรรณ ศิลปินแห่งชาติ ประกอบด้วย คำชี้แจงในคู่มือ เนื้อหาสาระเกี่ยวกับเนื้อหาที่เป็นความรู้ความเข้าใจในการนำไปถ่ายทอดสำหรับผู้สอน และการนำไปฝึกทักษะการบรรเลงเดี่ยวระนาดเอกสำหรับผู้เรียนตามแนวทางของครูพินิจ ฉายสุวรรณ ศิลปินแห่งชาติ ขั้นตอนการถ่ายทอดและการฝึกทักษะการบรรเลงเดี่ยวระนาด การวัดและประเมินผล และแหล่งอ้างอิง


Examining Engineering Design Cognition With Respect To Student Experience And Performance, Greg J. Strimel, Eunhye Kim, Scott R. Bartholomew, Diana V. Cantu 2018 Purdue University

Examining Engineering Design Cognition With Respect To Student Experience And Performance, Greg J. Strimel, Eunhye Kim, Scott R. Bartholomew, Diana V. Cantu

Faculty Publications

This study investigated the design cognition and performance results of secondary and post-secondary engineering students while engaged in an engineering design task. Relationships between prototype performance and design cognition were highlighted to investigate potential links between cognitive processes and success on engineering design problems. Concurrent think-aloud protocols were collected from eight secondary and 12 post-secondary engineering students working individually to design, make, and evaluate a solution prototype to an engineering design task. The collected protocols were segmented and coded using a pre-established coding scheme. The results were then analyzed to compare the two participant groups and determine the relationships between …


Adaptive Comparative Judgment For Polytechnic Transformation: Assessment Across The Curriculum, Scott R. Bartholomew, P. E. Connolly 2018 Brigham Young University - Provo

Adaptive Comparative Judgment For Polytechnic Transformation: Assessment Across The Curriculum, Scott R. Bartholomew, P. E. Connolly

Faculty Publications

The authors are investigating potential applications of adaptive comparative judgment (ACJ) across numerous environments and learning scenarios within the Purdue Polytechnic Institute as part of Purdue’s efforts to transform the undergraduate learning experience. Six courses or program areas were selected for the study, involving a wide variation in subjects, subject matter, and assessment artifacts. The authors anticipate that positive results from these pilot studies will encourage broader and deeper applications of ACJ in the Purdue Polytechnic, across Purdue University, and in other academic institutions. Results from these scenarios will be disseminated in future conferences and scholarly journals.


การพัฒนาชุดการสอนกีตาร์ไฟฟ้าออนไลน์ด้วยวิธีการเลียนแบบสำหรับผู้เรียนระดับชั้นต้น, พงศ์วุฒิ มหิธิธรรมธร 2018 คณะครุศาสตร์

การพัฒนาชุดการสอนกีตาร์ไฟฟ้าออนไลน์ด้วยวิธีการเลียนแบบสำหรับผู้เรียนระดับชั้นต้น, พงศ์วุฒิ มหิธิธรรมธร

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์คุณลักษณะและผลิตชุดการสอนกีตาร์ไฟฟ้าออนไลน์ด้วยวิธีการเลียนแบบสำหรับผู้เรียนระดับชั้นต้นฉบับนำร่อง 2) พัฒนาชุดการสอนกีตาร์ไฟฟ้าออนไลน์ด้วยวิธีการเลียนแบบสำหรับผู้เรียนระดับชั้นต้นฉบับสมบูรณ์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา โดยใช้การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ ผู้สอน ผู้ผลิตสื่อ ผู้เชี่ยวชาญด้านกีตาร์ไฟฟ้า และผู้เชี่ยวชาญด้านการผลิตสื่อ ในประเด็น 1) แนวคิดเกี่ยวกับวิธีการสอนออนไลน์ 2) แนวคิดการผลิตสื่อ 3) แนวทางการพัฒนาชุดการสอนกีตาร์ไฟฟ้าออนไลน์ ใช้แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ใช้การตีความและสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1. ชุดการสอนออนไลน์ที่เหมาะสมในการให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติตามควรมีส่วนประกอบที่สำคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1) ด้านผู้สอน ใช้การแต่งกายและภาษาที่มีความสุภาพเป็นกันเอง 2) ด้านการสอน ใช้วิธีการสาธิตและการบรรยาย 3) ด้านเนื้อหาสาระ เน้นตามความสนใจของผู้เรียน โดยแบ่งออกเป็นเทคนิคการเล่นและทฤษฎีดนตรี 4) ด้านองค์ประกอบสื่อมัลติมีเดีย ควรมีองค์ประกอบทางภาพและเสียงที่มีความคมชัด มีการใช้กราฟิกช่วยเพิ่มความน่าสนใจ และ 5) ด้านสื่อสังคมออนไลน์ เป็นเครื่องมือที่ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อระหว่างบุคคลที่มีความสนใจกับชุดการสอนที่ตรงความต้องการผู้เรียน สำหรับกระบวนการผลิตชุดการสอนฉบับนำร่องประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นเตรียมการผลิต ขั้นการผลิตรายการ และขั้นหลังการผลิต 2. ในการพัฒนาชุดการสอนฉบับสมบูรณ์ได้ข้อค้นพบที่สำคัญว่า ผู้สอนควรให้ข้อสังเกตไว้ในขั้นนำ มีการยกตัวอย่างประกอบและสาธิตการเล่นไปพร้อมกับเมโทรโนม ควรสอดแทรกเนื้อหาเรื่องพื้นฐานที่มีความจำเป็นในการนำไปประยุกต์ใช้ไว้ในบทเพลงท่อนที่สอน ในการถ่ายทำควรใช้กล้องวิดีโออย่างน้อย 2 ตัว เพื่อให้ผู้เรียนเห็นทั้งมือซ้ายและมือขวาของผู้สอนได้อย่างชัดเจน


แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เปียโนสำหรับนักเรียนที่มีภาวะออทิซึม, อินทุอร จันทนภุมมะ 2018 คณะครุศาสตร์

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เปียโนสำหรับนักเรียนที่มีภาวะออทิซึม, อินทุอร จันทนภุมมะ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาสภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เปียโนสำหรับนักเรียนที่มีภาวะออทิซึม 2. นำเสนอแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เปียโนสำหรับนักเรียนที่มีภาวะออทิซึม ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีกลุ่มผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย 1) ครูผู้สอนเปียโนสำหรับนักเรียนที่มีภาวะออทิซึม จำนวน 5 ท่าน 2) ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านดนตรีสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ จำนวน 1 ท่าน 3) นักเรียนที่มีภาวะออทิซึมที่เรียนเปียโน จำนวน 5 ท่าน 4) ผู้ปกครองของนักเรียนที่มีภาวะออทิซึมที่ผู้วิจัยได้เก็บข้อมูล จำนวน 5 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ปลายเปิด จำนวน 3 ชุด และแบบสังเกต จำนวน 1 ชุด ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เปียโนสำหรับนักเรียนที่มีภาวะออทิซึม ครูผู้สอนส่วนใหญ่ใช้หลักการปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับนักเรียนแต่ละคน 2. แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เปียโนสำหรับนักเรียนที่มีภาวะออทิซึม ประกอบด้วย 5 ประเด็น คือ 1) ด้านวัตถุประสงค์ ต้องคำนึงถึงการพัฒนาและเพิ่มพูนองค์ความรู้ทางดนตรี เชื่อมโยงองค์ความรู้ทางดนตรีกับทักษะปฏิบัติเปียโน อีกทั้งส่งเสริมและพัฒนาด้านพัฒนาการ 2) ด้านเนื้อหา แบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านองค์ประกอบดนตรี วรรณคดีดนตรี และทักษะดนตรี 3) ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน ครูผู้สอนควรใช้รูปแบบการนำเสนอและวิธีการตอบสนองของนักเรียนที่หลากหลาย มีการปรับระดับการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนและปรับเปลี่ยนระยะเวลาการทำงานของนักเรียนตามความเหมาะสม รวมไปถึงครูผู้สอนต้องมีความสามารถในการจัดการชั้นเรียน 4) ด้านสื่อการสอน ครูผู้สอนควรเลือกสื่อการสอนที่มีความหลากหลาย โดยสามารถประยุกต์สิ่งของอุปกรณ์เสริมพัฒนาการและของเล่น อีกทั้งควรเลือกหนังสือจากหลักสูตรที่มีมาตราฐานผ่านการยอมรับจากสถาบันต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน 5) ด้านการวัดและการประเมินผล ครูผู้สอนควรวัดและประเมินผลทั้งด้านวิชาการและพัฒนาการของนักเรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย อีกทั้งควรวัดและประเมินผลประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เปียโนอยู่เสมอ เพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เปียโนให้เหมาะสมต่อไป


กระบวนการถ่ายทอดการประพันธ์เพลงไทยตามแนวทางของพันโทเสนาะ หลวงสุนทร ศิลปินแห่งชาติ, สมนึก แสงอรุณ 2018 คณะครุศาสตร์

กระบวนการถ่ายทอดการประพันธ์เพลงไทยตามแนวทางของพันโทเสนาะ หลวงสุนทร ศิลปินแห่งชาติ, สมนึก แสงอรุณ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษากระบวนการถ่ายทอดการประพันธ์เพลงไทยตามแนวทางของพันโทเสนาะ หลวงสุนทร ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลจากการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการตีความ สร้างข้อสรุปแบบอุปนัย และนำเสนอเป็นความเรียง ผลการวิจัยพบว่ากระบวนการถ่ายทอดการประพันธ์เพลงไทยตามแนวทางของพันโทเสนาะ หลวงสุนทร แบ่งออกเป็นด้าน ดังนี้ ด้านผู้สอน พันโทเสนาะ หลวงสุนทร กำเนิดในครอบครัวดนตรีไทยได้รับการถ่ายทอดดนตรีจากครูดนตรีที่เชี่ยวชาญ และมีประสบการณ์ดนตรีที่หลากหลาย ส่งผลให้พันโทเสนาะ หลวงสุนทร มีความเชี่ยวชาญดนตรีไทย การประพันธ์เพลงไทย และสามารถถ่ายทอดได้เป็นอย่างดียิ่ง ทำให้ให้ผู้เรียนมีการพัฒนาทักษะการประพันธ์เพลงไทยอย่างมีประสิทธิภาพ พันโทเสนาะ หลวงสุนทร มีคุณลักษณะของครูที่ดีตรงตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 คือ 1) มีปัญญาความรู้ดีในหลักวิชาอันถูกต้อง 2) ประพฤติดี มีความสุจริต เมตตากรุณา ปรารถนาดีต่อผู้อื่น และ 3) มีความสามารถที่จะเผื่อแผ่และถ่ายทอดความรู้ได้อย่างดี ด้านผู้เรียน ต้องมีพื้นฐานดนตรีไทยที่เกี่ยวข้องกับการประพันธ์เพลงไทย และสามารถอ่านเขียนโน้ตแบบดนตรีตะวันตกได้ดี ด้านสาระมี 3 ส่วนดังนี้ 1) ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของการประพันธ์เพลงไทย 2) ความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการประพันธ์เพลงไทย และ 3) แนวคิดการประพันธ์เพลงไทย คือ ประพันธ์ตามขนบแบบโบราณ ประพันธ์ตามแรงบันดาลใจ และประพันธ์ด้วยความคิดสร้างสรรค์ มีหลักการประพันธ์ 13 แบบดังนี้ (1) การประดิษฐ์มือฆ้องอิสระ (2) การประดิษฐ์ทางพื้น (3) การประดิษฐ์ทางกรอหรือบังคับทาง (4) การยึดลูกตก (5) การประดิษฐ์ทางเปลี่ยน (6) การยืดขยายตัดยุบ (7) การยืดยุบพร้อมเปลี่ยนทาง (8) การยืดทำนองเฉพาะลูกเท่าและลูกโยน (9) การประดิษฐ์ลูกล้อลูกขัดและลูกเหลื่อม (10) การประพันธ์เพลงในโครงสร้างหน้าทับสองไม้หรือหน้าทับทยอย (11) ประพันธ์เพลงให้เป็นเพลงสำเนียงภาษา (12) การใช้และการย้ายบันไดเสียง และ (13) การประพันธ์ทางเดี่ยว ด้านการสอน สอนด้วยวิธีการบรรยายควบคู่กับการให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ มีเทคนิคการสอนกระตุ้นให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ เน้นทักษะพิสัยด้วยการฝึกหัดการประพันธ์เพลงไทย โดยมีการประเมินผลก่อนเรียน ในระหว่างเรียน และหลังจากเรียนครบตามเนื้อหาสาระ ด้วยวิธีการแสดงผลงานเพลงที่ประพันธ์ขึ้นใหม่


“They Don’T Care About You”: First-Year Chinese International Students’ Experiences With Neo-Racism And Othering On A U.S. Campus, Christina W. Yao 2018 University of Nebraska-Lincoln

“They Don’T Care About You”: First-Year Chinese International Students’ Experiences With Neo-Racism And Othering On A U.S. Campus, Christina W. Yao

Department of Educational Administration: Faculty Publications

This qualitative research study illuminates the experiences affecting first-year Chinese international students in the United States and gives insights as to how these students perceive interpersonal relationships at college. Participants shared reports of neo-racism and othering as negatively affecting their feelings of connection to other members of their collegiate community. Findings and implications from this study indicate a need for better support for first-year Chinese international students in college.


Perencanaan Pembelajaran Pendidikan Kewarganegaraan (Pkn) Untuk Mengembangkan Kesadaran Bela Negara Mahasiswa, Sulkipani Sulkipani 2017 FKIP Universitas Sriwijaya, Indonesia

Perencanaan Pembelajaran Pendidikan Kewarganegaraan (Pkn) Untuk Mengembangkan Kesadaran Bela Negara Mahasiswa, Sulkipani Sulkipani

Jurnal Civics: Media Kajian Kewarganegaraan

This study discusses how to design the Civic Education (CE) of learning plan to develop awareness of the student on country defense. The problem examined in this research was how to plan so it can build awareness of the student on country defense. This study used a qualitative research approach with the descriptive method. The techniques of data collection were interviews, observation, and study the documentation. Subject in the research consists of CE experts, the Professor of the Department of MKDU, and the students of various disciplines in the Education University of Indonesia (UPI). Research results revealed that the planning …


Meningkatkan High Order Thinking Skills Mahasiswa Semester Iii Ppkn Dalam Pembelajaran Psikologi Sosial Melalui Penerapan Metode Six Thinking Hats, Umi Chotimah, Edwin Nurdiansyah 2017 FKIP Universitas Sriwijaya, Indonesia

Meningkatkan High Order Thinking Skills Mahasiswa Semester Iii Ppkn Dalam Pembelajaran Psikologi Sosial Melalui Penerapan Metode Six Thinking Hats, Umi Chotimah, Edwin Nurdiansyah

Jurnal Civics: Media Kajian Kewarganegaraan

This study was aimed at increasing High Order Thinking Skills (HOTS) of third semester Citizenship Education (CE) students in Social Psychology of Learning course through the application of Six Thinking Hats Method (STH). This research was conducted using the method of classroom action research, which were carried out by two cycles, with the subject of the study were all students of the third semester CE study program class who participated in the course of Educational Psychology. Based on the analysis and discussion, it can be concluded that through the application of Six Thinking Hats method can increase (HOTS). This was …


Upaya Meningkatkan Hasil Belajar Pendidikan Kewarganegaraan Melalui Model Pembelajaran Talking Stick, Boinah Boinah 2017 SMP Muhammadiyah 1 Seyegan Sleman, Indonesia

Upaya Meningkatkan Hasil Belajar Pendidikan Kewarganegaraan Melalui Model Pembelajaran Talking Stick, Boinah Boinah

Jurnal Civics: Media Kajian Kewarganegaraan

This research was conducted to improve students' achievement on Citizenship Education through Talking Stick Instructional Model in Class VII B Muhammadiyah Junior High School Seyegan academic year of 2015/216. It was Classroom Action Research . Based on result of the study it can be concluded that the implementation of Talking Stick Instructional Model improved students' achievement on Citizenship Education. It was based upon the results that (1) the procentage of passer grade was increased through entire cycles. The average of the score was 60.64 with 16.12 % of students succed the defined treshold during pre Cycle, was increased to 79.68 …


Applying Cheerful Disco Learning For Improving Of Motivation And Learning Result Of Pkn In Grade Viii C Students Junior High School 1 Kebumen In Second Semester 2013/2014 Academic Years, Siti Makmuroh 2017 SMP Negeri I Kebumen, Indonesia

Applying Cheerful Disco Learning For Improving Of Motivation And Learning Result Of Pkn In Grade Viii C Students Junior High School 1 Kebumen In Second Semester 2013/2014 Academic Years, Siti Makmuroh

Jurnal Civics: Media Kajian Kewarganegaraan

The aim of this classroom action research is to improve students' learning motivation, learning result of PKn on Basic Competence of Describing Indonesian Government System and the Roles of the State Institutions as the Sovereignty Executive and the characters of Grade VIII C Students of Junior High School 1 of Kebumen in Second Semester of Academic Year 2013/2014 by applying CHEERFUL DISCO learning method. The research is a classroom action research conducted in two cycles; each cycle of which includes planning, conducting, observation, and reflection. The result of the research shows that the learning method was able to improve the …


Pengaruh Model Project Citizen Dengan Pendekatan Saintifik Terhadap Penguasaan Kompetensi Kewarganegaraan Dalam Pembelajaran Pendidikan Pancasila Dan Kewarganegaraan, Galih Puji Mulyoto, Samsuri Samsuri 2017 Program Pascasarjana Pendidikan Pancasila Dan Kewarganegaraan, Universitas Negeri Yogyakarta

Pengaruh Model Project Citizen Dengan Pendekatan Saintifik Terhadap Penguasaan Kompetensi Kewarganegaraan Dalam Pembelajaran Pendidikan Pancasila Dan Kewarganegaraan, Galih Puji Mulyoto, Samsuri Samsuri

Jurnal Civics: Media Kajian Kewarganegaraan

This study was aimed at determining the effect of applying a project citizen model with the scientific approach in learning PPKn the mastery of civic competencies. This study uses a quantitative approach with a quasi-experimental research methods. Data collection technique were test, questionnaire and observation. Data were analyzed using t test and Gain Score. The results showed that there is significant influence implementation of the project citizen model with the scientific approach to learning PPKn the mastery of civic competencies compared using problem-based learning model with a scientific approach. It is shown results posttest control group and experiment to …


Persepsi Tokoh P0litik Terhadap Model Pemilukada Gubernur, Fajar Nugraha 2017 Universitas Muhammadiyah Tasikmalaya, Indonesia

Persepsi Tokoh P0litik Terhadap Model Pemilukada Gubernur, Fajar Nugraha

Jurnal Civics: Media Kajian Kewarganegaraan

the conduction of election was aimed at electing people and local representatives as well as forming democratic, strong, and legitimate government in order to pursuit national goals based on Indonesian Constitution (UUDNRI 1945). Related to general election, there was a discourse on the model of governor election. The first, governor should elected by local (provincial) council. Second model will be direct election. The third, the governor should be assigned by President. It was a case study with qualitative approach. Based on the field result, it was perceived that the ideal type of choosing governor was direct election model. It was …


Eksekusi Putusan Hakim Dalam Sengketa Perdata Di Pengadilan Negeri Sleman, Sri Hartini, Setiati Widihastuti, Iffah Nurhayati 2017 Jurusan Pendidikan Kewarganegaraan Universitas Negeri Yogyakarta / Civic Education and Law Department, Yogyakarta State University, Indonesia

Eksekusi Putusan Hakim Dalam Sengketa Perdata Di Pengadilan Negeri Sleman, Sri Hartini, Setiati Widihastuti, Iffah Nurhayati

Jurnal Civics: Media Kajian Kewarganegaraan

This article is based on research intended at describing the execution of verdict of private case in court of Sleman Regency and its obstacles. It was a descriptive qualitative research. It was found that the excecution of verdict of private case in court of Sleman Regency begins by accustion or submission of execution by appelant and ends execution by confiscation. Its obstacle were: (1) its high cost as burdance of appelant; (2) the lack of qualified personels; and (3) the rivalry or rejection of accusted. The efforts to overcome these obstacles were: (1) the chief of regency court encourages both …


Peranan Media Sosial Dalam Pengembangan Melek Politik Mahasiswa, Yudha Pradana 2017 Politeknik Negeri Media Kreatif Jakarta / Jakarta Creative Media Polytechnic, Indonesia

Peranan Media Sosial Dalam Pengembangan Melek Politik Mahasiswa, Yudha Pradana

Jurnal Civics: Media Kajian Kewarganegaraan

This research is used quantitative approach and descriptive method. Instrument used by the research is skala Survey of Study Habits and Attitudes questionnaire to describing media social using by students and Likert Scale questionnaire to describing student's political literacy. Data analysis using Rank Spearman Order.
The result show that social media used by students 48% good, 26% fair, and 15% poor. Student's political literacy are 36% good, 43% fair, and 21% poor. The role of social media in the development of student's political literacy is 54,79% affected by social media, and 45,21% affected by other factors.


Penguatan Budaya Hukum Masyarakat Untuk Menghasilkan Kewarganegaraan Transformatif, Iman Pasu Purba 2017 Program Studi Pendidikan Pancasila dan Kewarganegaraan Universitas Negeri Surabaya / Pancasila and Civic Education Program, Surabaya State University, Indonesia

Penguatan Budaya Hukum Masyarakat Untuk Menghasilkan Kewarganegaraan Transformatif, Iman Pasu Purba

Jurnal Civics: Media Kajian Kewarganegaraan

Transformative citizenship becomes a crucial discourse to be realized both in civil and political life in order to achieve national state. Establishing transformative citizenship means shaping critical and active citizen on emergent issues as well as aware their role and function in political life. One of important things is their involvement in law system. According to Lawrence Friedman the element of system of law consists of structure of law, material of law and culture of law. Cultural law is the rarest element focused seriously by stakeholders in developing law. In diversity context of religion, race, local culture such as those …


Pembentukan Kompetensi Ekologis Dengan Model Pembelajaran Kontekstual Dan Berbasis Masalah Dalam Ppkn Di Smp, Shinta Pertiwi, Samsuri Samsuri 2017 Program Studi Magister Pendidikan Pancasila dan Kewarganegaraan PPS Universitas Negeri Yogyakarta / Pancasila and Civic Education Master Program, Postgraduate Program, Yogyakarta State University, Indonesia

Pembentukan Kompetensi Ekologis Dengan Model Pembelajaran Kontekstual Dan Berbasis Masalah Dalam Ppkn Di Smp, Shinta Pertiwi, Samsuri Samsuri

Jurnal Civics: Media Kajian Kewarganegaraan

This research based article was aimed at explaining the effect of Contextual Teaching and Learning and Problem Based Learning on the establishment of Ecological Competence in Civic Education in Junior High School. It was a quasi-experiment research with pretest-posttest control group design. The population was student grade VII of SMP Negeri 2 Surakarta. The sample was chosen randomly, consist of one classroom as experimental group and another classroom as control group. Instrument for collecting data were test, questionnaire, and observation. It can be concluded that the establishment of ecological competence among junior high school students though through contextual teaching and …


Implementasi Pendidikan Antikorupsi Pada Mata Pelajaran Ppkn Berbasis Project Citizen Di Sekolah Menengah Atas, Sutrisno Asyafiq 2017 Prodi Pendidikan Pancasila dan Kewarganegaraan Universitas Muhammadiyah Ponorogo / Pancasila and Civic Education Program, Muhammadiyah Ponorogo University, Indonesia

Implementasi Pendidikan Antikorupsi Pada Mata Pelajaran Ppkn Berbasis Project Citizen Di Sekolah Menengah Atas, Sutrisno Asyafiq

Jurnal Civics: Media Kajian Kewarganegaraan

This research was aimed at describing the implementation of anti-corruption education on citizenship education through project citizen-based activity. It is descriptive inquiry conducted at SMA Muhammadiyah 1 Ponorogo. The result was that the implementation of anti-corruption education was conducted through studying problems relating corruption resulting in presentation panels consist of 4 sections namely problem, alternative policy, proposed solution, and action plan section. Through these activities, it was intended that students would acquired some desired attitudes such as honesty, care, self-help, discipline, responsibility, hard work, humbleness, courage and justice.


Revitalisasi Moral Kewarganegaraan Dalam Ungkapan Jawa Sebagai Sumber Pembentukan Civic Culture Dan Politic Culture, Yoga Ardian Feriandi 2017 Universitas PGRI Madiun / PGRI Madiun University, Indonesia

Revitalisasi Moral Kewarganegaraan Dalam Ungkapan Jawa Sebagai Sumber Pembentukan Civic Culture Dan Politic Culture, Yoga Ardian Feriandi

Jurnal Civics: Media Kajian Kewarganegaraan

This article aims to understand and multiply the moral values that exist in the expression of Java. Of the values excavated the hope can be a reference as the formation of civic culture and politic culture. The type of research used in this research is qualitative research, with descriptive-critical method, which in his explanation more emphasis on the power of data analysis on existing data sources. This study is based on library research. The object of the studies in the form of notes, transcripts, books, Journal of Research and so on which is linked to the study of Javanese culture, …


Digital Commons powered by bepress