Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Chemical Engineering Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

15,519 Full-Text Articles 22,962 Authors 5,439,599 Downloads 168 Institutions

All Articles in Chemical Engineering

Faceted Search

15,519 full-text articles. Page 123 of 512.

Study Of Interactions Between Magnesium Silicate Particle And Diamond-Like Carbon Using Atomic Force Microscopy, Vipada Dokmai 2020 Faculty of Engineering

Study Of Interactions Between Magnesium Silicate Particle And Diamond-Like Carbon Using Atomic Force Microscopy, Vipada Dokmai

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Interaction between particles and different surfaces under ambient condition is studied using AFM-based force spectroscopy. This work focuses on the adhesion mechanism and factors affecting particle-surface adhesion. The particles of interest consist of magnesium silicate (talcum powder) and zinc oxide (ZnO) particles, which have very attractive properties and are widely used in several applications. The adhesion force measurements were first carried out using silicon/silicon coated with DLC probes pressed on talc particles modified with hydrochloric acid or different organosilanes. These modifications change hydrophobicity and hydrophilicity of the particles. The results show that the adhesion forces are distributed in a bimodal …


Deoxygenation Of Palm Fatty Acid Distillate To Green Diesel Over Molybdenum Nitride And Carbide-Based Catalysts In A Trickle-Bed Reactor, Wanwipa Leangsiri 2020 Faculty of Engineering

Deoxygenation Of Palm Fatty Acid Distillate To Green Diesel Over Molybdenum Nitride And Carbide-Based Catalysts In A Trickle-Bed Reactor, Wanwipa Leangsiri

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

In this present work, the deoxygenation of palm fatty acid distillate (PFAD) to green diesel over γ-Al2O3 supported bimetallic CoMo and NiMo carbide and nitride catalysts was conducted in a trickle bed reactor. The catalysts were prepared by a single-step decomposition method of mixture containing hexamethylenetetramine and corresponding metal salts in presence of hydrogen and nitrogen for carbide and nitride forms, respectively at 700 oC. The prepared catalysts were characterized by XRD, XPS, N2-sorption, SEM/EDX and TGA techniques. The catalyst performance was evaluated at a temperature of 330 °C, hydrogen pressure of 5 MPa, LHSV of 1 h−1, and H2/feed …


การประเมินค่าตัวแปรทางจลนศาสตร์ของปฏิกิริยาการออกซิไดซ์โทลูอีนบนตัวเร่งปฏิกิริยา V2o5/Tio2, นนทกิจ อนนทสีหะ 2020 คณะวิศวกรรมศาสตร์

การประเมินค่าตัวแปรทางจลนศาสตร์ของปฏิกิริยาการออกซิไดซ์โทลูอีนบนตัวเร่งปฏิกิริยา V2o5/Tio2, นนทกิจ อนนทสีหะ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้ทำการประมาณค่าพารามิเตอร์ทางจลนศาสตร์ของปฏิกิริยาการออกซิไดซ์โทลูอีนบนตัวเร่งปฏิกิริยา V2O5/TiO2 โดยตัวเร่งปฏิกิริยาเตรียมด้วยวิธีการเคลือบฝังแบบเปียกและวิเคราะห์คุณลักษณะด้วยเทคนิค SEM-EDX, nitrogen physisorption, XRD และ NH3-TPD สำหรับการทดสอบความสามารถในการเร่งปฏิกิริยา ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา V2O5/TiO2 ปริมาณ 0.1 g กระทำในช่วงอุณหภูมิ 150oC – 300 oC ความดันบรรยากาศ อัตราการไหลรวมของแก๊สอยู่ในช่วง 180 – 200 ml/min ส่วนประกอบของแก๊สขาเข้าเครื่องปฏิกรณ์ประกอบด้วย โทลูอีน 800-1000 ppm และอากาศที่มีความเข้มข้นออกซิเจน 3, 12 และ 21 % นอกจากนี้ยังมีการเติม SO2 0, 25 และ 50 ppm และ NO 100 ppm ร่วมด้วยเพื่อดูผลต่อปฏิกิริยา ผลการทดลองพบว่า SO2 สามารถช่วยลดค่าพลังงานกระตุ้น Ea ของปฏิกิริยาได้เล็กน้อยทำให้ค่าการออกซิไดซ์โทลูอีนเพิ่มขึ้นแต่ผลที่ได้มีค่าไม่เด่นชัดเมื่อเทียบกับผลของการเพิ่มความเข้มข้น O2 โดยค่าพลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาที่คำนวณได้มีค่าอยู่ในช่วง 53-59 kJ/mol ณ 3 % O2, 44-46 kJ/mol ณ 12 % O2 and 40-42 kJ/mol ณ 21 % O2 นอกจากนี้ยังพบว่าเมื่อมี NO ในระบบค่าการออกซิไดซ์โทลูอีนจะเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดและยังพบว่าเกิดปฏิกิริยาอื่นเกิดร่วมด้วยในช่วงอุณหภูมิต่ำ (150-250 oC) โดยปฏิกิริยาข้างเคียงที่เกิดขึ้นนี้ช่วยในการออกซิไดซ์โทลูอีนเหมือนกันและมีค่าพลังงานกระตุ้นต่ำกว่าปฏิกิริยาหลัก นอกจากนี้ยังตรวจไม่พบ CO2 ในระบบแสดงว่าปฏิกิริยาเกิดที่หมู่เมทิลเป็นหลัก นอกจากการทดลองแล้วยังได้ทำการใช้โปรแกรม GNU-Octave เพื่อคำนวณผลของค่า WHSV ต่อค่าการออกซิไดซ์โทลูอีนในระบบโดยใช้แบบจำลอง pseudo-homogeneous แบบหนึ่งมิติซึ่งได้ผลว่าเมื่อเพิ่มค่า WHSV จะส่งผลให้ค่าการออกซิไดซ์โทลูอีนลดลง


การพัฒนาเมมเบรนเพื่อจับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยกระบวนการเมมเบรนแก๊สแอบซอร์ปชัน, สุพิชญา ศรีสดใส 2020 คณะวิศวกรรมศาสตร์

การพัฒนาเมมเบรนเพื่อจับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยกระบวนการเมมเบรนแก๊สแอบซอร์ปชัน, สุพิชญา ศรีสดใส

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยในการขึ้นรูปของเมมเบรนชนิดแผ่นเรียบด้วยวิธีการเปลี่ยนวัฏภาคเพื่อทดสอบประสิทธิภาพการจับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยกระบวนการเมมเบรนแก๊สแอบซอร์ปชันซึ่งในกระบวนการดังกล่าวมักพบปัญหาสำคัญที่เกิดจากการใช้งานคือการเปียกของเมมเบรน ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายต่อเมมเบรนและประสิทธิภาพของเมมเบรนในการจับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ลดน้อยลง โดยในงานวิจัยนี้สนใจที่จะนำสาร 2 ประเภทคือ แอลกอฮอล์ (เมทานอลและเอทานอล) และคาร์บอนแบล็คมาใช้เป็นสารเติมแต่งให้กับสารละลายพอลิไวนิลลิดีนฟลูออไรด์เพื่อปรับโครงสร้างสัณฐานวิทยาและคุณสมบัติความไม่ชอบน้ำของเมมเบรน ผลการศึกษาพบว่าเมื่อเติมสารเติมแต่งประเภทแอลกอฮอล์แล้ว สามารถช่วยเพิ่มขนาดของรูพรุนและความพรุนบนพื้นผิวเมมเบรนได้ โดยเมื่อเติมสารเติมแต่งเมทานอลกับคาร์บอนแบล็ค 5 เปอร์เซ็นโดยน้ำหนักสามารถลดขนาดรูพรุนเฉลี่ยได้ ซึ่งมีค่าเท่ากับ 192.5 นาโนเมตรเนื่องจากสามารถลดค่าความเข้ากันได้ของตัวทำละลายและตัวไม่ละลาย (น้ำ) ที่มีผลต่อการเปลี่ยนวัฏภาคของเมมเบรนให้ช้าลงและเมื่อเพิ่มปริมาณของคาร์บอนแบล็คที่ความเข้มข้นแตกต่างกัน (2.5, 5, 7.5 เปอร์เซ็นโดยน้ำหนัก) ทำให้เพิ่มค่ามุมสัมผัสของความไม่ชอบน้ำของเมมเบรนจาก 79 องศาเป็น 88 องศาและความพรุนบนพี้นผิวของเมมเบรนที่เพิ่มมากขึ้น เมื่อนำไปทดสอบด้วยกระบวนการเมมเบรนแก๊สแอบซอร์ปชันโดยใช้โมโนเอทาโนลามีน 3 โมลาร์เป็นสารดูดซึม ได้ค่าฟลักซ์ของการดูดซึมแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่ 3.57±1.1 มิลลิโมลต่อตารางเมตรต่อวินาที


การออกแบบการบูรณาการความร้อนของกระบวนการผลิตแอลฟ่าเมทิลเอสเตอร์ซัลโฟเนท, กฤตวิทย์ ชอบทำดี 2020 คณะวิศวกรรมศาสตร์

การออกแบบการบูรณาการความร้อนของกระบวนการผลิตแอลฟ่าเมทิลเอสเตอร์ซัลโฟเนท, กฤตวิทย์ ชอบทำดี

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

แอลฟ่าเมทิลเอสเทอร์ซัลโฟเนทเป็นสารลดแรงตึงผิวที่ผลิตจากเคมีชีวภาพจากน้ำมันพืชหรือไขมันสัตว์ ซึ่งเป็นสารลดแรงตึงผิวที่มีคุณภาพดีและมีคุณสมบัติใกล้เคียงกับโซเดียมโดเดซิลเบนซีนซัลโฟเนท โซเดียมลอริลอีเทอร์ซัลเฟต และโซเดียมโดเดซิลซัลเฟต ที่เป็นสารลดแรงตึงผิวที่ผลิตมาจากปิโตรเลียม เนื่องจากแนวทางการใช้พลังงานเชื้อเพลิงของโลกเปลี่ยนแปลงในอนาคต จะส่งผลให้ความต้องการใช้เมทิลเอสเทอร์ในอนาคตมีแนวโน้มลดลง งานวิจัยนี้ได้ศึกษากระบวนการผลิตแอลฟ่าเมทิลเอสเทอร์ซัลโฟเนท เนื่องจากเป็นสารเคมีที่ใช้เมทิลเอสเทอร์เป็นสารตั้งต้นในกระบวนการผลิต ทำให้เป็นโอกาสที่จะชดเชยการใช้เมทิลเอสเทอร์เป็นพลังงานเชื้อเพลิงที่ลดลงได้ ซึ่งในกระบวนการผลิตแอลฟ่าเมทิลเอสเทอร์ซัลโฟเนทเป็นกระบวนการผลิตที่คายพลังงานความร้อนออกจากกระบวนการผลิต จึงเห็นโอกาสในการนำพลังงานกลับมาใช้เกิดประโยชน์อีกทั้งเป็นการช่วยลดต้นทุนในการผลิตของเเอลฟ่าเมทิลเอสเทอร์ซัลโฟเนทได้อีกด้วย โดยมีวัตถุประสงค์ของงานวิจัย คือ เพื่อปรับปรุงและพัฒนาประสิทธิภาพของเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนโดยการออกแบบเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบเครือข่าย ศึกษาและวิเคราะห์ผลการออกแบบเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบเครือข่ายและความเป็นไปได้ในการลงทุนโดยใช้โปรแกรม Aspen plus และ Aspen energy analyzer โดยผลการสร้างแบบจำลองพบว่าการใช้น้ำเป็นสารหล่อเย็นในกระบวนการผลิตจะส่งให้พื้นที่รวมของเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนน้อยกว่าการใช้อากาศเป็นสารหล่อเย็นและแบบจำลองดังกล่าวสามารถผลิตไอน้ำจากกระบวนการผลิตได้ 25,000 กิโลกรัมต่อชั่วโมง ที่ความดันของไอน้ำ 3 บาร์ สามารลดปริมาณการใช้เอททีลีนไกลคอนได้ 11,085 กิโลกรัมต่อชั่วโมงโดยใช้เมทานอลในกระบวนการผลิตมาแลกเปลี่ยนความร้อนแทนและสามารถลดพื้นที่แลกเปลี่ยนความร้อนรวมของกระบวนการผลิตเหลือเป็น 394.70 ตารางเมตร


การออกแบบและวิเคราะห์การผลิตไฮโดรเจนจากฟางข้าวผ่านกระบวนการเคมิคอลลูปปิงแก๊สซิฟิเคชันร่วมกับการดักจับคาร์บอนไดออกไซด์, โศธิดา ไชยธานี 2020 คณะวิศวกรรมศาสตร์

การออกแบบและวิเคราะห์การผลิตไฮโดรเจนจากฟางข้าวผ่านกระบวนการเคมิคอลลูปปิงแก๊สซิฟิเคชันร่วมกับการดักจับคาร์บอนไดออกไซด์, โศธิดา ไชยธานี

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้ได้นำเสนอกระบวนการเคมิคอลลูปปิงแก๊สซิฟิเคชันร่วมกับการดักจับคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นการร่วมกันของกระบวนการแก๊สซิฟิเคชันชีวมวลที่มีการดักจับคาร์บอนไดออกไซด์และกระบวนการไอน้ำ-เหล็ก สำหรับผลิตไฮโดรเจนจากฟางข้าว โดยใช้เหล็กออกไซด์ (Fe3O4) เป็นตัวพาออกซิเจน และแคลเซียมออกไซด์ (CaO) เป็นตัวดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ การสร้างแบบจำลองของกระบวนการที่นำเสนอจะอยู่บนพื้นฐานของวิธีการทางอุณหพลศาสตร์โดยใช้โปรแกรมแอสเพนพลัส (Aspen Plus) จากการศึกษาผลกระทบของตัวแปรที่สำคัญพบว่า สัดส่วนผลได้ของไฮโดรเจน และความบริสุทธิ์ของไฮโดรเจนในเตาปฏิกรณ์เชื้อเพลิงสามารถเพิ่มได้จากการเพิ่มอัตราส่วนของไอน้ำที่ป้อนเข้าสู่เตาปฏิกรณ์เชื้อเพลิงต่อคาร์บอนและอัตราส่วนของแคลเซียมออกไซด์ต่อคาร์บอน ความเข้มข้นของคาร์บอนมอนอกไซด์ในสายผลิตภัณฑ์ไฮโดรเจนบริสุทธิ์มีค่าน้อยกว่า 50 ppm เมื่ออุณหภูมิของเตาปฏิกรณ์ไอน้ำดำเนินการที่ 500 องศาเซลเซียส กระบวนการมีค่าประสิทธิภาพเชิงความร้อนเป็น 58.01% เมื่อกระบวนการดำเนินการที่สภาวะที่เหมาะสม ซึ่งเกิดขึ้นได้เมื่ออุณหภูมิของเตาปฏิกรณ์เชื้อเพลิงเท่ากับ 672.4 องศาเซลเซียส และอัตราส่วนของไอน้ำที่ป้อนเข้าสู่เตาปฏิกรณ์เชื้อเพลิงต่อคาร์บอน อัตราส่วนของเหล็กออกไซด์ต่อคาร์บอน อัตราส่วนของแคลเซียมออกไซด์ต่อคาร์บอน และอัตราส่วนของไอน้ำที่ป้อนเข้าสู่เตาปฏิกรณ์ไอน้ำต่อคาร์บอนเท่ากับ 1.63 0.5 0.8 และ 1.44 ตามลำดับ กระบวนเคมิคอลลูปปิงแก๊สซิฟิเคชันร่วมกับการดักจับคาร์บอนไดออกไซด์ได้ถูกปรับปรุงประสิทธิภาพเชิงความร้อนด้วยการออกแบบเครือข่ายแลกเปลี่ยนความร้อนด้วยการวิเคราะห์จุดพินช์ นอกจากนี้ยังได้ทำการวิเคราะห์เอกเซอร์จี เพื่อระบุว่าส่วนใดในกระบวนการที่ใช้พลังงานไม่มีประสิทธิภาพ จากผลการวิเคราะห์พบว่า เตาปฏิกรณ์ไอน้ำ (SR) มีการสูญเสียเอกเซอร์จีมากที่สุดในกระบวนการ โดยกระบวนการนี้มีประสิทธิภาพเชิงเอกเซอร์จี 83.89% และสูญเสียเอกเซอร์จี 81,356.39 วัตต์


ปฏิกิริยาดีคาร์บอกซีเลชันและดีคาร์บอนิลเลชันของน้ำมันปาล์มโอเลอิน โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลโมลิบดีนัมและโคบอลต์โมลิบดีนัม, ชนน ศรีชัยวรนาถ 2020 คณะวิศวกรรมศาสตร์

ปฏิกิริยาดีคาร์บอกซีเลชันและดีคาร์บอนิลเลชันของน้ำมันปาล์มโอเลอิน โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลโมลิบดีนัมและโคบอลต์โมลิบดีนัม, ชนน ศรีชัยวรนาถ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาปฏิกิริยาดีคาร์บอกซีเลชันและปฏิกิริยาดีคาร์บอนิลเลชันของน้ำมันปาล์มโอเลอิน เพื่อให้สัดส่วนของนอร์มอลพาราฟินที่มีคาร์บอนอะตอมเลขคี่สูงขึ้น โดยใช้นิกเกิลโมลิบดีนัมและโคบอลต์โมลิบดีนัมเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ทำการทดลองในเครื่องปฏิกรณ์แบบเบดนิ่งที่มีการไหลแบบต่อเนื่อง ในสภาวะที่มีอุณหภูมิและความดันที่แตกต่างกัน ที่อุณหภูมิ 300 320 340 360 และ 380 องศาเซลเซียส ที่ความดัน 220 300 และ 450 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว จากผลการวิจัยค้นพบว่าผลิตภัณฑ์ที่ได้มีสารประกอบนอร์มอลพาราฟินซที่มีจำนวนของคาร์บอนอะตอมตั้งแต่ 15 ถึง 18 อะตอม การเพิ่มอุณหภูมิที่ใช้ในการทำปฏิกิริยาทำให้ปฏิกิริยาปฏิกิริยาดีคาร์บอกซีเลชันและปฏิกิริยาดีคาร์บอนิลเลชันเกิดได้มากขึ้น และการลดความดันทำให้ปฏิกิริยาปฏิกิริยาดีคาร์บอกซีเลชันและปฏิกิริยาดีคาร์บอนิลเลชันเกิดได้มากขึ้น โดยตัวเร่งปฏิกิริยาที่ให้อัตราการเลือกเกิดนอร์มอลพาราฟินคาร์บอนเลขคี่ต่อเลขคู่มากที่สุดคือ ตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์โมลิบดีนัม ซึ่งปฏิกิริยาเกิดได้อย่างสมบูรณ์ที่อุณหภูมิ 380 องศาเซลเซียส และสภาวะของการทดลองที่ให้ผลิตภัณฑ์ที่ต้องการได้มากที่สุดคือที่อุณหภูมิ 360 องศาเซลเซียส และ ที่ความดัน 220 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว


ผลของปริมาณนิกเกิลและโมลิบดินัมบนตัวเร่งปฏิกิริยาต่อปฏิกิริยาไฮโดรดีออกซิจีเนชันของน้ำมันเมล็ดในปาล์ม, กันต์ เจริญเศรษฐศิลป์ 2020 คณะวิศวกรรมศาสตร์

ผลของปริมาณนิกเกิลและโมลิบดินัมบนตัวเร่งปฏิกิริยาต่อปฏิกิริยาไฮโดรดีออกซิจีเนชันของน้ำมันเมล็ดในปาล์ม, กันต์ เจริญเศรษฐศิลป์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาผลกระทบของปริมาณโลหะนิกเกิลและโมลิบดินัมในตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลโมลิบดินัมต่อปฏิกิริยาไฮโดรดีออกซิจีเนชันโดยใช้น้ำมันเมล็ดในปาล์ม ทำการทดลองในเครื่องปฏิกรณ์แบบเบดนิ่งที่มีการไหลต่อเนื่องที่สภาวะอุณหภูมิ 300 320 340 360 และ 380 องศาเซลเซียส ความดัน 450 750 และ 1050 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีปริมาณโลหะนิกเกิลและโมลิบดินัมที่มีโลหะต่างกัน 3 ตัว จากผลการวิจัยพบว่าแอลเคนที่ได้จากการทำปฏิกิริยาไฮโดรดีออกซิจีเนชันของน้ำเมล็ดในปาล์มเป็นแอลเคนที่มีคาร์บอนอะตอมตั้ง 7 ถึง 18 การเพิ่มอุณหภูมิที่ใช้ในการทำปฏิกิริยาทำให้ปฏิกิริยาไฮโดรดีออกซิจีเนชันน้อยลง ในทางตรงกันข้ามการเพิ่มความดันทำให้ปฏิกิริยาไฮโดรดีออกซิจีเนชันเกิดได้น้อยลง ผลของเพิ่มปริมาณโลหะนิกเกิลและโมลิบดินัมของตัวเร่งปฏิกิริยาทำให้ปฏิกิริยาไฮโดรดีออกซิจีเนชันเกิดได้มากขึ้น ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสมในการทำปฏิกิริยาไฮโดรดีออกซิจีเนชันมากที่สุด คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีปริมาณของโลหะนิกเกิล 3.81 เปอร์เซนต์ และปริมาณของโลหะโมลิบดินัม 8.68 เปอร์เซนต์ ซึ่งสภาวะที่เกิดปฏิกิริยาไฮโดรดีออกซิจีเนชันได้มากที่สุดของตัวเร่งปฏิกิริยานี้ คือ ที่อุณหภูมิ 320 องศาเซลเซียส และความดัน 1050 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว


ประสิทธิภาพของเซลล์สุริยะชนิดเพอรอฟสไกต์ที่เพิ่มขึ้นจากการเจือโบรอนในชั้นส่งผ่านอิเล็กตรอน, ณัฐพล ลิขิตธนานันท์ 2020 คณะวิทยาศาสตร์

ประสิทธิภาพของเซลล์สุริยะชนิดเพอรอฟสไกต์ที่เพิ่มขึ้นจากการเจือโบรอนในชั้นส่งผ่านอิเล็กตรอน, ณัฐพล ลิขิตธนานันท์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

เซลล์สุริยะชนิดเพอรอฟสไกต์มีค่าประสิทธิภาพการเปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้าที่สูง แต่ค่าประสิทธิภาพของเซลล์สุริยะชนิดเพอรอฟสไกต์นั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบทางเคมี และโครงสร้างในแต่ละชั้น ซึ่งจำเป็นต้องถูกปรับปรุงและหาเงื่อนไขที่เหมาะสมที่สุด หนึ่งในปัจจัยที่ส่งผลต่อค่าประสิทธิภาพโดยรวมของเซลล์คือ จุดตำหนิในโครงสร้างของสารไทเทเนียมไดออกไซด์ซึ่งถูกใช้ทำเป็นชั้นส่งผ่านอิเล็กตรอนในเซลล์สุริยะชนิดเพอรอฟสไกต์ โดยจะส่งผลให้เกิดปัญหาในการเกิดการรวมกันของคู่พาหะอิเล็กตรอน-หลุมอิเล็กตรอน ในงานวิจัยฉบับนี้จึงสนใจที่จะปรับปรุงชั้นไทเทเนียมไดออกไซด์ด้วยการเจือโบรอนที่ความเข้มข้นร้อยละ 1-5 ด้วยวิธีโซล-เจล และการทำไฮโดรเทอร์มอล ค่าแถบช่องว่างพลังงานได้ถูกศึกษาด้วยเทคนิคการดูดกลืนรังสียูวี พบว่าค่าแถบช่องว่างพลังงานจะมีค่าสูงขึ้นจาก 3.2 3.35 3.4 3.5 3.52 และ 3.55 อิเล็กตรอนโวลต์ตามลำดับ นอกจากนี้ปริมาณอิเล็กตรอนอิสระในโครงสร้างของไทเทเนียมไดออกไซด์ถูกศึกษาด้วยเทคนิคเหนี่ยวนำอิเล็กตรอนอิสระด้วยสนามแม่เหล็ก พบว่าการเจือโบรอนที่ร้อยละ 1 และ 2 สามารถลดปริมาณความเข้มข้นของจุดตำหนิได้ ซึ่งสอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของค่าการนำไฟฟ้าที่วิเคราะห์ด้วยเทคนิคความสัมพันธ์ของแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า นอกจากนี้ค่าอิมพีแดนซ์สำหรับการส่งผ่านพาหะ และค่าอิมพีแดนซ์ต่อต้านการรวมกันของพาหะถูกวิเคราะห์ด้วยเทคนิคอิมพีแดนซ์สเปกโตรสโกปีเชิงเคมีไฟฟ้า พบว่ามีค่าลดลงและเพิ่มขึ้นตามลำดับสำหรับการเจือโบรอนที่ร้อยละ 1 และ 2 ค่าประสิทธิภาพของเซลล์สุริยะและค่าตัวแปรทางอิเล็กทรอนิกส์ถูกศึกษาด้วยเทคนิคความสัมพันธ์ระหว่างกระเส-แรงดันซึ่งพบว่าการเจือโบรอนที่ร้อยละ 2 ให้ค่าประสิทธิภาพในการเปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้าสูงสุดถึงร้อยละ 15.55 และมีค่าความต่างศักย์เมื่อวงจรเปิด 1.07 โวลต์ ค่าความหนาแน่นกระแสลัดวงจร 23.7 มิลลิแอมป์ต่อตารางเซนติเมตร และค่าฟิลแฟคเตอร์เท่ากับร้อยละ 61.4


Electrode Improvement And Neural Network-Based Dynamic Optimization Of Vanadium Redox Flow Battery, Apisada Chutimasakul 2020 Faculty of Engineering

Electrode Improvement And Neural Network-Based Dynamic Optimization Of Vanadium Redox Flow Battery, Apisada Chutimasakul

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The performance improvement of a vanadium redox flow battery (VRFB) was focused on this study. The two objectives of this study were (1) to investigate the effect of the operating temperatures of the Atmospheric Pressure Plasma jets (APPJs) process on the energy efficiency of the VRFB and (2) to determine the optimal electrolyte flow rate of the VRFB by solving a dynamic optimization based on a neural network model of the VRFB. The APPJs graphite felt electrode treatment temperature providing the highest energy efficiency of the VRFB was 550°C, explained by the Energy Dispersive X-ray Spectrometry (EDX) and X-ray photoelectron …


A Comparative Simulation Of Glycerol Steam Reforming With Foam And Conventional Pellet Catalysts In Packed Bed Reactor, Chattharika Phitchayakorn 2020 Faculty of Engineering

A Comparative Simulation Of Glycerol Steam Reforming With Foam And Conventional Pellet Catalysts In Packed Bed Reactor, Chattharika Phitchayakorn

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

This research aimed to study the effect of different catalyst structures to the hydrogen production process with glycerol steam reforming in packed bed reactors via the COMSOL Multiphysics program. 2D pseudo-homogeneous steady-state model of a 6-inch diameter adiabatic reactor has been developed to describe a transport phenomenon inside the packed bed reactors with two different catalyst structures of conventional 1-inch pellet catalyst and 10-30PPI foam catalyst. The simulated results show that the novel foam catalyst improved the process performance in terms of pressure drop and hydrogen yield comparing to the conventional 1-inch pellet catalyst. The reactor packed with the conventional …


Deposition Of Tio2-Coated Cspbbr3 Perovskite Heterostructure Thin Film, Chutikan Sairot 2020 Faculty of Engineering

Deposition Of Tio2-Coated Cspbbr3 Perovskite Heterostructure Thin Film, Chutikan Sairot

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

All-inorganic lead halide perovskite quantum dots have been emerged in recent years for optoelectronic and photovoltaic devices due to their excellent optical properties. In this work, surface coating was carried out by titanium dioxide (TiO2) to coat on the surface of CsPbBr3 PQDs to improve the stability and charge separation property. The FTIR spectra confirmed the formation of TiO2 with an amorphous phase (am-TiO2). The crystallite size of CsPbBr3/am-TiO2 QDs composite was increased to be 13.30 nm from 12.65 nm of CsPbBr3. A slightly decrease of energy bandgap was found compare to CsPbBr3 QDs owing to quantum confinement effect. The …


Production Of Γ-Valerolactone (Gvl) From One-Pot Cascade Transformation Of Furfural Over Pt/Zeolite-Based Catalysts, Jukkapan Saengin 2020 Faculty of Engineering

Production Of Γ-Valerolactone (Gvl) From One-Pot Cascade Transformation Of Furfural Over Pt/Zeolite-Based Catalysts, Jukkapan Saengin

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

γ-valerolactone (GVL) is a green renewable resource, which can be used as fuel additives, organic solvent in food industries, pharmaceutical intermediates. The direct production of GVL from furfural in a one-pot transformation is highly desirable in order to minimize the use of solvents, the number of unit operations, and the production cost. The cascade reaction was carried out in a single reactor, using a secondary alcohol as the hydrogen donor with acid catalysts (so-called Meerwein–Ponndorf–Verley reaction). In this work, the transfer hydrogenation of furfural with 2-propanal as a hydrogen donor was investigated on various zeolites including of HY with Si/Al …


Electrochemical Reduction Of Carbon Dioxide To Formate On Bi And Bisn Electrodes Prepared By Electrodeposition On Copper Foil, Jutamas Wasombut 2020 Faculty of Engineering

Electrochemical Reduction Of Carbon Dioxide To Formate On Bi And Bisn Electrodes Prepared By Electrodeposition On Copper Foil, Jutamas Wasombut

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

In this study, The Bix/Cu electrocatalysts were prepared by electrodeposition of Bi on Cu foil, and the BixSny/Cu electrocatalysts were prepared by electrodeposition of Bi and Sn on Cu foil in deposition solution bath with different Bi3+ ion concentrations of 0.05, 0.1, and 0.2 M (Bi0.05/Cu, Bi0.1/Cu, Bi0.2/Cu), while the Sn2+ ion concentration was constant at 0.025 M (Bi0.05Sn0.025/Cu, Bi0.1Sn0.025/Cu, Bi0.2Sn0.025/Cu). The electrocatalysts were characterized by SEM-EDX, XRD, and XPS and tested in the electrochemical CO2 reduction reaction. The results demonstrate that the Bi concentrations in the deposition bath affect the structure of Bi into different forms, including bulky structure …


Selective Hydrogenation Of Acetophenone To 1-Phenylethanol On Pt/ Tio2 Catalysts Prepared By Pulsed Dc Magnetron Sputtering, Khunarnon Ditsataporncharoen 2020 Faculty of Engineering

Selective Hydrogenation Of Acetophenone To 1-Phenylethanol On Pt/ Tio2 Catalysts Prepared By Pulsed Dc Magnetron Sputtering, Khunarnon Ditsataporncharoen

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

1-Phenylethanol (PHE) is a high-value chemical with various applications in fragrance and pharmaceutical industries. It is extensively used as strawberry fragrance additives in yogurts and chewing gums and an intermediate of anti-inflammatory drugs such as Ibuprofen. In this study, selective hydrogenation of acetophenone (AP) to PHE was investigated using platinum catalysts supported on different types of titanium dioxide including PC500 (pure anatase) and P25 (anatase mixed rutile). Pt was deposited on the titanium dioxide supports by pulsed direct current magnetron sputtering (PDC-MSD) method with deposition time spent on Pt coating at 3, 6, and 9 minutes. For comparison purposes, Pt/TiO2 …


Electrochemical Reduction Of Co2 To Co On Zn Electrodes Prepared By Electrodeposition Method, Krongkwan Poonbun 2020 Faculty of Engineering

Electrochemical Reduction Of Co2 To Co On Zn Electrodes Prepared By Electrodeposition Method, Krongkwan Poonbun

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

In this work, the effect of substrates including Cu and Ti on the catalytic activity of Zn electrocatalysts prepared by electrodeposition method was investigated in the electrochemical reduction of CO2 (CO2ER). As analyzed by SEM-EDX and XRD results, it indicated that the different substrates did not have any influence on the morphologies of catalysts and the conductivity of substrate was the main factor on the CO2ER performance. The effect of Zn precursor concentration in the range of 0.025 M to 0.4 M was further studied on the characteristics and the activity of Zn/Cu catalysts in the CO2ER. . At low …


Comparative Study Of Gross Split And Cost Recovery Production Sharing Contracts In Indonesia, Mohammad Ubaidillah 2020 Faculty of Engineering

Comparative Study Of Gross Split And Cost Recovery Production Sharing Contracts In Indonesia, Mohammad Ubaidillah

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

In upstream oil and gas business, Indonesian has introduced Production Sharing Contract Cost Recovery (PSC CR) in 1966 and still implementing that fiscal system until nowadays. In January 2017, The Indonesian Minister of Energy and Mineral Resources (MEMR or ESDM) introduce new PSC system called Production Sharing Contract Gross Split (PSC GS) following with three amendments until 2019. Ministries believe this new Fiscal regime can attract more investor to invest Oil & Gas business in Indonesia by delivering three main values which are certainty, efficiency, and simplicity policies. This study evaluates and compares the financial aspect of new Indonesian fiscal …


Performance Of Carbon Nanotubes As Supports Of Nickel-Iron Catalysts For Carbon Dioxide Methanation, Phanatchakorn Mala 2020 Faculty of Engineering

Performance Of Carbon Nanotubes As Supports Of Nickel-Iron Catalysts For Carbon Dioxide Methanation, Phanatchakorn Mala

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Nowadays, an increase in CO2 emission is one of the main reasons of global warming. Many studies have tried to solve the problem by developing catalysts to efficiently convert CO2 into CH4. Herein, bimetallic Ni-Fe catalyst was studied to improve the catalyst activity of Ni-based catalyst which has low activity and is easily deactivated. Carbon nanotubes (CNTs) have been identified as one of the most promising nanomaterials with unique electrical, thermal, and mechanical properties. In this thesis, CNTs was synthesized from eucalyptus oil as a renewable carbon source and then employed as catalyst support material in methanation. Variations of synthesis …


Effect Of Cu/Zn Ratios And Zr, Mn Promoters On Cuo/Zno-Based Catalysts For Methanol Synthesis Via Hydrogenation Of Co And Co2, Phapatchaya Phonrat 2020 Faculty of Engineering

Effect Of Cu/Zn Ratios And Zr, Mn Promoters On Cuo/Zno-Based Catalysts For Methanol Synthesis Via Hydrogenation Of Co And Co2, Phapatchaya Phonrat

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The aim of this research is to investigate CuO/ZnO/Al2O3 (CZA) catalysts with different Cu/Zn weight ratios including CZA-0.5, CZA-1, CZA-2 and CZA-3.5 catalysts having Cu/Zn weight ratios is 0.5, 1, 2 และ 3.5, respectively. Catalysts were prepared by the co-precipitation method. Catalysts were characterized to determine the physical and chemical properties using various techniques such as N2 adsorption, CO-Chemisorption, SEM-EDX, ICP-MS, XRD, XPS, H2-TPR, CO2-TPD and TGA. The catalysts were tested in CO hydrogenation and CO2 hydrogenation at 250 °C under atmospheric pressure. From reaction test, it was found that CZA-3.5 catalyst exhibited the highest catalytic activity due to the …


Preparation And Characterization Of Rice Husk Ash Filled Natural Rubber Film: Effect Of Cross-Linking Agents On Mechanical And Electrical Properties, Praewpakun Sintharm 2020 Faculty of Engineering

Preparation And Characterization Of Rice Husk Ash Filled Natural Rubber Film: Effect Of Cross-Linking Agents On Mechanical And Electrical Properties, Praewpakun Sintharm

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Natural rubber (NR) is one of the most important polymers produced by plants and is widely utilized as raw material for many products due to its excellent flexibility. Rice husk ash (RHA) is one of the major agricultural residues generated from the rice milling plant. In order to add value to NR and RHA, this study aims to use different types of RHA (black rice husk ash (BRHA), white rice husk ash (WRHA) and BRHA treated by acid washing (BRHAT)) as filler in NR composites. By the addition of alginate as a thickening and dispersing agent, a maximum of 100 …


Digital Commons powered by bepress