Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Educational Administration and Supervision Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

45,193 Full-Text Articles 26,762 Authors 19,211,432 Downloads 321 Institutions

All Articles in Educational Administration and Supervision

Faceted Search

45,193 full-text articles. Page 435 of 1072.

Living And Studying In The Us: An Ecological Systems Perspective, Simone C. Conceiçao, Liliana Mina, Todd Southern 2018 University of Wisconsin-Milwaukee

Living And Studying In The Us: An Ecological Systems Perspective, Simone C. Conceiçao, Liliana Mina, Todd Southern

Adult Education Research Conference

International students encounter many issues when living and studying in the United States. It is essential to understand how these adult students make meaning of these experiences. The purpose of this study was to gain insights into the meaning of the lived experiences of international students living and studying in the U.S. six months after returning to their home country. Phenomenology was the research approach used to explore participants’ perspectives of their lived experiences. Findings show how the interactions between participants’ development and the multiple systems they lived through influenced their experiences and perspectives and contributed to their identity development. …


Expanding On Phenomenological Research Findings On Adult Learners’ Experiences With The Portfolio Process, Benjamin A. Jimenez 2018 St. Edward's University - Austin, TX

Expanding On Phenomenological Research Findings On Adult Learners’ Experiences With The Portfolio Process, Benjamin A. Jimenez

Adult Education Research Conference

This paper is a discussion on the finding that the participants created new and different learning on previously attained knowledge, skills, or abilities via the portfolio process.


Examining The Relationships Between Student Veterans And Faculty Members, Sierra C. Sullivan, Peggy Ann Everett 2018 Texas State University - San Marcos

Examining The Relationships Between Student Veterans And Faculty Members, Sierra C. Sullivan, Peggy Ann Everett

Adult Education Research Conference

The researchers conducted a pilot study to guide a doctoral student in her dissertation topic. They conducted interviews with faculty members and student servicemembers/veterans to explore their experiences inside and outside the classroom.


Rebuilding Identity After A Natural Or Human Generated Disaster, Ann Brooks, Moira Martin, Michelle Holcomb 2018 Texas State University - San Marcos

Rebuilding Identity After A Natural Or Human Generated Disaster, Ann Brooks, Moira Martin, Michelle Holcomb

Adult Education Research Conference

How do disaster survivors make sense of their lives? Drawing on three studies, we use the concepts of extended and relational self to understand how disaster survivors reconstruct their identities.


Informal Learning Within The Mother Daughter Dyad: Effect On Behavior And Attitude, Deanne G. Yates 2077423 2018 Kansas State University

Informal Learning Within The Mother Daughter Dyad: Effect On Behavior And Attitude, Deanne G. Yates 2077423

Adult Education Research Conference

This roundtable will explore informal learning within the mother-daughter dyad and the role of informal learning on their perceptions of aging. The focus will be on how mothers and daughters understand the importance making meaning from an experience, memory, or conversation for learning to occur.


Making The Case For Doctoral Student Success Through Group Advising And Dissertations, Diane D. Chapman, Michelle Bartlett 2018 NC State University

Making The Case For Doctoral Student Success Through Group Advising And Dissertations, Diane D. Chapman, Michelle Bartlett

Adult Education Research Conference

Many adult doctoral students at dissertation stage are isolated and unable to focus. Group advising and group dissertation work may combat barriers to completion and lead to greater student success.


College Students With Autism Spectrum Disorders And Their Knowledge Of Self-Determination: A Study To Inform Educational Practices And Policies, Tara Rowe 2018 University of North Florida

College Students With Autism Spectrum Disorders And Their Knowledge Of Self-Determination: A Study To Inform Educational Practices And Policies, Tara Rowe

UNF Graduate Theses and Dissertations

The number of students with autism spectrum disorders (ASD) attending postsecondary education has steadily increased in recent years. A need has been identified for campus administrators to better understand the needs of students with ASD (Becker & Palladino, 2016; Oswald, Winder-Patel, Ruder, Xing, Stahmer, & Solomon, 2017). In order to gain insight about students with ASD, research providing a foundation of understanding the unique characteristics and needs of this growing population must take place. By recognizing the need for further education and training, campus administrators may have opportunities to develop professional development trainings that could provide insight into understanding a …


Individual And Organizational Culture Predictors Of Participation In Training And Development Activities Among Student Affairs Professionals, Andrea Adams-Manning 2018 University of North Florida

Individual And Organizational Culture Predictors Of Participation In Training And Development Activities Among Student Affairs Professionals, Andrea Adams-Manning

UNF Graduate Theses and Dissertations

Organizational culture substantially impacts employee motivation, employee behavior, and employee participation in professional development activities. In the field of Student Affairs, it is critical for employees to regularly participate in professional development activities to stay up-to-date with understanding today’s students’ needs and meeting federal and state demands. This study examined what individual and organizational culture factors predict participation in professional development activities among student affairs professionals at higher education institutions. For this study, 354 participants from various public and private institutions were emailed an anonymous web-based survey. Field theory served as the theoretical foundation giving perspective as to how external …


Living-Learning Communities Effect On Students’ Self-Efficacy Of Their Successful Social And Academic Transition To College, Sarah Friswold-Atwood 2018 University of North Florida

Living-Learning Communities Effect On Students’ Self-Efficacy Of Their Successful Social And Academic Transition To College, Sarah Friswold-Atwood

UNF Graduate Theses and Dissertations

This study investigated the effect of the integrated learning environment fostered by Living-Learning Communities on students’ self-efficacy towards their social and academic transition to college at a large regional institution in the Southeast. Grounded in a theoretical framework guided by Schlossberg's Model for Analyzing Human Adaptation to Transition and Bandura's Triadic Reciprocal Determinism, a two-part structural equation model analysis was conducted with SkyFactor survey data from 427 first-year students. The first analysis, which compared outcomes for LLC participants with non-participants, demonstrated a small statistically significant positive effect for LLC-participants perception of their housing environment. Regardless of LLC participation, the general …


A Study Of State College Faculty Trust In Immediate Supervisors, Anna Byrd 2018 University of North Florida

A Study Of State College Faculty Trust In Immediate Supervisors, Anna Byrd

UNF Graduate Theses and Dissertations

This quantitative study investigated faculty trust in their immediate supervisors (academic deans and faculty chairs) in a state college setting. A survey instrument created for this study was based on existing research on trust in schools by Bryk and Schneider (2002) and Tschannen-Moran and Hoy (1998), as well as research on trust in corporate setting. The study’s purpose was to determine the types and frequencies of interactions between community college faculty and deans/faculty chairs – i.e., faculty immediate supervisors – that are related to higher levels of faculty trust. Also investigated were the relationships between faculty trust and demographic characteristics …


การพัฒนาคู่มือการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของโรงเรียนมาตรฐานสากลตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, ธพลศจกรณ์ พิมพิชัยธกุล 2018 คณะครุศาสตร์

การพัฒนาคู่มือการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของโรงเรียนมาตรฐานสากลตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, ธพลศจกรณ์ พิมพิชัยธกุล

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของโรงเรียนมาตรฐานสากลที่มีวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อพัฒนาคู่มือการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของโรงเรียนมาตรฐานสากลตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยผสมผสานแบบพหุระยะ (Multiphase Mixed Method Research) ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง คือโรงเรียนมาตรฐานสากลที่มีวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศและได้รับรางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) แหล่งข้อมูลคือรายงานผลการดำเนินงานตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมาตรฐานสากล จำนวน 7 เล่ม ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 26 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน จำนวน 3 คน รองผู้อำนวยการโรงเรียน จำนวน 8 คน ข้าราชการครู จำนวน 15 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูล แบบสังเกต และแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัย พบว่า 1. กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของโรงเรียนมาตรฐานสากล ประกอบด้วยกระบวนการสำคัญ จำนวน 9 กระบวนการ ได้แก่ 1) การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ 2) การออกแบบโครงสร้างองค์กรและการออกแบบงาน 3) การสรรหา ว่าจ้าง บรรจุ โอนย้าย และการรักษาบุคลากร 4) การพัฒนาบุคลากร 5) การประเมินผลการปฏิบัติงานและการบริหารผลการปฏิบัติงาน 6) การบริหารค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ 7) การบริหารความก้าวหน้าในวิชาชีพ 8) งานวินัยและนิติการ และ 9) การบริหารความผูกพันของบุคลากร 2. คู่มือการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของโรงเรียนมาตรฐานสากลตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มี 5 บท ดังนี้ บทที่ 1 บทนำ ประกอบด้วย ความเป็นมาและความสำคัญ วัตถุประสงค์ของคู่มือ ขอบเขตของคู่มือ คำจำกัดความที่ใช้ในคู่มือ และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 โครงสร้างการบริหารและบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ ประกอบด้วย โครงสร้างการบริหารงานบุคลากร ลักษณะงานที่ปฏิบัติ และบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ บทที่ 3 ระเบียบและหลักเกณฑ์การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ประกอบด้วย …


แนวทางการบริหารการสื่อสารองค์การของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร, สุชาดา สุมน 2018 คณะครุศาสตร์

แนวทางการบริหารการสื่อสารองค์การของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร, สุชาดา สุมน

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการบริหารการสื่อสารองค์การของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาปัญหาในการบริหารการสื่อสารองค์การของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร และ 3) นำเสนอแนวทางการบริหารการสื่อสารองค์การของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร กรอบแนวคิดของการวิจัยประกอบด้วย การสื่อสารภายในองค์การและการบริหาร ประชากร คือ โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร จำนวน 119 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียน ครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูที่เป็นตัวแทนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย และนักเรียนที่เป็นคณะกรรมการนักเรียน รวม 423 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามแบบมีคำถามปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลโดย ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1) สภาพการบริหารการสื่อสารองค์การของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ 1.1) ด้านการวางแผน ผู้บริหาร ครู และนักเรียนมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก โดยผู้บริหารมีค่าเฉลี่ยในการปฏิบัติสูงสุดคิดเป็นค่าเฉลี่ย 4.19 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.96 1.2) ด้านการปฏิบัติ ผู้บริหาร ครู และนักเรียนมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก โดยผู้บริหารมีค่าเฉลี่ยการปฏิบัติสูงสุดคิดเป็นค่าเฉลี่ย 4.13 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.09 และ 1.3) ด้านการประเมินผล ผู้บริหาร ครู และนักเรียนมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก โดยผู้บริหารมีค่าเฉลี่ยการปฏิบัติสูงสุดคิดเป็นค่าเฉลี่ย 4.22 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.99 2) ปัญหาในการการบริหารการสื่อสารองค์การของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ 2.1) ด้านการวางแผน ผู้บริหาร ครู และนักเรียนมีความเห็นเกี่ยวกับปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง โดยนักเรียนมีค่าเฉลี่ยเกี่ยวกับปัญหาสูงสุดคิดเป็นค่าเฉลี่ย 3.09 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.10 2.2) ด้านการปฏิบัติ ครูและนักเรียนมีความเห็นเกี่ยวกับปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนผู้บริหารมีความเห็นอยู่ในระดับน้อย โดยนักเรียนมีค่าเฉลี่ยเกี่ยวกับปัญหาสูงสุดคิดเป็นค่าเฉลี่ย 3.10 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.09 และ …


กลยุทธ์การบริหารวิชาการของโรงเรียนเตรียมทหาร ตามแนวคิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21, สราวุฒิ กันเอี่ยม 2018 คณะครุศาสตร์

กลยุทธ์การบริหารวิชาการของโรงเรียนเตรียมทหาร ตามแนวคิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21, สราวุฒิ กันเอี่ยม

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากรอบแนวคิดการบริหารวิชาการของโรงเรียนเตรียมทหารและทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 2) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารวิชาการของโรงเรียนเตรียมทหารตามแนวคิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 และ 3) เพื่อพัฒนากลยุทธ์การบริหารวิชาการของโรงเรียนเตรียมทหารตามแนวคิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 โดยใช้การวิจัยแบบผสมวิธีพหุระยะ ผู้ให้ข้อมูลได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียนเตรียมทหาร ผู้อำนวยการกองวิชา อาจารย์ และนักเรียนเตรียมทหาร รวม 456 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินกรอบแนวคิด แบบสอบถาม และแบบประเมินร่างกลยุทธ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนี PNIModified รวมทั้งการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) กรอบแนวคิดการบริหารวิชาการโรงเรียนเตรียมทหาร ประกอบด้วย (1) การพัฒนาหลักสูตร (2) การจัดการเรียนรู้ (3) การวัดผลและประเมินผล (4) การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน และมาตรฐานการศึกษา และกรอบแนวคิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 มี 10 องค์ประกอบ คือ (1) ทักษะการเรียนรู้ (2) ทักษะการคิดเชิงวิพากษ์ (3) ทักษะการติดต่อสื่อสาร (4) ทักษะการทำงานเป็นทีม (5) ทักษะการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (6) ทักษะสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (7) ทักษะในการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ และมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (8) ทักษะผู้นำที่มีความรับผิดชอบ (9) ทักษะการคิดยืดหยุ่นและการปรับตัว (10) ทักษะทางสังคมและการเรียนรู้สังคมข้ามวัฒนธรรม 2) สภาพปัจจุบันภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการจัดการเรียนรู้ และด้านการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน และมาตรฐานการศึกษา ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือด้านการจัดการเรียนรู้ และการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน และมาตรฐานการศึกษา 3) จุดแข็ง คือ ด้านการพัฒนาหลักสูตร และด้านการวัดและประเมินผล จุดอ่อน คือ ด้านการจัดการเรียนรู้ และด้านการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน และมาตรฐานการศึกษา สภาพแวดล้อมภายนอกในภาพรวมไม่พบโอกาส แต่พบภาวะคุกคาม …


Developing A Resilience-Thinking Leadership Mindset Scale, Lloyd Duman 2018 Antioch University - PhD Program in Leadership and Change

Developing A Resilience-Thinking Leadership Mindset Scale, Lloyd Duman

Antioch University Full-Text Dissertations & Theses

The purpose of this study was to develop a resilience-thinking leadership mindset construct and scale. Although literature exists on developing resilience and relational leadership theories, very little research and literature address a resilience-thinking mindset as a leadership strategy. This study represents an initial step in filling this gap. This research project was the initial phase toward the development of a resilience-thinking leadership mindset (RTLM) scale. I used a mixed-methods approach which was divided into three stages. Stage 1 involved the development of the scale items and assessment of both face and content validity to revise the original scale. Stage 2 …


กลยุทธ์การบริหารโรงเรียนประจำตามแนวคิดความเป็นพลเมืองในศตวรรษที่ 21, ดารัตน์ กันเอี่ยม 2018 คณะครุศาสตร์

กลยุทธ์การบริหารโรงเรียนประจำตามแนวคิดความเป็นพลเมืองในศตวรรษที่ 21, ดารัตน์ กันเอี่ยม

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากรอบแนวคิดการบริหารโรงเรียนประจำและความเป็นพลเมืองในศตวรรษที่ 21 2) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารโรงเรียนประจำ และความเป็นพลเมืองในศตวรรษที่ 21 และ 3) พัฒนากลยุทธ์การบริหารโรงเรียนประจำตามแนวคิดความเป็นพลเมืองในศตวรรษที่ 21 โดยใช้การวิจัยแบบผสมวิธีพหุระยะ ผู้ให้ข้อมูลแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการเรียน หัวหน้างานหอพัก หรือครูดูแลนักเรียนประจำ และครูผู้สอน จำนวน 95 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินกรอบแนวคิด แบบสอบถาม และแบบประเมินร่างกลยุทธ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนี PNIModified และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) กรอบแนวคิดการบริหารโรงเรียนประจำ ประกอบด้วย (1) การพัฒนาหลักสูตร (2) การจัดการเรียนรู้ (3) การวัดและประเมินผล (4) การบริหารกิจการนักเรียน (5) การบริหารหอพัก กรอบแนวคิดความเป็นพลเมืองในศตวรรษที่ 21ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ความเป็นพลเมืองชาติ พลเมืองโลก พลเมืองดิจิทัล 2) สภาพปัจจุบันในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการบริหารกิจการนักเรียน ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการจัดการเรียนรู้ และการบริหารกิจการนักเรียน 3) จุดแข็งของสภาพแวดล้อมภายใน คือ การบริหารกิจการนักเรียน จุดอ่อนของสภาพแวดล้อมภายใน คือ การบริหารหอพักนักเรียนประจำ (PNImodified = 0.239) โอกาสของสภาพแวดล้อมภายนอกในภาพรวม คือ ด้านการเมืองและนโยบายของรัฐ (PNImodified = 0.252) และด้านเทคโนโลยี (PNImodified = 0.255) ภาวะคุกคามของสภาพแวดล้อมภายนอกในภาพรวม คือ ด้านสภาพเศรษฐกิจ (PNImodified = 0.264) และด้านสภาพสังคม (PNImodified = …


กลยุทธ์การบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนานักเรียนให้มีภาวะผู้นำที่ยอดเยี่ยม, ดวงจิต สนิทกลาง 2018 คณะครุศาสตร์

กลยุทธ์การบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนานักเรียนให้มีภาวะผู้นำที่ยอดเยี่ยม, ดวงจิต สนิทกลาง

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษากรอบแนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนานักเรียนให้มีภาวะผู้นำที่ยอดเยี่ยม 2. ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนานักเรียนให้มีภาวะผู้นำที่ยอดเยี่ยม 3. พัฒนากลยุทธ์การบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนานักเรียนให้มีภาวะผู้นำที่ยอดเยี่ยม ดำเนินการวิจัย โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน เก็บข้อมูลจากโรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จำนวน 342 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหาร ครู และนักเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบประเมินกรอบแนวคิดในการวิจัย และแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของกลยุทธ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ค่าดัชนีความต้องการจำเป็น (PNIModified) และ การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) จากการสนทนากลุ่ม ผลการวิจัย พบว่า 1. กรอบแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนานักเรียนให้มีภาวะผู้นำที่ยอดเยี่ยม ประกอบด้วย การบริหารงานวิชาการ ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการวัดผลและประเมินผล และ การบริหารงานกิจการนักเรียน ได้แก่ งานสภานักเรียน และการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร 2. กรอบแนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นำที่ยอดเยี่ยม ประกอบด้วย 1) การมีวิสัยทัศน์ 2) การรู้จักอัตลักษณ์ของตนเอง 3) การเป็นคนสร้างแรงบันดาลใจ 4) การมีกัลยาณมิตร 5) การมีจิตสาธารณะ 6) การมีภูมิปัญญา 7) การมีความสามัคคีปรองดอง 8) การมีสัจจะ กล้าหาญ มุ่งมั่น และ 9) การยึดมั่นคุณธรรมจริยธรรมและความดีงาม และ 10) การเน้นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และพัฒนา 3. สภาพปัจจุบันของการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนานักเรียนให้มีภาวะผู้นำที่ยอดเยี่ยมในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และสภาพที่พึงประสงค์ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ 3) กลยุทธ์การบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนานักเรียนให้มีภาวะผู้นำที่ยอดเยี่ยม มีกลยุทธ์หลัก 5 กลยุทธ์ ได้แก่ 1) ปฏิรูปหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อเสริมสร้างนักเรียนให้มีภาวะผู้นำที่ยอดเยี่ยม 2) ปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีภาวะผู้นำที่ยอดเยี่ยม 3) ปรับเปลี่ยนระบบการวัดผลและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ เพื่อการพัฒนานักเรียนให้มีภาวะผู้นำที่ยอดเยี่ยม …


แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำที่เอาใจใส่ของผู้บริหารโรงเรียนตามวิสัยทัศน์การศึกษาของมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย, ดารญา ตันตินีรนาท 2018 คณะครุศาสตร์

แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำที่เอาใจใส่ของผู้บริหารโรงเรียนตามวิสัยทัศน์การศึกษาของมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย, ดารญา ตันตินีรนาท

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบทบาทภาวะผู้นำที่เอาใจใส่ของผู้บริหารโรงเรียนตามวิสัยทัศน์การศึกษาของมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย 2) ศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำที่เอาใจใส่ของผู้บริหารโรงเรียนตามวิสัยทัศน์การศึกษาของมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย การวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จากโรงเรียนที่มีแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ตัวอย่าง คือ ผู้บริหารจากโรงเรียนขนาดใหญ่ กลาง เล็ก โรงละ 1 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1) แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง 2) แบบบันทึกข้อค้นพบจากเอกสารและการสังเกต แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยที่สำคัญสรุปได้ว่า ผู้บริหารโรงเรียนมีบทบาทภาวะผู้นำที่เอาใจใส่ผู้ปฏิบัติงาน (Caring for Staff) และบทบาทภาวะผู้นำที่เอาใจใส่นักเรียน (Caring for Client) ในระดับสูงทุกด้าน และบทบาทภาวะผู้นำที่เอาใจใส่ตนเอง (Caring for self) อยู่ในระดับต่ำสุด มีองค์ประกอบที่มีความจำเป็นต้องพัฒนาสูงสุด คือการดูแลสุขภาพตนเอง การบริหารเวลาในชีวิตประจำวัน และการบริหารความเครียด แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำ มี 5 แนวทาง คือ 1) การทำความรู้จัดตนเอง โดยการรับการตรวจสุขภาพอย่างสม่ำเสมอเพื่อนำข้อมูลที่ได้มาดูแลตนเองเพื่อป้องกันการเจ็บป่วย มีการปรับทัศนคติของตนเองจัดการปัญหาโดยการปรับอารมณ์ (Emotion-focused of Coping) 2) การสร้างวินัยตนเอง โดยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ สร้างสมดุลระหว่างการทำงานและชีวิตประจำวัน วางแผนจัดลำดับความสำคัญก่อนหลัง เพื่อให้ได้งานที่มีประสิทธิภาพและไม่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ 3) การศึกษา โดยการเรียนรู้เพื่อสะสมองค์ความรู้มาปรับใช้ในการทำงาน 4) การแสวงหาประสบการณ์ โดยการเรียนรู้จากบุคคลต้นแบบ ผู้บริหารในระดับสูงกว่า เพื่อนร่วมงาน และจากงานที่รับผิดชอบ 5) การให้คำปรึกษา ด้วยการทำงานเป็นทีมมีการประชุมปรึกษาเพื่อการทำงาน และแก้ไขปัญหา


การพัฒนารูปแบบการคัดเลือกนักเรียนเตรียมทหาร ตามแนวคิดสมรรถนะนายทหารสัญญาบัตรกองทัพบกไทย ในศตวรรษที่ 21, ตวงพร ศรีชัย 2018 คณะครุศาสตร์

การพัฒนารูปแบบการคัดเลือกนักเรียนเตรียมทหาร ตามแนวคิดสมรรถนะนายทหารสัญญาบัตรกองทัพบกไทย ในศตวรรษที่ 21, ตวงพร ศรีชัย

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากรอบแนวคิดเกี่ยวกับสมรรถนะนายทหารสัญญาบัตรกองทัพบกไทยในศตวรรษที่ 21 และกรอบ แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบการคัดเลือกนักเรียนเตรียมทหารในส่วนของกองทัพบก 2) ศึกษาสภาพที่พึงประสงค์ของสมรรถนะนายทหารสัญญาบัตรกองทัพบกไทย ในศตวรรษที่ 21 และสภาพที่พึงประสงค์ของรูปแบบการคัดเลือกนักเรียนเตรียมทหารในส่วนของกองทัพบก และ 3) พัฒนารูปแบบการคัดเลือกนักเรียน เตรียมทหารตามแนวคิดสมรรถนะนายทหารสัญญาบัตรกองทัพบกไทยในศตวรรษที่ 21 ดำเนินการวิจัยโดยใช้การศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการเก็บข้อมูล จากการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ โดยใช้การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด ประกอบด้วย นายทหารสัญญาบัตรกองทัพบก ไทยที่มีสมรรถนะสูง จำนวน 10 นาย และนายทหารสัญญาบัตรกองทัพบกไทยที่มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับกระบวนการคัดเลือกนักเรียนนายร้อยทหารบกของ ไทยและต่างประเทศ จำนวน 4 นาย บุคลากรที่ทำหน้าที่บริหาร ผู้สอน และนายทหารปกครองจากโรงเรียนเตรียมทหารและโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า จำนวน 5 นาย เก็บข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ ลักษณะคำถามเป็นแบบตรวจสอบรายการ และคำถามปลายเปิด วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลที่ได้จาก การศึกษาเอกสาร และความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า 1) กรอบแนวคิดเกี่ยวกับสมรรถนะนายทหารสัญญาบัตรกองทัพบกไทยในศตวรรษที่ 21 มีสมรรถนะ 9 ด้าน และกรอบ แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบการคัดเลือกนักเรียนเตรียมทหารในส่วนของกองทัพบก มีทั้งหมด 6 รูปแบบ 2) สภาพที่พึงประสงค์ของสมรรถนะนายทหารสัญญาบัตร กองทัพบกไทยในศตวรรษที่ 21 เรียงลำดับความสำคัญของสมรรถนะจากมากไปน้อย ได้ดังนี้ 1) พันธสัญญาและความจงรักภักดีต่อกองทัพ และสถาบันหลัก ของชาติ 2) การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 3) ความตระหนัก 4) ความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ 5) ความเป็นผู้นำ 6) ความสามารถในการบริหารจัดการ 7) ความ ยืดหยุ่น 8) การปรับตัวได้อย่างรวดเร็ว และ 9) ความเป็นพันธมิตร สภาพที่พึงประสงค์ของรูปแบบการคัดเลือกนักเรียนเตรียมทหารในส่วนของกองทัพบก ประกอบด้วย รูปแบบการพิจารณาใบสมัคร รูปแบบการทดสอบ 3 ด้าน คือ การทดสอบทางวิชาการ การทดสอบสมรรถภาพร่างกาย และการทดสอบทาง จิตวิทยา รูปแบบการพิจารณาภาวะผู้นำ รูปแบบการตรวจร่างกาย รูปแบบการสัมภาษณ์ และ รูปแบบการตัดสินผลการคัดเลือก …


กลยุทธ์การบริหารห้องสมุดกองทัพบกตามแนวคิดการพัฒนากำลังพลที่ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์กองทัพบก พ.ศ. 2560-2579, กฤษฎา สว่างงาม 2018 คณะครุศาสตร์

กลยุทธ์การบริหารห้องสมุดกองทัพบกตามแนวคิดการพัฒนากำลังพลที่ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์กองทัพบก พ.ศ. 2560-2579, กฤษฎา สว่างงาม

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากรอบแนวคิดของการบริหารห้องสมุดกองทัพบก และการพัฒนากำลังพลตามยุทธศาสตร์กองทัพบก พ.ศ. 2560-2579 2) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ในการบริหารห้องสมุดกองทัพบก 3) วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภาวะคุกคามของการบริหารห้องสมุดกองทัพบก และ 4) พัฒนากลยุทธ์การบริหารห้องสมุดกองทัพบกตามแนวคิดการพัฒนากำลังพลที่ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์กองทัพบก พ.ศ. 2560-2579 โดยใช้การวิจัยแบบผสมวีพหุระยะ ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหาร/หัวหน้าห้องสมุด บรรณารักษ์ และผู้ใช้บริการห้องสมุดจากห้องสมุดในสังกัดของกองทัพบก จำนวน 28 แห่ง รวมจำนวน 356 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมิน กรอบแนวคิด แบบสอบถาม และแบบประเมินร่างกลยุทธ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนี PNI [subscript modified] และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) กรอบแนวคิดการบริหารห้องสมุดกองทัพบก ประกอบด้วย 4 งาน คือ (1) งานบริหาร (2) งานเทคนิค (3) งานบริการ และ (4) งานประชาสัมพันธ์ สำหรับกรอบแนวคิดการพัฒนากำลังพลตามยุทธศาสตร์กองทัพบก พ.ศ. 2560-2579 ประกอบไปด้วย 6 ยุทธศาสตร์ 2) สภาพปัจจุบันในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ งานบริหาร ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ในภาพรวมอยู่ในระดับมากเช่นกัน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ งานประชาสัมพันธ์ ทั้งนี้ เมื่อจำแนกตามยุทธศาสตร์กองทัพบก พ.ศ. 2560-2579 พบว่า ยุทธศาสตร์ที่มีค่าเฉลี่ยสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ในภาพรวมสูงที่สุด คือ การพิทักษ์รักษาและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ส่วนยุทธศาสตร์ที่มีค่าเฉลี่ยสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ฯ ในภาพรวมน้อยที่สุด คือ การเสริมสร้างความร่วมมือด้านการทหารกับต่างประเทศ 3) จุดแข็ง คือ งานบริหาร จุดอ่อน คือ งานบริการ โอกาส คือ ด้านความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี …


การพัฒนาคู่มือการบริหารงานสภานักเรียนตามแนวคิดความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยของนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา, คเชนเทพ จันทรวงศ์ 2018 คณะครุศาสตร์

การพัฒนาคู่มือการบริหารงานสภานักเรียนตามแนวคิดความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยของนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา, คเชนเทพ จันทรวงศ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารงานสภานักเรียนตามแนวคิดความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยของนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา และเพื่อพัฒนาคู่มือการบริหารงานสภานักเรียนตามแนวคิดความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยของนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยมีแหล่งข้อมูลประกอบด้วยเอกสารดังต่อไปนี้ 1) ระเบียบ/ข้อบังคับ/ธรรมนูญว่าด้วยสภานักเรียนของโรงเรียน, 2) เอกสารคู่มือ/แนวทางการดำเนินงานสภานักเรียนของโรงเรียน, 3) แผนงาน/โครงการ/รายงานผลการดำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียน และ 4) เอกสารประกอบการคัดเลือกโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนในปีที่ได้รับรางวัล ในส่วนของการมีส่วนร่วมของสภานักเรียนในการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมของโรงเรียน (องค์ประกอบที่ 2) จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 12 โรงเรียน รวมทั้งสิ้น 48 รายการ ผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวิเคราะห์เอกสาร, แบบประเมินความเหมาะสมของ (ร่าง) แนวทางฯ และแบบประเมินคุณภาพของ (ร่าง) คู่มือการบริหารงานสภานักเรียนฯ และผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ สรุปผลการวิจัยที่สำคัญได้ดังนี้ 1. แนวทางการบริหารงานสภานักเรียนตามแนวคิดความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยของนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา มีทั้งหมด 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การวางแผน (Planning) ขั้นตอนที่ 2 การนำแผนสู่การปฏิบัติ (Implementation) และขั้นตอนที่ 3 การประเมินผล (Evaluation) ซึ่งการบริหารงานสภานักเรียนแบ่งกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านคารวธรรม (Respect for Individuals), ด้านสามัคคีธรรม (Sharing, Participating, and Co-operating) และด้านปัญญาธรรม (Faith in the Method of Intelligence) 2. คู่มือการบริหารงานสภานักเรียนตามแนวคิดความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยของนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา ประกอบด้วย ชื่อคู่มือ (Name), คำชี้แจง (Explanation), ความเป็นมาและความสำคัญ (Background and Signification), วัตถุประสงค์ (Objectives), ขอบเขต (Scope), คำจำกัดความ (Definition), การบริหารงานสภานักเรียนตามแนวคิดความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยประกอบด้วย ขั้นตอนการบริหารงาน 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การวางแผน …


Digital Commons powered by bepress