Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Education Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

PDF

Chulalongkorn University

Discipline
Keyword
Publication Year
Publication
Publication Type

Articles 31 - 60 of 3469

Full-Text Articles in Education

สมาคมการศึกษาแห่งประเทศไทย : ตัวเร่งอาณานิคมทางปัญญาในวงการศึกษาไทย ?, ธรรมเกียรติ กันอริ Apr 2023

สมาคมการศึกษาแห่งประเทศไทย : ตัวเร่งอาณานิคมทางปัญญาในวงการศึกษาไทย ?, ธรรมเกียรติ กันอริ

Journal of Education Studies

No abstract provided.


รัฐศาสตร์ต่างประเทศในรัฐศาสตร์ไทย, พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว Apr 2023

รัฐศาสตร์ต่างประเทศในรัฐศาสตร์ไทย, พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว

Journal of Education Studies

No abstract provided.


อิทธิพลของแนวความคิดต่างประเทศในการพัฒนาหลักสูตรไทย, สวัสดิ์ จงกล Apr 2023

อิทธิพลของแนวความคิดต่างประเทศในการพัฒนาหลักสูตรไทย, สวัสดิ์ จงกล

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การศึกษา : เครื่องมือของผู้มีอำนาจเพื่อการครอบงำทางอุดมการณ์, อุทัย ตุลยเกษม Apr 2023

การศึกษา : เครื่องมือของผู้มีอำนาจเพื่อการครอบงำทางอุดมการณ์, อุทัย ตุลยเกษม

Journal of Education Studies

No abstract provided.


แนวคิดในการพัฒนา : ระบบการครอบงำสังคมไทยของประเทศตะวันตก, วิวัฒน์ชัย อัตถากร Apr 2023

แนวคิดในการพัฒนา : ระบบการครอบงำสังคมไทยของประเทศตะวันตก, วิวัฒน์ชัย อัตถากร

Journal of Education Studies

No abstract provided.


กวีนิพนธ์ : ผงเข้าตา, เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ Apr 2023

กวีนิพนธ์ : ผงเข้าตา, เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์

Journal of Education Studies

No abstract provided.


แนะนำผู้เขียน, N/A Apr 2023

แนะนำผู้เขียน, N/A

Journal of Education Studies

No abstract provided.


บรรณาธิการ, ไพฑูรย์ สินลารัตน์ Apr 2023

บรรณาธิการ, ไพฑูรย์ สินลารัตน์

Journal of Education Studies

No abstract provided.


แนะนำและวิจารณ์หนังสือ, N/A Apr 2023

แนะนำและวิจารณ์หนังสือ, N/A

Journal of Education Studies

No abstract provided.


บทบาทและสถานภาพของครู ผลสรุปการสัมมนาของนิสิตชั้นปีที่ ๔ คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ, สุนีย์ สินธุเดชะ Apr 2023

บทบาทและสถานภาพของครู ผลสรุปการสัมมนาของนิสิตชั้นปีที่ ๔ คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ, สุนีย์ สินธุเดชะ

Journal of Education Studies

No abstract provided.


สรุปผลการวิจัยเรื่อง บูรณาการในหลักสูตร : ลักษณะของหลักสูตรมัธยมศึกษา และปัญหาการจัดในเขตการศึกษา ๘, เสริมศรี ไชยศร, สาลี่ งามคีรี, ประหยัด สายวิเชียร Apr 2023

สรุปผลการวิจัยเรื่อง บูรณาการในหลักสูตร : ลักษณะของหลักสูตรมัธยมศึกษา และปัญหาการจัดในเขตการศึกษา ๘, เสริมศรี ไชยศร, สาลี่ งามคีรี, ประหยัด สายวิเชียร

Journal of Education Studies

No abstract provided.


สถานภาพและแนวโน้มของการวิจัยทางการศึกษาในประเทศไทย, สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ Apr 2023

สถานภาพและแนวโน้มของการวิจัยทางการศึกษาในประเทศไทย, สมหวัง พิธิยานุวัฒน์

Journal of Education Studies

No abstract provided.


สถานภาพของอาจารย์มหาวิทยาลัย, ประกอบ คุปรัตน์ Apr 2023

สถานภาพของอาจารย์มหาวิทยาลัย, ประกอบ คุปรัตน์

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การพัฒนาคณาจารย์ในวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา, เช้า สิทธิชัย Apr 2023

การพัฒนาคณาจารย์ในวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา, เช้า สิทธิชัย

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การนำ Q.C. Circle มาใช้ในโรงเรียน, ชัยพร วิชชาวุธ Apr 2023

การนำ Q.C. Circle มาใช้ในโรงเรียน, ชัยพร วิชชาวุธ

Journal of Education Studies

No abstract provided.


ศิลปของการมอบอำนาจหน้าที่, กมล รักสวน Apr 2023

ศิลปของการมอบอำนาจหน้าที่, กมล รักสวน

Journal of Education Studies

No abstract provided.


คอมพิวเตอร์ใช้ในการเรียนการสอน, สมชาย ทยานยง Apr 2023

คอมพิวเตอร์ใช้ในการเรียนการสอน, สมชาย ทยานยง

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การพัฒนาหลักสูตรระดับอุดมศึกษาของไทย : จากอดีตสู่แนวทางใหม่ในปัจจุบัน, ไพฑูรย์ สินลารัตน์ Apr 2023

การพัฒนาหลักสูตรระดับอุดมศึกษาของไทย : จากอดีตสู่แนวทางใหม่ในปัจจุบัน, ไพฑูรย์ สินลารัตน์

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การสอนเพื่อเสริมสร้างอัตมโนทัศน์ตามแนวมนุษย์ : นวัตกรรมทางการศึกษาระดับประถมศึกษา, ทิศนา แขมมณี Apr 2023

การสอนเพื่อเสริมสร้างอัตมโนทัศน์ตามแนวมนุษย์ : นวัตกรรมทางการศึกษาระดับประถมศึกษา, ทิศนา แขมมณี

Journal of Education Studies

No abstract provided.


นวัตกรรมทางการศึกษาระดับมัธยมต้น : โรงเรียนมัธยมศึกษากับการใช้แหล่งทรัพยากรในชุมชน, อุดม ปัญญา Apr 2023

นวัตกรรมทางการศึกษาระดับมัธยมต้น : โรงเรียนมัธยมศึกษากับการใช้แหล่งทรัพยากรในชุมชน, อุดม ปัญญา

Journal of Education Studies

No abstract provided.


นวัตกรรมทางการศึกษา, สำลี ทองธิว Apr 2023

นวัตกรรมทางการศึกษา, สำลี ทองธิว

Journal of Education Studies

No abstract provided.


ลานสาระ, ลัดดา ภู่เกียรติ, อัญชลี ทองคำ Mar 2023

ลานสาระ, ลัดดา ภู่เกียรติ, อัญชลี ทองคำ

Journal of Education Studies

No abstract provided.


กลยุทธ์การบริหารวิชาการตามแนวคิดความเป็นพลเมืองดิจิทัลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดนครราชสีมา, จุฬาลักษณ์ ยอดยิ่ง, สุภาพ ผู้รุ่งเรือง, ศิริ ถีอาสนา Jan 2023

กลยุทธ์การบริหารวิชาการตามแนวคิดความเป็นพลเมืองดิจิทัลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดนครราชสีมา, จุฬาลักษณ์ ยอดยิ่ง, สุภาพ ผู้รุ่งเรือง, ศิริ ถีอาสนา

Journal of Education Studies

การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากรอบแนวคิดการบริหารงานวิชาการและความเป็นพลเมืองดิจิทัล 2) ศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหารงานวิชาการตามแนวคิดความเป็นพลเมืองดิจิทัลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดนครราชสีมา 3) สร้างกลยุทธ์การบริหารงานวิชาการตามแนวคิดความเป็นพลเมืองดิจิทัล กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ได้แก่ โรงเรียน จำนวน 306 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้อำนวยการและครูวิชาการ เครื่องมือการวิจัยได้แก่ แบบประเมินกรอบแนวคิด แบบสอบถาม และแบบประเมินกลยุทธ์ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีความต้องการจำเป็น และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) กรอบแนวคิด 1.1) การบริหารงานวิชาการ ประกอบด้วย (1) การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา (2) จัดการเรียนการสอน และ (3) การวัดและประเมินผล และ 1.2) ความเป็นพลเมืองดิจิทัล ประกอบด้วย (1) การมีความเคารพต่อตนเองและผู้อื่น (2) การเรียนรู้และพัฒนาตนเอง และ (3) การมีความรับผิดชอบและการรักษาความปลอดภัย 2. ความต้องการจำเป็นที่ต้องพัฒนาลำดับแรก 2.1) ด้านการบริหารงานวิชาการได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และ 2.2) ด้านความเป็นพลเมืองดิจิทัล ได้แก่ การมีความรับผิดชอบและการรักษาความปลอดภัย 3. การสร้างกลยุทธ์ 3.1) กลยุทธ์การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา มี 3 กลยุทธ์หลัก 14 กลยุทธ์รอง และ 79 วิธีดำเนินการ 3.2) ผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน


เครื่องมืออนาคตวิทยาการศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตของพลเมืองเน็กซ์ในยุคชีวิตปกติวิถีถัดไป, วสุธาร พันธุ์อร่าม, ชรินทร์ มั่งคั่ง, ชญานิตย์ ยิ้มสวัสดิ์, เชษฐภูมิ วรรณไพศาล Jan 2023

เครื่องมืออนาคตวิทยาการศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตของพลเมืองเน็กซ์ในยุคชีวิตปกติวิถีถัดไป, วสุธาร พันธุ์อร่าม, ชรินทร์ มั่งคั่ง, ชญานิตย์ ยิ้มสวัสดิ์, เชษฐภูมิ วรรณไพศาล

Journal of Education Studies

อนาคตวิทยาการศึกษา (educational futurology) เป็นวิทยาการข้ามศาสตร์ (transdisciplinary sciences) ที่มีความสัมพันธ์กับในการจัดการเรียนการสอนเพื่อเตรียมพลเมืองสำหรับการดำรงชีพของมนุษย์ในอนาคต ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับทุกบริบทในสังคมปัจจุบัน การศึกษาที่มุ่งสู่อนาคตเป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้สอนทุกคน เพราะมันช่วยทุกคนได้เรียนรู้การใช้ชีวิตในสังคมที่ซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ช่วยนักเรียนพัฒนามุมมองเชิงอนาคตช่วยให้พวกเขาสามารถจัดการกับความไม่แน่นอนได้ของอนาคตอย่างมีเหตุผล บทความนี้ชี้เห็นความสามารถของการเป็นพลเมือง NEXT เพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต ประกอบด้วย ความครอบคลุม (inclusive) ความรู้ข้อมูล (informed) ความผูกพัน (engaged) ความสมดุล (balanced) และความกระตือรือร้น (alert) ซึ่งความสามารถเหล่านี้ควรจะบรรจุในเครื่องมือที่เสริมสร้างความเป็นพลเมืองเน็กซ์ การนำเสนอเครื่องมือที่จะสามารถดึงความสามารถความเป็นพลเมืองเน็กซ์ในบทความนี้ได้กล่าวถึงเครื่องมืออนาคตวิทยาศึกษาในรูปแบบการพัฒนาระบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์แบบเปิดสำหรับมหาชน (MOOCs) เพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตในศตวรรษที่ 21 เป็นการนำเทคโนโลยีและวิธีการเรียนการสอนสมัยใหม่มาผสมผสาน ผ่านช่องทางออนไลน์เน้นให้เกิดการเข้าถึง (accessibility) ด้วยอินเทอร์เน็ตแบบไม่เสียค่าใช้จ่าย หรือเสียค่าใช้จ่ายน้อยมาก ในฐานะเครื่องมืออนาคตในการเรียนรู้ตลอดชีวิตของพลเมืองเน็กซ์ในยุคชีวิตปกติวิถีถัดไป


กรอบความคิดแบบเติบโต : ทักษะที่จำเป็นแห่งโลกยุคพลิกผัน, ปิยวรรณ วิเศษสุวรรณภูมิ, พิทชยา ตั้งพรไพบูลย์ Jan 2023

กรอบความคิดแบบเติบโต : ทักษะที่จำเป็นแห่งโลกยุคพลิกผัน, ปิยวรรณ วิเศษสุวรรณภูมิ, พิทชยา ตั้งพรไพบูลย์

Journal of Education Studies

การเปลี่ยนแปลงอย่างผันผวนของโลกยุคพลิกผันส่งผลกระทบต่อวงการการศึกษาทั้งในเชิงการบริหารงาน กระบวนการจัดการเรียนรู้ รวมถึงผู้เรียน ผู้เรียนทุกระดับได้รับผลกระทบทั้งด้านการเรียน การดำเนินชีวิตและสุขภาพจิต โลกยุคพลิกผันทำให้ผู้เรียนต้องปรับตัวทั้งในด้านวิธีการเรียนรู้ และการเอาชนะอุปสรรคทางการเรียนและการใช้ชีวิตประจำวัน ผู้เรียนจำนวนมากประสบปัญหาสุขภาพจิตและไม่สามารถปรับตัวได้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเหล่านี้ ความท้าทายของนักการศึกษาคือ จะทำอย่างไรให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่สามารถปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา และมีมุมมองในเชิงบวกกับประสบการณ์ต่าง ๆ ที่ตนเองได้รับ ทั้งประสบการณ์สำเร็จและประสบการณ์ล้มเหลว ดังนั้นการมีกรอบความคิดแบบเติบโตจึงมีความสำคัญมากสำหรับผู้เรียนในยุคปัจจุบัน กรอบความคิดแบบเติบโตช่วยให้ผู้เรียนมองอุปสรรคเป็นความท้าทาย และพยายามพัฒนาตนเอง บทความนี้อภิปรายถึงผลกระทบของโลกยุคพลิกผันต่อผู้เรียน ความสำคัญของกรอบความคิดแบบเติบโตสำหรับผู้เรียนที่อยู่ในสถานการณ์ของโลกยุคพลิกผัน และแนวทางในการพัฒนากรอบความคิดแบบเติบโตสำหรับผู้เรียนเพื่อให้สามารถพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง ปรับตัวและมีสุขภาพจิตที่ดี


ความรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับการสอน : องค์ประกอบและแนวทางการประเมิน, ศันสนีย์ เณรเทียน, จงกล ทำสวน Jan 2023

ความรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับการสอน : องค์ประกอบและแนวทางการประเมิน, ศันสนีย์ เณรเทียน, จงกล ทำสวน

Journal of Education Studies

ความรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับการสอน เป็นความรู้ทางคณิตศาสตร์ที่ใช้ในงานที่เกี่ยวกับการสอน ในบทความนี้จะนำเสนอองค์ประกอบของความรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับการสอน คือ ความรู้ด้านเนื้อหา ความรู้เฉพาะด้านเนื้อหา ความรู้ด้านเนื้อหาในแนวราบ ความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาและนักเรียน ความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาและการสอน และความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาและหลักสูตร ซึ่งจะนำเสนอความหมาย ลักษณะสำคัญของความรู้ และตัวอย่าง ในส่วนของความรู้เฉพาะด้านเนื้อหาที่เป็นความรู้และทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่มีลักษณะเฉพาะสำหรับการสอน จะนำเสนอในลักษณะพฤติกรรมที่ครูแสดงออกผ่านการอธิบายความรู้ทางคณิตศาสตร์ทั้งความรู้เชิงมโนทัศน์และเชิงกระบวนการ การเลือกใช้ตัวแทนความคิดทางคณิตศาสตร์ และการตัดสินความถูกต้องและสมเหตุสมผลของงานทางคณิตศาสตร์ นอกจากนี้ในบทความจะนำเสนอตัวอย่างของคำถามที่ใช้ในการประเมินความรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับการสอนจำแนกตามองค์ประกอบ ซึ่งครูและนักการศึกษาสามารถนำคำถามไปใช้เป็นแนวทางในการประเมินคุณภาพครูคณิตศาสตร์ ตลอดจนการพัฒนาและเตรียมความพร้อมของนักศึกษาครู


การเสริมสร้างคุณลักษณะพลเมืองตื่นรู้ของผู้เรียนโดยการตั้งคำถามแบบโสเครติส, วรินทร สิริพงษ์ณภัทร Jan 2023

การเสริมสร้างคุณลักษณะพลเมืองตื่นรู้ของผู้เรียนโดยการตั้งคำถามแบบโสเครติส, วรินทร สิริพงษ์ณภัทร

Journal of Education Studies

การเสริมสร้างคุณลักษณะพลเมืองตื่นรู้ของผู้เรียนโดยการตั้งคำถามแบบโสเครติส เป็นอีกหนึ่งวิธีการในการพัฒนากระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียนสู่การเป็นพลเมืองตื่นรู้ โดยเน้นกระบวนการถามตอบด้วยประเด็นที่หลากหลายเพื่อให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ และเรียนรู้จากการตอบคำถามจะเสริมสร้างคุณลักษณะความเป็นพลเมืองตื่นรู้จากการตั้งคำถามเชิงวิพากษ์แบบโสเครติส และทฤษฎีการเรียนรู้ที่สอดรับในการจัดการเรียนรู้ การศึกษาพบว่าการตั้งคำถามแบบโสเครติสสามารถแบ่งออกได้เป็น 8 ประเด็นการตั้งคำถามได้แก่ 1) คำถามเพื่อเปิดความคิด 2) คำถามเพื่อให้สร้างความเข้าใจแจ่มชัด 3) คำถามเพื่อขบคิดความแจ่มชัดนั้นให้เกิดเป็นมโนทัศน์ 4) คำถามเพื่อแสวงหาสมมติฐานอื่นหรือก่อให้เกิดสมมติฐาน 5) คำถามเพื่อทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุนสมมติฐานนั้น 6) คำถามเพื่อขยายมุมมองจากสิ่งที่ได้ 7) คำถามเพื่อให้อนุมานพยากรณ์ผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น และ 8) คำถามเพื่อพิสูจน์คำจำกัดความ การสร้างเงื่อนไขให้ผู้เรียนได้คิดอย่างวิจารณญาณในทุกประเด็นคำถาม สามารถเชื่อมโยงกับทฤษฎีการเรียนรู้แบบพุทธพิสัยของบลูม เป็นการสร้างเกราะป้องกันทางปัญญาให้แก่ผู้เรียนจากการขัดเกลาทางสังคม เป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญเพื่อการสร้างสังคมที่น่าอยู่อย่างยั่งยืน


สุขภาพจิตโรงเรียน : แนวทางการส่งเสริมสุขภาพจิตวัยรุ่น, นันทกา สุปรียาพร Jan 2023

สุขภาพจิตโรงเรียน : แนวทางการส่งเสริมสุขภาพจิตวัยรุ่น, นันทกา สุปรียาพร

Journal of Education Studies

การสร้างสุขภาพจิตที่ดีในโรงเรียนโดยการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพจิตให้แก่บุคลากรทางการศึกษา เช่น ผู้บริหารสถานศึกษา ครูประจำชั้น ครูแนะแนว และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องนั้นเป็นส่วนหนึ่งของการป้องกันและส่งเสริม การเกิดปัญหาสุขภาพจิตและช่วยลดการอาการของโรคจิตเวชที่รุนแรงในวัยรุ่นได้ นอกจากนี้การมีความรอบรู้ด้านสุขภาพจิตในโรงเรียนยังสามารถช่วยลดการตีตราในวัยรุ่นที่มีปัญหาสุขภาพจิต และช่วยเพิ่มอัตราการเข้าถึงบริการสุขภาพจิตเพื่อให้ได้รับการช่วยเหลือที่เหมาะสมและทันท่วงที ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพจิตโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (school-based mental health) จึงเป็นที่นิยมในหลายประเทศทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่ขาดแคลนทรัพยากรด้านสุขภาพจิตและข้อจำกัดหลายด้านซึ่งส่งผลให้วัยรุ่นไม่สามารถเข้าถึงบริการด้านสุขภาพจิตได้ ซึ่งการส่งเสริมสุขภาพจิตในโรงเรียนนั้นมีกรอบในการปฏิบัติอยู่ 4 ระดับคือ 1) สร้างลักษณะพื้นฐานของโรงเรียนที่มีวัฒนธรรมและมีสภาพแวดล้อมที่ดีต่อการส่งเสริมสุขภาวะทางจิตที่ดีของวัยรุ่น (school ethos) 2) การพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบ โดยกำหนดโครงสร้างนโยบายที่ชัดเจนในการส่งเสริมและช่วยเหลือนักเรียนที่มีความต้องการด้านสุขภาพจิต (whole-school organisation) 3) ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนคือการส่งเสริม พัฒนา การป้องกันและแก้ปัญหา (pastoral provision) และ 4) การปฏิบัติในห้องเรียนเพื่อการส่งเสริมสุขภาพจิตให้เกิดประสิทธิภาพ (classroom practice)


ผลของการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดสะเต็มศึกษาที่เน้นกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมที่มีต่อสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, จักรกฤต ภุชงค์ประเวศ Jan 2023

ผลของการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดสะเต็มศึกษาที่เน้นกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมที่มีต่อสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, จักรกฤต ภุชงค์ประเวศ

Journal of Education Studies

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นก่อนเรียนและหลังเรียนตามแนวคิดสะเต็มศึกษาที่เน้นกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม 2) ศึกษาสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหลังเรียนตามแนวคิดสะเต็มศึกษาที่เน้นกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสาธิตของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม รวม 42 คน โดยมีวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาที่เน้นกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบทดสอบสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีแบบสองกลุ่มไม่อิสระ ผลการวิจัย พบว่า 1) นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือหลังเรียนโดยภาพรวมและจำแนกตามสมรรถนะย่อยสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือหลังเรียนอยู่ในระดับสูงและมีค่าใกล้เคียงกันในทุกสมรรถนะย่อย


Learning Achievement And Student Satisfaction In The Stem Education Through Professional Learning Community In The Chemistry Class Of Secondary School Students In The Southern Region Of Thailand During Pandemic, Piyasiri Soontornnon Sinchai, Alapha Thongchai, Warunee Hajimasalaeh Jan 2023

Learning Achievement And Student Satisfaction In The Stem Education Through Professional Learning Community In The Chemistry Class Of Secondary School Students In The Southern Region Of Thailand During Pandemic, Piyasiri Soontornnon Sinchai, Alapha Thongchai, Warunee Hajimasalaeh

Journal of Education Studies

The STEM education has not yet been implemented in schools, particularly those in the three southern border provinces. Consequently, the purpose of this research is to study the science learning achievement and satisfaction of students who learned with integrated learning activities based on STEM education designed by using the Professional Learning Community (PLC) method as a professional development tool. Secondary school students from four southern Thai schools who participated in the Science Mathematic Program (SMP) Special Classroom Project from a total of 120 students in those schools, 9 were chosen using a deliberative sampling method. The overall assessment results revealed …