Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Film and Media Studies

Theses/Dissertations

Institution
Keyword
Publication Year
Publication

Articles 1 - 28 of 28

Full-Text Articles in Dramatic Literature, Criticism and Theory

An Ambiguous Hermeneutic: Doubleness In Ingmar Bergman’S Quest For Self, Ingy Aziz Jun 2023

An Ambiguous Hermeneutic: Doubleness In Ingmar Bergman’S Quest For Self, Ingy Aziz

Theses and Dissertations

One of the functions of art in all its forms is to provide the means for self-exploration and, in this way, to enable us to relate cultural representation to the question of meaning. The beauty of cinematic art is that it gives voice to our deepest and most profound concerns and enables us to bridge the gap between personal psychology and public understanding. As interpreters, we do not always unearth the answers that we seek, but we certainly gain more insight through delving into the minds of major filmmakers in the canon of modern cinema. This thesis is on the …


Goodbye? Reflections And Stream Of Consciousness On, Underneath And Around The Creation Of “Hello?”, Leonard Shevel Gurevich Jan 2023

Goodbye? Reflections And Stream Of Consciousness On, Underneath And Around The Creation Of “Hello?”, Leonard Shevel Gurevich

Senior Projects Spring 2023

Senior Project submitted to The Division of Arts of Bard College.


The Faustian Deal: What Is Good And Evil?, Jaclyn Elmquist May 2022

The Faustian Deal: What Is Good And Evil?, Jaclyn Elmquist

English Honors Theses

How is the “deal with the devil” is portrayed in contemporary films? This essay compares how the original Faustian deal informs modern-day portrayals. Thus, I examine how devils were first represented in early works such as The Faustbuch, Mary of Nijmegen, and Goethe’s Faustus. These depictions and their historical context provide the basis for my research. I compare these works to the films, Rosemary’s Baby, Wall Street, and Sweet Smell of Sucess. In the mentioned films, the main characters make deals with a devil or demon for wealth, success, or fame. I explore how the Faustian character of each film …


Methods In Costume And Projection Design For Theatre, Jessica Wallace May 2022

Methods In Costume And Projection Design For Theatre, Jessica Wallace

All Graduate Plan B and other Reports, Spring 1920 to Spring 2023

A report detailing multiple practices for theatre design in costumes and projection. It is focused on playscript analysis, the design process, and the final build of the design for production.


Operatic Mysticisms: Mountains, Deserts, Waterscapes, Andrew Demczuk May 2022

Operatic Mysticisms: Mountains, Deserts, Waterscapes, Andrew Demczuk

Electronic Theses and Dissertations

Operatic Mysticisms: Mountains, Deserts, Waterscapes examines the ways we encounter environments as readers/viewers of operas, literature, film, and sound recordings, and how each medium requires different detail-gathering techniques. Respective to the previously mentioned mediums, Sun & Sea (2017), Mount Analogue (1952), El Mar La Mar (2017), and Energy Field (2010) are analyzed by engaging with environmental media studies and invention. Reflecting the nature of each landscape—summits of mountains, aporias of deserts, and mysteries of waterscapes—an elemental approach is taken in investigating how these spaces may be noticed, internalized, recorded, and traversed by both the artist and viewer. …


She Speaks Her Truth: Black Female Self-Empowerment In African-American Centric Texts, Britt N. Seese Apr 2022

She Speaks Her Truth: Black Female Self-Empowerment In African-American Centric Texts, Britt N. Seese

Master of Arts in English Plan II Graduate Projects

A Master's Portfolio that looks into African-American Women in African-American literature and theatrical works.


Who Lives, Who Dies, Who Tells Your Story? A Marxist Analysis Of "Hamilton" And Its Relationship To The Broadway Economic System, Alana Ritt Apr 2021

Who Lives, Who Dies, Who Tells Your Story? A Marxist Analysis Of "Hamilton" And Its Relationship To The Broadway Economic System, Alana Ritt

Honors Projects

Lin-Manuel Miranda’s mega-hit Hamilton: An American Musical has been both a critical and academic darling since its premiere in 2015. A historical retelling of America’s inception through the eyes of an oft-ignored founding father, the musical weaves together a diverse cast and hip-hop musical stylings in order to tell the story of “America then, as told by America now.” While many critics and scholars alike have praised the musical for putting an exciting and accessible twist to American history, others have argued that the musical is not nearly as “revolutionary” as it claims to be. This essay is designed to …


การศึกษากลวิธีเพื่อเข้าถึง คงอยู่ และออกจากสภาวะทางอารมณ์โศกเศร้า จากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก โดยใช้หลักมหาสติปัฏฐานสูตร : กรณีศึกษา ตัวละคร “คณิตา” ผู้แต่งเดวิด ออร์เบิร์นในบทละครเรื่องบทพิสูจน์ (2543), ชีวารัตน์ กสิบาล Jan 2021

การศึกษากลวิธีเพื่อเข้าถึง คงอยู่ และออกจากสภาวะทางอารมณ์โศกเศร้า จากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก โดยใช้หลักมหาสติปัฏฐานสูตร : กรณีศึกษา ตัวละคร “คณิตา” ผู้แต่งเดวิด ออร์เบิร์นในบทละครเรื่องบทพิสูจน์ (2543), ชีวารัตน์ กสิบาล

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

หลักมหาสติปัฏฐานสูตร คือการเจริญสติโดยมีสติเป็นประธานตามรู้ตามดูสภาวะที่เกิดขึ้นกับตนเองตามความเป็นจริงในปัจจุบันขณะ แบ่งออกเป็น 4 หลักได้แก่ กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน เวทนา-นุปัสสนาสติปัฏฐาน จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน และ ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ผู้วิจัยได้นำหลักธรรมนี้มาปฏิบัติเพื่อหากลวิธีการเข้าถึงสภาวะ คงอยู่ และออกจากสภาวะภายในของตัวละครที่มีลักษณะอารมณ์โศกเศร้าจากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก (Grief and Bereavement) ซึ่งมีสภาวะอารมณ์ที่อ่อนไหวง่าย และมีลักษณะอาการใกล้เคียงโรคทางจิตเวชชนิดไม่รุนแรงมากนัก โดยมีจุดมุ่งหมายในศึกษาการเข้าถึง คงอยู่ และออกจากสภาวะภายในของตัวละครโดยไม่ส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจของนักแสดง งานวิจัยฉบับนี้เป็นงานวิจัยเชิงปฏิบัติ ผู้วิจัยได้ใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากผลการฝึกปฏิบัติตามหลักมหาสติปัฏฐานสูตร, บันทึกการทำงานของผู้วิจัย, ผลการวิเคราะห์จากการรวบรวมข้อมูล และแบบสอบถามจากผู้ชม ผลการศึกษาพบว่า การฝึกปฏิบัติตามหลักมหาสติปัฏฐานสูตรมีความละเอียดและลึกซึ้ง มีวัตถุประสงค์เพื่อบรรลุมรรคผลนิพพานเป็นสำคัญ จึงไม่สามารถปฏิบัติให้เกิดผลสำเร็จอย่างสูงสุดในหลักการได้ แต่ยังคงประโยชน์หลายส่วนที่นักแสดงสามารถทำความเข้าใจ นำมาเริ่มต้นปฏิบัติเพื่อพัฒนาตนเอง และนำมาปรับใช้เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการแสดงของตนได้


กระบวนการกำกับการแสดงเรื่อง เช่า เขา อยู่ ของนฤทธิ์ ปาเฉย ในรูปแบบละครอิมเมอร์ซีฟเฉพาะที่บนพื้นที่ออนไลน์, ภาณุวัฒน์ อินทวัฒน์ Jan 2021

กระบวนการกำกับการแสดงเรื่อง เช่า เขา อยู่ ของนฤทธิ์ ปาเฉย ในรูปแบบละครอิมเมอร์ซีฟเฉพาะที่บนพื้นที่ออนไลน์, ภาณุวัฒน์ อินทวัฒน์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยสร้างสรรค์ชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการสร้างสรรค์การแสดงรูปแบบอิมเมอร์ซีฟเฉพาะที่ และทดลองกำกับการแสดง เรื่อง “เช่า เขา อยู่” ของ นฤทธิ์ ปาเฉย ในรูปแบบละครอิมเมอร์ซีฟเฉพาะที่บนพื้นที่ออนไลน์ ผ่านแอพลิเคชั่น ซูม คลาวด์มีตติ้ง ซึ่งนอกจากจะเป็นการปรับตัวในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 แล้ว ยังเป็นการมุ่งหน้าสู่จักรวาลนฤมิตซึ่งเข้ามามีบทบาทกับวิถีชีวิตมนุษย์มากขึ้น จึงอาจเป็นแนวทางของการสร้างสรรค์ละครเวทีรูปแบบใหม่ในอนาคต ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ และสังเคราะห์เป็นกระบวนการกำกับการแสดงเรื่อง “เช่า เขา อยู่” ซึ่งมุ่งสร้างองค์ประกอบของละครอิมเมอร์ซีฟตามทัศนะของ โรส บิกกิ้น ให้เหมาะสมกับพื้นที่ออนไลน์ดังนี้คือ 1) ปรับพื้นที่และสภาพแวดล้อมที่ตั้งใจจะจัดในอาคารพาณิชย์ร้างแห่งหนึ่งในเยาวราช มาเป็นพื้นที่เสมือนบนแอพลิเคชั่น ซูม คลาวด์ มีตติ้ง 2) สร้างเรื่องเล่าแบบหลากลำดับเรื่องให้ผู้ชมแต่ละคนเลือกลำดับการรับชมได้ด้วยตนเอง และ 3) ออกแบบให้ผู้ชมมีปฏิสัมพันธ์ต่อเรื่องเล่า ต่อผู้ชมด้วยกันเอง และต่อผู้แสดงผ่านกิจกรรมต่าง ๆ จากนั้นจึงนำเสนอต่อผู้ชมทั่วไป ผลการวิจัยบ่งชี้ว่าการสร้างองค์ประกอบทั้ง 3 ของละครอิมเมอร์ซีฟให้สัมพันธ์กันอย่างมีเอกภาพช่วยให้ผู้ชมเชื่อว่าตนเป็นส่วนสำคัญในใจกลางของการแสดง และมีปฏิสัมพันธ์กับเรื่องได้ไม่ต่างจากการจัดแสดงบนพื้นทางกายภาพ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะว่าควรให้มีการสร้างสรรค์ละครอิมเมอร์ซีฟเฉพาะที่บนพื้นที่ออนไลน์ในสื่ออื่นอีก เพื่อค้นหารูปแบบการแสดงออนไลน์ใหม่ ๆ ซึ่งจะช่วยพัฒนาศิลปะการละครให้ก้าวไปในจักรวาลนฤมิตอย่างสร้างสรรค์


Whatever It Takes: Redemption, Individualism, Altruism And The Marvel Cinematic Universe, Rianna Jeanine Robinson Dec 2020

Whatever It Takes: Redemption, Individualism, Altruism And The Marvel Cinematic Universe, Rianna Jeanine Robinson

Morehead State Theses and Dissertations

A thesis presented to the faculty of the Caudill College of Arts, Humanities and Social Sciences at Morehead State University in partial fulfillment of the requirements for the degree of Master of Arts by Rianna Jeanine Robinson on December 14, 2020.


Flaws In My Father | Better Engaging With Trauma, Grief, Loss, And Pain Through Storytelling., Neil Fontano Apr 2020

Flaws In My Father | Better Engaging With Trauma, Grief, Loss, And Pain Through Storytelling., Neil Fontano

Theatre & Dance ETDs

In this essay, I will review my playwriting methodology and growth as an artist during my time as a Dramatic Writing Candidate at the University of New Mexico. I will begin by examining my personal narrative and the initial impulse to apply for and accept a position in the Dramatic Writing Program. I will continue by dissecting my own writing methodology and its numerous influences: a sense of place, character, and time. Further, I will give an explanation of and demonstrate my own methods developed during my second year work on “Thelonius | My Brother’s Keeper.” In addition to academic …


แนวคิดการแสดงข้ามวัฒนธรรมในการสร้างสรรค์ละครชาตรีร่วมสมัย : กรณีศึกษาการกำกับการแสดงเรื่อง พายุพิโรธ, ชาคร ชะม้าย Jan 2020

แนวคิดการแสดงข้ามวัฒนธรรมในการสร้างสรรค์ละครชาตรีร่วมสมัย : กรณีศึกษาการกำกับการแสดงเรื่อง พายุพิโรธ, ชาคร ชะม้าย

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้ศึกษาการกำกับการแสดงละครชาตรีร่วมสมัยเรื่องพายุพิโรธผ่านแนวคิดการแสดงข้ามวัฒนธรรม ผู้วิจัยในฐานะผู้กำกับการแสดง ศึกษาการสร้างสรรค์จากบทละครเรื่องพายุพิโรธ แปลจาก The Tempest ของ วิลเลียม เชกสเปียร์ (William Shakespeare) และละครชาตรี เพื่อค้นหาแก่นความคิดหลัก(Theme) และวิธีการนำเสนอ(Style) ที่สามารถสื่อสารหลัก(Message) จากบทละครควบคู่กับอัตลักษณ์ละครชาตรี เพื่อแสดงให้เห็นว่าการแสดงจากต่างวัฒนธรรมสามารถนำมาสร้างสรรค์ร่วมกันได้ ผู้วิจัยศึกษาแนวคิดการแสดงข้ามวัฒนธรรมและการกำกับการแสดงละครชาตรีร่วมสมัยเพื่อสร้างแนวทางกำกับ ก่อนนำเข้าสู่กระบวนการสร้างและจัดแสดง ผลการศึกษาผู้วิจัยพบว่ากระบวนการกำกับการแสดงด้วยแนวคิดการแสดงข้ามวัฒนธรรมหลักสำคัญคือ การกำหนดแก่นความคิดหลักของผู้กำกับการแสดงที่มีความเป็นสากล(Universality) เพื่อผสานอัตลักษณ์การแสดงจากทั้งสองวัฒนธรรม ทั้งในแง่ความคิดและรูปแบบที่จะส่งผลต่อทุกองค์ประกอบการแสดง ในทุกกระบวนการสร้างสรรค์จะต้องตระหนักถึงการแลกเปลี่ยนระหว่างวัฒนธรรม(Cultural exchange) บนพื้นฐานความเคารพอย่างจริงใจต่ออัตลักษณ์และรากเหง้าวัฒนธรรม(Cultural Source) ส่งผลให้การพิจารณาบริบทสังคมและประเด็นร่วมสมัยของการแสดงนั้น ก็เพื่อมองหาศักยภาพในการสร้างสรรค์ร่วมกันของทั้งสองการแสดง เพื่อให้เกิดนิเวศการแสดงข้ามวัฒนธรรม(Intercultural performative ecology) ที่ผลักดันการปะทะสังสรรค์ร่วมกันอย่างเป็นธรรมชาติ ผู้วิจัยได้ข้อสรุปว่าการกำกับการแสดงละครชาตรีร่วมสมัยเรื่องพายุพิโรธ เริ่มต้นจากวัตถุดิบการแสดง ทั้งบทละครพายุพิโรธและละครชาตรีว่าสร้างแรงบันดาลใจอย่างไรแก่ผู้กำกับในฐานะศิลปิน ซึ่งไม่มีหลักการตายตัว ข้อถกเถียงในประเด็นการรักษาสมดุลระหว่างการอนุรักษ์หรือพัฒนาจึงไม่ควรจะต้องแบ่งแยกประเภทเพราะขึ้นอยู่กับเป้าหมายของศิลปิน แนวคิดการแสดงข้ามวัฒนธรรมจึงเป็นการสร้างการแสดงในกระแส โลกาภิวัตน์ที่ส่งผลให้ศิลปินทั่วทุกพื้นที่สามารถเชื่อมต่อและแลกเปลี่ยนการแสดงจากต่างวัฒนธรรม เพื่อนำมาสร้างสรรค์บนบริบทการแสดงร่วมสมัยที่เปิดโอกาสให้นำเอาอัตลักษณ์การแสดงจากทุกพื้นที่วัฒนธรรมมาใช้สร้างสรรค์ ซึ่งเป็นปรากฏการณ์การแสดงที่ยังคงดำเนินต่อไป


Imaginaire De La Fin, Icônes, Esthétique. (Ir)Représenter La Post-Apocalypse Dans La Bande Dessinée Et Le Cinéma Du Génocide Tutsi., Alain Agnessan Oct 2019

Imaginaire De La Fin, Icônes, Esthétique. (Ir)Représenter La Post-Apocalypse Dans La Bande Dessinée Et Le Cinéma Du Génocide Tutsi., Alain Agnessan

Electronic Thesis and Dissertation Repository

Cette étude sur la bande dessinée et le cinéma du génocide tutsi s’écarte de l’analyse désormais canonique des politiques mémorielles et pratiques testimoniales pour en investir le parti pris post-apocalyptique . Elle s’agence en deux volets, ou, plutôt, en deux lieux de regard. Envisageant l’imaginaire de la fin qui s’est constitué autour du génocide tutsi, le premier volet de l’étude s’attelle à décrire une scène « cross-traumatic » ou transtraumatique, appelée génoscape, sur laquelle la pensée, les images et les discours critiques lient le destin éthique, esthétique et épistémique du génocide tutsi à celui de la Shoah. Cette démarche …


"La Llorona": Evolución, Ideología Y Uso En El Mundo Hispano, Raquel Sáenz-Llano Mar 2019

"La Llorona": Evolución, Ideología Y Uso En El Mundo Hispano, Raquel Sáenz-Llano

LSU Master's Theses

This thesis studies the evolution, ideology and use of the myth of La Llorona through time in the Hispanic World. Considering this myth as one of the most known traditional narratives of the American continent, I begin by providing visual, ethnohistorical and ethnographical insights of weeping in Mesoamerica and South America and the specific mention of a weeping woman in some Spanish chronicles to say how western values were stablished in “the new continent” through this legend. I suggest that during the postcolonialism the legend did not tell anymore about a mother that cries and search a place for their …


การเขียนบทละครเพลงว่าด้วยเรื่องเล่าเกี่ยวกับชีวิตของจิตร ภูมิศักดิ์, นฤทธิ์ ปาเฉย Jan 2019

การเขียนบทละครเพลงว่าด้วยเรื่องเล่าเกี่ยวกับชีวิตของจิตร ภูมิศักดิ์, นฤทธิ์ ปาเฉย

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้ศึกษาวิธีการเขียนบทละครเพลงว่าด้วยเรื่องเล่าเกี่ยวกับชีวิตของจิตร ภูมิศักดิ์ โดยใช้การนำเสนอรูปแบบละครเพลง (musical theatre) และใช้วิธีการนำเสนอแบบหลายโครงเรื่อง (multiple plots) เพื่อแสดงให้เห็นว่าเรื่องเล่าเกี่ยวกับชีวิตของจิตร ภูมิศักดิ์ ถูกผลิตขึ้นและนำไปใช้ด้วยวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน การยึดติดบุคคลต้นแบบที่ผ่านการประกอบสร้างจากเรื่องเล่า อาจทำให้เกิดความแตกแยกทางความคิดในสังคมที่บานปลายสู่การใช้ความรุนแรงได้ ผู้วิจัยศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการผลิตเรื่องเล่า ละครเพลง การเขียนบทละครเพลง การเขียนคำร้องในละครเพลงและวิธีการนำเสนอแบบหลายโครงเรื่อง จากนั้นจึงดำเนินการเขียนบทละครเพลงร่างที่ 1 โดยพัฒนาบทละครเพลงจากการจัดแสดงในรูปแบบการอ่าน (stage reading) แล้วนำความคิดเห็นของผู้ชมมาประมวล เพื่อพัฒนาเป็นบทละครเพลงร่างที่ 2 ก่อนนำเข้าสู่กระบวนการผลิตและจัดแสดงอย่างเต็มรูปแบบ จากการประเมินผลการวิจัยผ่านการจัดแสดงอย่างเต็มรูปแบบ ผู้วิจัยได้ข้อสรุปว่า การนำเสนอด้วยรูปแบบละครเพลงสามารถส่งเสริมการถ่ายทอดประเด็นสำคัญของเรื่องที่เต็มไปด้วยความขัดแย้งทางความคิดในประเด็นทางสังคมและการเมือง ด้วยการยกระดับประสบการณ์ทางอารมณ์ของผู้ชมควบคู่ไปกับการทำงานทางความคิด และการใช้วิธีการนำเสนอแบบหลายโครงเรื่อง โดยออกแบบปฏิสัมพันธ์ของเหตุการณ์บนโครงเรื่องตามวัตถุประสงค์ของบทละครเพลง สามารถกระตุ้นความคิดเชิงวิพากษ์ (critical thinking) ของผู้ชมให้มีต่อเรื่องราวและประเด็นสำคัญของเรื่อง และเผยให้เห็นการประกอบสร้างบุคคลต้นแบบผ่านเรื่องเล่า รวมถึงอิทธิพลชองการสืบทอดอุดมการณ์ทางการเมืองผ่านบุคคลต้นแบบ


Did Hollywood Take Theatre "By Hook Or By Crook?", Catherine S. Wright Dec 2018

Did Hollywood Take Theatre "By Hook Or By Crook?", Catherine S. Wright

MSU Graduate Theses

Hollywood and Theatre have been partners in producing entertainment for over 100 years. The relationship was fruitful for both parties, but Hollywood moguls and playwrights battled over ownership of the work and crafting of its creative nucleus, story and character. Theatre was the dominant entertainment right before the rise of motion pictures. Once Hollywood’s talkies closed the curtain on silent films, playwrights had a high creative worth to movie makers. In the cinema, story and dialogue were essential for its survival and growth. Playwrights were courted by the Hollywood studio heads but were not offered equal partnership as they were …


Literarische Filmsimulation: Heinrich Eduard Jacobs Medienphilosophische Filmästhetik In "Blut Und Zelluloid", Paula Vosse May 2018

Literarische Filmsimulation: Heinrich Eduard Jacobs Medienphilosophische Filmästhetik In "Blut Und Zelluloid", Paula Vosse

Arts & Sciences Electronic Theses and Dissertations

Heinrich Eduard Jacob´s novel Blut und Zelluloid was published in 1929 and therefore mostly reviewed as a critical artwork regarding European film-propaganda before the outbreak of the Second World War. This thesis provides the interested scholar with a different approach: It discusses Jacob´s media-philosophical method to simulate the upcoming medium film in literature. With his implicitly and explicitly organized systems of diverse media, he circumvents constraints of the Paragone-discourse and offers a well-balanced literary construction.

Jacob´s method is compared with Pinthus´ Kinobuch and Pirandello´s Shoot!, while Simmel and Benjamin provide the thesis with a fundament to support Jacob´s theoretical approach. …


การพัฒนาทักษะการแสดงเพื่อสร้างตัวละครผู้หญิงจีน ในการแสดงเรื่อง รายละเอียด ไม่ได้ ร่างกาย อยาก ของชิน วุน ปิง ตามหลักการแสดงของไมเคิล เชคอฟ, กุนทรา ไชยชาญ Jan 2018

การพัฒนาทักษะการแสดงเพื่อสร้างตัวละครผู้หญิงจีน ในการแสดงเรื่อง รายละเอียด ไม่ได้ ร่างกาย อยาก ของชิน วุน ปิง ตามหลักการแสดงของไมเคิล เชคอฟ, กุนทรา ไชยชาญ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยชิ้นนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาและสังเคราะห์การนำหลักการแสดงของไมเคิล เชคอฟมาใช้เพื่อสร้างตัวละคร ผู้หญิงจีนในการแสดงเรื่อง รายละเอียด ไม่ได้ ร่างกาย อยาก โดยมุ่งเน้นไปที่การค้นหาและสร้างความเข้มข้นทางความรู้สึกภายในที่ มีลักษณะซับซ้อน เนื่องจากการหล่อหลอมอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่มีความแตกต่างจากตัวผู้แสดง ผู้วิจัยเริ่มต้นจากการทำงานศึกษาบทละครเพื่อนำมาประกอบการสร้างตัวละคร หลังจากนั้นใช้หลักการแสดงของไมเคิล เชคอฟเป็นหลักในการค้นหา พัฒนาและสร้างสรรค์ตัวละครระหว่างการฝึกซ้อมจนกระทั่งถึงวันนำเสนอผลงาน โดยเก็บรวบรวม ข้อมูลเพื่อนำมาประเมินผลจากการจดบันทึก บันทึกวีดีโอ แบบสอบถาม การเสวนาและบทสัมภาษณ์ผู้ชมและผู้เชี่ยวชาญด้าน ศิลปะการแสดงในวันนำเสนอผลงาน ระหว่างการดำเนินงานผู้วิจัยค้นพบว่าหลักการแสดงของไมเคิล เชคอฟเป็นหลักการแสดงที่ช่วยพัฒนาทักษะการแสดง ของนักแสดงและทำให้นักแสดงตระหนักถึงพลังแห่งจินตนาการ นำไปสู่การทำงานกับตัวละครอย่างสร้างสรรค์และไร้ขีดจำกัด ช่วย ให้นักแสดงสามารถก้าวข้ามข้อจำกัดของตนเองไปสู่การสร้างตัวละครอย่างสร้างสรรค์ จากการประเมินผลการวิจัย ผู้วิจัยพบว่าหลักสำคัญของนักแสดงในการทำงานกับตัวละครที่มีความแตกต่างทาง วัฒนธรรมกับนักแสดง คือ การศึกษาบทละครเพื่อทำความเข้าใจบริบททางสังคม การเมืองและวัฒนธรรมเพื่อสร้างตัวละครให้มี ความสมจริงน่าเชื่อถือ และการศึกษาเทคนิคการแสดงที่เหมาะสมกับนักแสดงและตัวละครเพื่อช่วยให้นักแสดงสามารถเข้าถึง บทบาทของตัวละครได้อย่างสมบูรณ์ สิ่งเหล่านี้จะสามารถทำให้นักแสดงเชื่อมโยงการทำงานกับตัวละครได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ลักษณะตัวละครที่ แสดงออกมีความน่าสนใจ มีลักษณะเฉพาะ และทำให้ผู้ชมสามารถเข้าถึงตัวละครได้ง่าย สามารถสร้างตัวละครได้สอดคล้องกับบท ละครได้อย่างน่าเชื่อถือและสมจริง


การศึกษาวิธีการแสดงในละครเวทีประสาทสัมผัสสำหรับผู้ชมวัยเด็กที่มีภาวะออทิซึม, ชนัตถ์ พงษ์พานิช Jan 2017

การศึกษาวิธีการแสดงในละครเวทีประสาทสัมผัสสำหรับผู้ชมวัยเด็กที่มีภาวะออทิซึม, ชนัตถ์ พงษ์พานิช

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และสังเคราะห์วิธีการแสดงของนักแสดงในละครเวทีประสาทสัมผัสที่เหมาะสมและสามารถเพิ่มปฏิสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างผู้ชมวัยเด็กที่มีภาวะออทิซึมกับนักแสดงได้ เนื่องจากละครลักษณะนี้ยังไม่เคยมีผู้ใดพัฒนามาก่อนในประเทศไทย ผู้วิจัยจึงต้องออกแบบและคิดค้นกระบวนการนำเสนอละครเวทีประสาทสัมผัสก่อน จากนั้นจึงคิดค้น พัฒนาวิธีการแสดงในละครเวทีประสาทสัมผัสขึ้นโดยประยุกต์จากเทคนิคการแสดงแบบด้นสดและแนวทางการบำบัดรักษาแบบซันไรส์ ต่อจากนั้นได้นำวิธีการแสดงที่ได้ออกแบบขึ้นมาใช้ทดลองทำงานกับนักแสดง-กระบวนกร 4 คน จัดแสดงจริงกับผู้ชมกลุ่มตัวอย่างที่มีภาวะออทิซึมจำนวน 10 คน ช่วงอายุ 4 – 18 ปี ละครเวทีประสาทสัมผัสในงานวิจัยชิ้นนี้ชื่อว่า "สวนมีสุข" เป็นละครที่ออกแบบให้ผู้ชมที่มีภาวะออทิซึมมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมที่สัมพันธ์กับเรื่องราวและตัวละครในจินตนาการ บทที่ใช้ในการแสดงดัดแปลงมาจากนิทานภาพเรื่องกบแฮรี่ผู้หิวโหย ประกอบกับการเลือกใช้กิจกรรมละครสร้างสรรค์สำหรับเด็ก ผู้วิจัยได้ปรับเปลี่ยนพื้นที่การแสดงให้เป็นสวนเล็กๆที่มีอยู่ในนิทานภาพ ผู้วิจัยได้สร้างเงื่อนไขและจัดลำดับกิจกรรมให้ผู้ชมกลุ่มตัวอย่างได้ปฏิบัติ เล่นเป็นตัวละคร ร้องเพลง และสำรวจประสาทสัมผัสของตนเองผ่านกิจกรรมต่างๆในโรงละครตามความสนใจ กลุ่มตัวอย่างจะได้ชมละครเวที ความยาว 50 – 60 นาที สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ต่อเนื่อง 4 – 6 สัปดาห์ ในแต่ละสัปดาห์จะพัฒนาเรื่องราวอย่างค่อยเป็นค่อยไป ในการทดลองจัดแสดงแต่ละสัปดาห์ ผู้วิจัยได้นำปัญหาที่พบและการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญมาปรับวิธีการแสดงที่ได้สังเคราะห์ขึ้นให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ผลได้แก่ 1) บันทึกการทำงานของผู้วิจัย 2) บันทึกปฏิสัมพันธ์เชิงบวกของผู้ชมขณะชมการแสดง 3) บทสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ปกครองของกลุ่มตัวอย่าง 4) บทสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญด้านละครบำบัดที่ได้ชมวีดีโอบันทึกภาพการแสดง เมื่อได้พัฒนาและปรับปรุงวิธีการแสดงในแต่ละสัปดาห์แล้ว ผู้วิจัยได้เรียนรู้ว่าการเป็นนักแสดงในละครสำหรับผู้ชมที่มีภาวะออทิซึมนั้น นักแสดงจะต้องเข้าใจวิธีการสื่อสารกับผู้ที่มีภาวะออทิซึม เข้าใจลำดับกิจกรรมต่างๆ และเข้าใจบริบทของผู้ชมเป็นอย่างดี นักแสดงจะต้องมีพลังหรือคลื่นความคิด ความรู้สึกภายในที่เข้มข้นแต่แสดงออกอย่างสงบเพื่อลดการกระตุ้นเร้าผู้ชมและช่วยให้ผู้ชมสามารถจดจ่อกับการแสดงได้ นักแสดงต้องอยู่กับปัจจุบันในขณะแสดงและมีสมาธิในการสื่อสารกับผู้ชมในรายบุคคล นักแสดงจะต้องมองเห็น ได้ยิน และรับรู้ผู้ชมอย่างชัดเจนเพื่อจะสามารถสังเกตการสื่อสารทางกายของผู้ชมและสื่อสารตอบกลับได้อย่างเหมาะสม วิธีการแสดงที่ได้พัฒนาขึ้นทำให้เกิดตัวละครที่ให้อิสระและเป็นมิตรกับผู้ชม สร้างความไว้วางใจและสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้กับผู้ชม ตัวละครจะเป็นแกนนำที่พาผู้ชมไปสู่โลกของจินตนาการอย่างค่อยเป็นค่อยไป ผลการสังเกตปฏิสัมพันธ์ในโรงละครพบว่า ผู้ชมกลุ่มตัวอย่างมีปฏิสัมพันธ์และพัฒนาการทางสังคมที่ดีขึ้นในหลายกรณี จากการสัมภาษณ์ผู้ปกครองพบว่ามีหลายกรณีที่ผู้ชมแสดงสัญญาณของความสุขและความต้องการชมละคร


Stealing Revelation: A Screenplay Of The Thief Accompanied By A Religious Analysis, Jean E. Sleight Jun 2016

Stealing Revelation: A Screenplay Of The Thief Accompanied By A Religious Analysis, Jean E. Sleight

Honors Projects

Megan Whalen Turner’s The Thief follows the story of a thief who seeks to steal an item for fame and glory and to save his country. Though he initially does not believe in the gods, he finds that they exist and are more involved in his life than he would want them to be. The screenplay is a loyal adaptation of the book. The analysis follows the thief’s journey from skepticism to faith and draws a comparison between the gods in the novel and the Christian God.


Behind The Stakes, Between The Lines, Beyond The Pun: A Critical Deconstruction Of Humor In William Shakespeare's A Midsummer Night's Dream, And Other Popular Comedies, Jaime Libby May 2016

Behind The Stakes, Between The Lines, Beyond The Pun: A Critical Deconstruction Of Humor In William Shakespeare's A Midsummer Night's Dream, And Other Popular Comedies, Jaime Libby

Dissertations, Masters Theses, Capstones, and Culminating Projects

Humor is a powerful rhetorical device employed at all levels of human discourse—from casual banter to political debate. Still, despite humor’s global prevalence, its historical transgressiveness, and its distinct potential both to neutralize and critically engage highly fraught issues, humans do not often pause to ask how humor works. And what does its working tell us about our humanness? This thesis explores the operation of humor in literature and performance, using tools provided by structuralist, deconstructive, and postmodern critical arenas, to reveal how humor’s fundamental structures invite humans to entertain new perspectives and practice empathy. The study considers irony, the …


Hamlet #Princeofdenmark: Exploring Gender And Technology Through A Contemporary Feminist Re-Interpretation Of Hamlet, Allegra B. Breedlove Jan 2015

Hamlet #Princeofdenmark: Exploring Gender And Technology Through A Contemporary Feminist Re-Interpretation Of Hamlet, Allegra B. Breedlove

Scripps Senior Theses

Exploring the process of designing, producing, directing and starring in a multimedia feminist re-interpretation of Shakespeare's Hamlet set in a contemporary social media landscape.


Antigone Claimed, "I Am A Stranger": Democracy, Membership And Unauthorized Immigration, Andres Fabian Henao Castro Nov 2014

Antigone Claimed, "I Am A Stranger": Democracy, Membership And Unauthorized Immigration, Andres Fabian Henao Castro

Doctoral Dissertations

My dissertation offers a new framework through which to theorize contemporary democratic practices by attending to the political agency of unauthorized immigrants. I argue that unauthorized immigrants themselves, by claiming their own ambiguous legal condition as a legitimate basis for public speech, are able to open up the boundaries of political membership and to render the foundations of democracy contingent, that is to say, they are able to reopen the question about who counts as a member of the demos. I develop this argument by way of a close reading of Sophocles’ tragedy Antigone[1], which allows me to …


Not Dead At All, Martin Becerra May 2014

Not Dead At All, Martin Becerra

Electronic Theses and Dissertations

Not Dead At All is a nontraditional thesis, a creative product, the result of a combination of media production and social research. This paper is an attempt to explain the creative and production process behind the creation of an original media content, using the social research as a tool to increase the likeability of our characters and therefore increase the show’s chances of success.


The Bollywood Item Number: From Mujra To Modern Day Ramifications, Avantika Saraogi Apr 2013

The Bollywood Item Number: From Mujra To Modern Day Ramifications, Avantika Saraogi

Scripps Senior Theses

This thesis deals with the “item number” genre of Bollywood song and dance sequences. I argue that the item song has evolved from a combination of the historically rich culture of prostitution in old India and the western influence of modern times; and that it contributes highly to the male dominated patriarchal society perpetuated by Hindi films by means of the voyeuristic male gaze and objectification of the female body. In conjunction with this research I choreographed a dance called Item No. 3 that was performed in Scripps Dances 2013. A discussion of the significance and decisions behind the …


The Persistence Of Vengeance From Early Modern England To Postmodern New York, Dominic M. Sevieri May 2012

The Persistence Of Vengeance From Early Modern England To Postmodern New York, Dominic M. Sevieri

University of New Orleans Theses and Dissertations

As a passing glance at the popular texts of any given period reveals, the subject of vengeance is nearly inescapable; on billboards, websites, and year end lists, revenge represents a curious constant even amid disparate media. This study explores the cultural commonalities that align revenge texts of the English Renaissance and exploitation films of late 20th century America. As in-depth inquiry reveals, numerous ideas and narrative tropes popularized during the Early Modern period are pushed to their logical extremes in these films. The central factor that aligns London during the Renaissance and New York at the cusp of the 1990s …


Mediums Change, Fears Stay The Same, Lucy Wilhelms Jan 2012

Mediums Change, Fears Stay The Same, Lucy Wilhelms

Honors Theses

Although generally dismissed by scholars as being overly sentimental or superstitious, the gothic genre has survived for over four centuries and maintained significant cultural appeal, outlasting the sentimental novel and the travelogue as popular literature. What, then, makes this genre different? What is so special about the gothic?

In my thesis, I examine the evolving cultural appeal of the gothic genre that keeps it attractive and relevant for readers by tracing the gothic text, The Woman in Black by Susan Hill, through its initial inception and its subsequent adaptations. As a novel, The Woman in Black both repeats and revises …


A Person Of Interest, Jesse Lepre Aug 2010

A Person Of Interest, Jesse Lepre

Master's Theses, Dissertations, Graduate Research and Major Papers Overview

Presents a drama-based screenplay which explores the stereotyping of the modern Italian-American male in contemporary American society.