Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Articles 1 - 5 of 5

Full-Text Articles in Dramatic Literature, Criticism and Theory

Whatever It Takes: Redemption, Individualism, Altruism And The Marvel Cinematic Universe, Rianna Jeanine Robinson Dec 2020

Whatever It Takes: Redemption, Individualism, Altruism And The Marvel Cinematic Universe, Rianna Jeanine Robinson

Morehead State Theses and Dissertations

A thesis presented to the faculty of the Caudill College of Arts, Humanities and Social Sciences at Morehead State University in partial fulfillment of the requirements for the degree of Master of Arts by Rianna Jeanine Robinson on December 14, 2020.


Much Ado About Contemporary Women: Gender Adapted In Contemporary Settings, Jessica C. Valdes Jul 2020

Much Ado About Contemporary Women: Gender Adapted In Contemporary Settings, Jessica C. Valdes

FIU Electronic Theses and Dissertations

Shakespeare’s Much Ado About Nothing has been reproduced multiple times in a contemporary context. This thesis focuses on two key productions, BBC’s ShakespeaRe-Told televised adaptation and Joss Whedon’s 2013 film and examines how these productions translate the gender themes in the play to a contemporary setting. To study translations of gender, this thesis is focused on the adaptations of Beatrice and Hero, two major female characters of the play. The comparison of these adaptations is accomplished through analyzing the pieces and reviewing existing work. While there are some important differences between the adaptations, the major problems Beatrice and Hero are …


Flaws In My Father | Better Engaging With Trauma, Grief, Loss, And Pain Through Storytelling., Neil Fontano Apr 2020

Flaws In My Father | Better Engaging With Trauma, Grief, Loss, And Pain Through Storytelling., Neil Fontano

Theatre & Dance ETDs

In this essay, I will review my playwriting methodology and growth as an artist during my time as a Dramatic Writing Candidate at the University of New Mexico. I will begin by examining my personal narrative and the initial impulse to apply for and accept a position in the Dramatic Writing Program. I will continue by dissecting my own writing methodology and its numerous influences: a sense of place, character, and time. Further, I will give an explanation of and demonstrate my own methods developed during my second year work on “Thelonius | My Brother’s Keeper.” In addition to academic …


The Many Editions Of The Front Page: How Gender Shapes The Story, Nicole Moore Mar 2020

The Many Editions Of The Front Page: How Gender Shapes The Story, Nicole Moore

Conspectus Borealis

No abstract provided.


แนวคิดการแสดงข้ามวัฒนธรรมในการสร้างสรรค์ละครชาตรีร่วมสมัย : กรณีศึกษาการกำกับการแสดงเรื่อง พายุพิโรธ, ชาคร ชะม้าย Jan 2020

แนวคิดการแสดงข้ามวัฒนธรรมในการสร้างสรรค์ละครชาตรีร่วมสมัย : กรณีศึกษาการกำกับการแสดงเรื่อง พายุพิโรธ, ชาคร ชะม้าย

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้ศึกษาการกำกับการแสดงละครชาตรีร่วมสมัยเรื่องพายุพิโรธผ่านแนวคิดการแสดงข้ามวัฒนธรรม ผู้วิจัยในฐานะผู้กำกับการแสดง ศึกษาการสร้างสรรค์จากบทละครเรื่องพายุพิโรธ แปลจาก The Tempest ของ วิลเลียม เชกสเปียร์ (William Shakespeare) และละครชาตรี เพื่อค้นหาแก่นความคิดหลัก(Theme) และวิธีการนำเสนอ(Style) ที่สามารถสื่อสารหลัก(Message) จากบทละครควบคู่กับอัตลักษณ์ละครชาตรี เพื่อแสดงให้เห็นว่าการแสดงจากต่างวัฒนธรรมสามารถนำมาสร้างสรรค์ร่วมกันได้ ผู้วิจัยศึกษาแนวคิดการแสดงข้ามวัฒนธรรมและการกำกับการแสดงละครชาตรีร่วมสมัยเพื่อสร้างแนวทางกำกับ ก่อนนำเข้าสู่กระบวนการสร้างและจัดแสดง ผลการศึกษาผู้วิจัยพบว่ากระบวนการกำกับการแสดงด้วยแนวคิดการแสดงข้ามวัฒนธรรมหลักสำคัญคือ การกำหนดแก่นความคิดหลักของผู้กำกับการแสดงที่มีความเป็นสากล(Universality) เพื่อผสานอัตลักษณ์การแสดงจากทั้งสองวัฒนธรรม ทั้งในแง่ความคิดและรูปแบบที่จะส่งผลต่อทุกองค์ประกอบการแสดง ในทุกกระบวนการสร้างสรรค์จะต้องตระหนักถึงการแลกเปลี่ยนระหว่างวัฒนธรรม(Cultural exchange) บนพื้นฐานความเคารพอย่างจริงใจต่ออัตลักษณ์และรากเหง้าวัฒนธรรม(Cultural Source) ส่งผลให้การพิจารณาบริบทสังคมและประเด็นร่วมสมัยของการแสดงนั้น ก็เพื่อมองหาศักยภาพในการสร้างสรรค์ร่วมกันของทั้งสองการแสดง เพื่อให้เกิดนิเวศการแสดงข้ามวัฒนธรรม(Intercultural performative ecology) ที่ผลักดันการปะทะสังสรรค์ร่วมกันอย่างเป็นธรรมชาติ ผู้วิจัยได้ข้อสรุปว่าการกำกับการแสดงละครชาตรีร่วมสมัยเรื่องพายุพิโรธ เริ่มต้นจากวัตถุดิบการแสดง ทั้งบทละครพายุพิโรธและละครชาตรีว่าสร้างแรงบันดาลใจอย่างไรแก่ผู้กำกับในฐานะศิลปิน ซึ่งไม่มีหลักการตายตัว ข้อถกเถียงในประเด็นการรักษาสมดุลระหว่างการอนุรักษ์หรือพัฒนาจึงไม่ควรจะต้องแบ่งแยกประเภทเพราะขึ้นอยู่กับเป้าหมายของศิลปิน แนวคิดการแสดงข้ามวัฒนธรรมจึงเป็นการสร้างการแสดงในกระแส โลกาภิวัตน์ที่ส่งผลให้ศิลปินทั่วทุกพื้นที่สามารถเชื่อมต่อและแลกเปลี่ยนการแสดงจากต่างวัฒนธรรม เพื่อนำมาสร้างสรรค์บนบริบทการแสดงร่วมสมัยที่เปิดโอกาสให้นำเอาอัตลักษณ์การแสดงจากทุกพื้นที่วัฒนธรรมมาใช้สร้างสรรค์ ซึ่งเป็นปรากฏการณ์การแสดงที่ยังคงดำเนินต่อไป