Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Articles 1 - 4 of 4

Full-Text Articles in Dramatic Literature, Criticism and Theory

Imaginaire De La Fin, Icônes, Esthétique. (Ir)Représenter La Post-Apocalypse Dans La Bande Dessinée Et Le Cinéma Du Génocide Tutsi., Alain Agnessan Oct 2019

Imaginaire De La Fin, Icônes, Esthétique. (Ir)Représenter La Post-Apocalypse Dans La Bande Dessinée Et Le Cinéma Du Génocide Tutsi., Alain Agnessan

Electronic Thesis and Dissertation Repository

Cette étude sur la bande dessinée et le cinéma du génocide tutsi s’écarte de l’analyse désormais canonique des politiques mémorielles et pratiques testimoniales pour en investir le parti pris post-apocalyptique . Elle s’agence en deux volets, ou, plutôt, en deux lieux de regard. Envisageant l’imaginaire de la fin qui s’est constitué autour du génocide tutsi, le premier volet de l’étude s’attelle à décrire une scène « cross-traumatic » ou transtraumatique, appelée génoscape, sur laquelle la pensée, les images et les discours critiques lient le destin éthique, esthétique et épistémique du génocide tutsi à celui de la Shoah. Cette démarche …


"La Llorona": Evolución, Ideología Y Uso En El Mundo Hispano, Raquel Sáenz-Llano Mar 2019

"La Llorona": Evolución, Ideología Y Uso En El Mundo Hispano, Raquel Sáenz-Llano

LSU Master's Theses

This thesis studies the evolution, ideology and use of the myth of La Llorona through time in the Hispanic World. Considering this myth as one of the most known traditional narratives of the American continent, I begin by providing visual, ethnohistorical and ethnographical insights of weeping in Mesoamerica and South America and the specific mention of a weeping woman in some Spanish chronicles to say how western values were stablished in “the new continent” through this legend. I suggest that during the postcolonialism the legend did not tell anymore about a mother that cries and search a place for their …


Trespassing Physical Boundaries: Transgression, Vulnerability And Resistance In Sarah Kane’S Blasted (1995), Paula Barba Guerrero, Ana Mª Manzanas Calvo Mar 2019

Trespassing Physical Boundaries: Transgression, Vulnerability And Resistance In Sarah Kane’S Blasted (1995), Paula Barba Guerrero, Ana Mª Manzanas Calvo

CLCWeb: Comparative Literature and Culture

Sarah Kane’s Blasted has been analyzed from various perspectives that address the layers of destruction it exposes. From the questioning of its title and meaning, to the unravelling of the protagonists’ abusive relationship, the analyses have emphasized the depiction of vulnerability as the defining human trait that Jean Ganteau observes in contemporary British literature. However, a key aspect has been overlooked in the critical response to the play: for Kane vulnerability does not equal helplessness, but rather stands in opposition to it. Hence, this article concentrates on how Blasted formulates a new understanding of vulnerability that fits Judith Butler’s later …


การเขียนบทละครเพลงว่าด้วยเรื่องเล่าเกี่ยวกับชีวิตของจิตร ภูมิศักดิ์, นฤทธิ์ ปาเฉย Jan 2019

การเขียนบทละครเพลงว่าด้วยเรื่องเล่าเกี่ยวกับชีวิตของจิตร ภูมิศักดิ์, นฤทธิ์ ปาเฉย

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้ศึกษาวิธีการเขียนบทละครเพลงว่าด้วยเรื่องเล่าเกี่ยวกับชีวิตของจิตร ภูมิศักดิ์ โดยใช้การนำเสนอรูปแบบละครเพลง (musical theatre) และใช้วิธีการนำเสนอแบบหลายโครงเรื่อง (multiple plots) เพื่อแสดงให้เห็นว่าเรื่องเล่าเกี่ยวกับชีวิตของจิตร ภูมิศักดิ์ ถูกผลิตขึ้นและนำไปใช้ด้วยวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน การยึดติดบุคคลต้นแบบที่ผ่านการประกอบสร้างจากเรื่องเล่า อาจทำให้เกิดความแตกแยกทางความคิดในสังคมที่บานปลายสู่การใช้ความรุนแรงได้ ผู้วิจัยศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการผลิตเรื่องเล่า ละครเพลง การเขียนบทละครเพลง การเขียนคำร้องในละครเพลงและวิธีการนำเสนอแบบหลายโครงเรื่อง จากนั้นจึงดำเนินการเขียนบทละครเพลงร่างที่ 1 โดยพัฒนาบทละครเพลงจากการจัดแสดงในรูปแบบการอ่าน (stage reading) แล้วนำความคิดเห็นของผู้ชมมาประมวล เพื่อพัฒนาเป็นบทละครเพลงร่างที่ 2 ก่อนนำเข้าสู่กระบวนการผลิตและจัดแสดงอย่างเต็มรูปแบบ จากการประเมินผลการวิจัยผ่านการจัดแสดงอย่างเต็มรูปแบบ ผู้วิจัยได้ข้อสรุปว่า การนำเสนอด้วยรูปแบบละครเพลงสามารถส่งเสริมการถ่ายทอดประเด็นสำคัญของเรื่องที่เต็มไปด้วยความขัดแย้งทางความคิดในประเด็นทางสังคมและการเมือง ด้วยการยกระดับประสบการณ์ทางอารมณ์ของผู้ชมควบคู่ไปกับการทำงานทางความคิด และการใช้วิธีการนำเสนอแบบหลายโครงเรื่อง โดยออกแบบปฏิสัมพันธ์ของเหตุการณ์บนโครงเรื่องตามวัตถุประสงค์ของบทละครเพลง สามารถกระตุ้นความคิดเชิงวิพากษ์ (critical thinking) ของผู้ชมให้มีต่อเรื่องราวและประเด็นสำคัญของเรื่อง และเผยให้เห็นการประกอบสร้างบุคคลต้นแบบผ่านเรื่องเล่า รวมถึงอิทธิพลชองการสืบทอดอุดมการณ์ทางการเมืองผ่านบุคคลต้นแบบ