Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

2018

Theses/Dissertations

Discipline
Institution
Keyword
Publication
File Type

Articles 181 - 200 of 200

Full-Text Articles in Construction Engineering and Management

การสำรวจโครงสร้างจุลภาคและพฤติกรรมกำลังของดินเหนียวบวมตัวที่ปรับปรุงด้วยปูนขาวและซีเมนต์, สุวิจักขณ์ สิทธิอวิรุทธ์ Jan 2018

การสำรวจโครงสร้างจุลภาคและพฤติกรรมกำลังของดินเหนียวบวมตัวที่ปรับปรุงด้วยปูนขาวและซีเมนต์, สุวิจักขณ์ สิทธิอวิรุทธ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ดินเหนียวบวมตัวถือว่าเป็นดินที่ก่อให้เกิดปัญหาในงานวิศวกรรมเป็นอย่างมาก เนื่องมาจากดินชนิดนี้มีค่าการบวมตัวสูงส่งผลให้เกิดการแตกร้าวเสียหายต่อชั้นผิวทางและฐานรากอาคาร งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาการปรับปรุงคุณภาพของดินเหนียวแม่เมาะซึ่งเป็นดินบวมตัวธรรมชาติด้วยปูนขาวและปูนซีเมนต์ เพื่อนำมาใช้เป็นวัสดุในงานทาง โดยจะศึกษาคุณสมบัติทางด้านกำลังและการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างทางจุลภาคของดินเหนียวที่ถูกปรับปรุงคุณภาพนี้ ดินเหนียวแม่เมาะถูกนำมาทดสอบคุณสมบัติพื้นฐานเบื้องต้นเป็นลำดับแรก หลังจากนั้นทำการปรับปรุงคุณภาพดินเหนียวโดยการเพิ่มเสถียรภาพด้วยปูนขาวและปูนซีเมนต์ที่อัตราส่วนผสม 6 8 10 และ 12% ตัวอย่างดินแต่ละส่วนผสมจะถูกนำมาทดสอบหาค่ากำลังรับแรงอัดแกนเดี่ยว ค่าซีบีอาร์ (CBR) ค่าโมดูลัสคืนตัว และค่าความเร็วคลื่นที่เดินทางผ่านตัวอย่างดินด้วยการทดสอบด้วยวิธีการสั่นพ้องปลายอิสระ (Free-free resonant method) ผลการทดสอบดินเหนียวที่ปรับปรุงคุณภาพด้วยสารผสมเพิ่มพบว่าค่ากำลังรับแรงอัดแกนเดี่ยวและค่าซีบีอาร์มีการพัฒนากำลังเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่าตามระยะเวลาบ่มที่แตกต่างกัน ค่ากำลังรับแรงของดินตัวอย่างที่ปรับปรุงคุณภาพด้วยปูนซีเมนต์มีค่ามากกว่าการปรับปรุงคุณภาพด้วยปูนขาว ในขณะเดียวกันการปรับปรุงคุณภาพด้วยปูนขาวสามารถลดการบวมตัวได้ดีกว่าการปรับปรุงคุณภาพด้วยปูนซีเมนต์ จากผลการทดสอบยังสังเกตเห็นว่าค่าความเค้นเบี่ยงเบนและความเค้นรอบข้างมีอิทธิพลอย่างมากต่อค่าโมดูลัสคืนตัวของดินเหนียวที่ปรับปรุงด้วยสารเคมี เมื่อทำการหาความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นเบี่ยงเบนและค่าโมดูลัสยืดหยุ่นพบว่าเมื่อค่าความเบี่ยงเบนเพิ่มมากขึ้นส่งผลให้ค่าโมดูลัสยืดหยุ่นมีค่าลดลง การหาความเร็วคลื่นในดินด้วยการทดสอบด้วยวิธีการสั่นพ้องปลายอิสระพบว่า ค่าความเร็วคลื่นปฐมภูมิ (P-wave) และคลื่นทุติยภูมิ (S-wave) ที่วัดจากตัวอย่างดินเหนียวที่ปรับปรุงคุณภาพด้วยปูนซีเมนต์มีค่าเพิ่มขึ้นทีละน้อยตามระยะเวลาบ่ม ในทางกลับกันพบว่าค่าความเร็วคลื่นที่วัดจากตัวอย่างที่ปรับปรุงคุณภาพด้วยปูนขาวมีค่าลดลงหลังจากระยะเวลาบ่ม 28 วัน งานวิจัยสังเกตการเปลี่ยนโครงสร้างทางจุลภาคของดินเหนียวก่อนและหลังปรับปรุงด้วยสารเคมี ด้วยภาพถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (SEM) และเครื่องวิเคราะห์ตัวอย่างโดยเทคนิคการเรืองรังสีเอกซ์ (XRF) และเทคนิคการเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ (XRD) โดยผลการทดสอบพบว่าการปรับปรุงคุณภาพด้วยปูนขาวและปูนซีเมนต์จะก่อให้เกิดปฏิกิริยาไฮเดรชันและปอซโซลานิก ซึ่งทั้งสองปฏิกิริยานี้จะทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ของแคลเซียมซิลิเกตไฮเดรต (CSH) และเอททริงไกต์ (Et) ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์หลักที่มีส่วนช่วยในการพัฒนากำลังและลดการบวมตัวของดินเหนียวที่ถูกปรับปรุงคุณภาพด้วยปูนขาวและปูนซีเมนต์


การประเมินกำลังของเสาวัสดุผสมโดยใช้ฐานข้อมูลการทดสอบ, วรพล ฮ้อแสงชัย Jan 2018

การประเมินกำลังของเสาวัสดุผสมโดยใช้ฐานข้อมูลการทดสอบ, วรพล ฮ้อแสงชัย

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้นำเสนอการประเมินสมการทำนายกำลังของเสาวัสดุผสมตามข้อกำหนด AISC 360-16 และมาตรฐาน Eurocode 4 โดยได้รวบรวมข้อมูลผลการทดสอบเสาวัสดุผสมจากงานวิจัยในอดีตตั้งแต่ปี ค.ศ. 1970 ถึง ปัจจุบัน เพื่อสร้างฐานข้อมูลการทดสอบเสาวัสดุผสม และได้ใช้ข้อมูลผลการทดสอบจำนวน 76 426 และ 347 ตัวอย่าง ในการประเมินความแม่นยำและความปลอดภัยของสมการทำนายกำลังสำหรับเสาเหล็กหุ้มด้วยคอนกรีต เสาท่อเหล็กเติมด้วยคอนกรีตหน้าตัดกลมและหน้าตัดสี่เหลี่ยม ตามลำดับ โดยพบว่า สมการทำนายกำลังตามข้อกำหนด AISC 360-16 สามารถทำนายกำลังของเสาเหล็กหุ้มด้วยคอนกรีตและเสาท่อเหล็กเติมด้วยคอนกรีตภายใต้แรงอัดกระทำตรงศูนย์ได้อย่างปลอดภัย แม้ว่ากำลังของวัสดุที่ใช้จะสูงกว่าขอบเขตกำลังของวัสดุที่ระบุไว้ในข้อกำหนด ในขณะที่ สมการทำนายกำลังตามมาตรฐาน Eurocode 4 ทำนายกำลังสูงกว่าผลการทดสอบบางตัวอย่างสำหรับเสาเหล็กหุ้มด้วยคอนกรีตและเสาท่อเหล็กเติมด้วยคอนกรีตหน้าตัดสี่เหลี่ยมที่ใช้เหล็กรูปพรรณที่มีหน่วยแรงครากสูงกว่าขอบเขตที่ระบุไว้ในมาตรฐาน นอกจากนี้ ฐานข้อมูลการทดสอบได้ถูกใช้ในการวิเคราะห์การถดถอยเชิงสัญลักษณ์เพื่อศึกษาผลกระทบของขนาดเสาต่อหน่วยแรงอัดสูงสุดของเสาท่อเหล็กเติมด้วยคอนกรีตหน้าตัดกลม โดยพบว่า ผลกระทบของขนาดเสาต่อหน่วยแรงอัดสูงสุด ขึ้นอยู่กับขนาดของท่อเหล็ก อัตราส่วนเหล็กรูปพรรณ และกำลังอัดของคอนกรีต งานวิจัยนี้ยังได้นำเสนอแนวทางในการสร้างเส้นโค้งปฏิสัมพันธ์กำลังของเสาวัสดุผสมในรูปแบบไร้หน่วยจากผลการวิเคราะห์การถดถอยเชิงสัญลักษณ์สำหรับช่วยในการวิเคราะห์และออกแบบเสาท่อเหล็กเติมด้วยคอนกรีตหน้าตัดกลม โดยมีลักษณะเช่นเดียวกับเส้นโค้งปฏิสัมพันธ์รูปแบบไร้หน่วยสำหรับเสาคอนกรีตเสริมเหล็กภายใต้แรงในแนวแกนและแรงดัดกระทำร่วมกัน


พฤติกรรมของเสาท่อเหล็กเติมด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กรูปพรรณรับแรงกระทำเยื้องศูนย์, รณพีร์ รุ่งมงคลรัตน์ Jan 2018

พฤติกรรมของเสาท่อเหล็กเติมด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กรูปพรรณรับแรงกระทำเยื้องศูนย์, รณพีร์ รุ่งมงคลรัตน์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

วิทยานิพนธ์นี้ศึกษาพฤติกรรมของเสาท่อเหล็กเติมด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กรูปพรรณรับแรงกระทำเยื้องศูนย์ รูปแบบการทดสอบประกอบด้วย เสารับแรงกระทำตรงศูนย์ เสารับแรงกระทำเยื้องศูนย์ และคานรับแรงดัด หน้าตัดท่อสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 150x150 มิลลิเมตร เติมด้วยคอนกรีตที่มีกำลังรับแรงอัดประลัยเฉลี่ยเท่ากับ 22.5 เมกะปาสคาล ที่เสริมด้วยเหล็กรูปพรรณรูปตัวเอช (H) ขนาด 100x9.30 กิโลกรัมต่อเมตร เสามีความสูง 450 มิลลิเมตร และคานมีความยาว 1500 มิลลิเมตร ตัวแปรทดสอบที่ศึกษาได้แก่ ระยะเยื้องศูนย์ (0, 15 และ 30 มิลลิเมตร) และการติดตั้งหรือไม่ติดตั้งสลักรับแรงเฉือน จากการทดสอบพบว่า (1) เสาจะมีกำลังรับแรงอัดมากที่สุดเมื่อแรงกระทำตรงศูนย์ โดยกำลังรับแรงอัดจะลดลงเมื่อแรงกระทำห่างจากจุดศูนย์ถ่วงของหน้าตัดมากขึ้น (2) การติดตั้งสลักรับแรงเฉือนช่วยเพิ่มกำลังรับแรงอัด ให้สาท่อเหล็กเติมด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กรูปพรรณ และช่วยเพิ่มความต้านทานการโก่งเดาะเฉพาะที่ของตัวอย่างที่รับแรงกระทำเยื้องศูนย์ (3) เสาท่อเหล็กเติมด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กรูปพรรณมีกำลังรับแรงอัดมากกว่าผลรวมของกำลังรับแรงอัดจากท่อเหล็ก เหล็กรูปพรรณ และคอนกรีต ที่มีขนาดและวัสดุเดียวกัน และมากกว่าผลรวมของกำลังรับแรงอัดจากเสาท่อเหล็กเติมด้วยคอนกรีตและเหล็กรูปพรรณ เนื่องจากพฤติกรรมเชิงประกอบของวัสดุ และคอนกรีตถูกโอบรัดโดยเสาท่อเหล็กและท่อเหล็ก ศึกษาสมการเส้นโค้งปฏิสัมพันธ์กำลังรับแรงอัดและแรงดัดจากข้อกำหนด AISC360-16และมาตรฐาน Eurocode4 พบว่าการประยุกต์ใช้สูตรการคำนวณจากข้อกำหนด AISC 360-16 และมาตรฐาน Eurocode4 ใกล้เคียงกับผลการทดสอบ โดยทำนายค่ากำลังรับแรงกระทำตรงศูนย์ไว้สูงกว่าผลการทดสอบ แต่ทำนายค่ากำลังรับแรงกระทำเยื้องศูนย์และแรงดัดต่ำกว่าผลการทดสอบ


พฤติกรรมการยึดเหนี่ยวระหว่างแผ่นพอลิเมอร์เสริมเส้นใยคาร์บอนและคอนกรีตโดยใช้อีพอกซีเสริมท่อนาโนคาร์บอน, อมเรศ มธุรส Jan 2018

พฤติกรรมการยึดเหนี่ยวระหว่างแผ่นพอลิเมอร์เสริมเส้นใยคาร์บอนและคอนกรีตโดยใช้อีพอกซีเสริมท่อนาโนคาร์บอน, อมเรศ มธุรส

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการยึดเหนี่ยวระหว่างแผ่นพอลิเมอร์เสริมเส้นใยคาร์บอน (CFRP) และคอนกรีตโดยใช้อีพอกซีเสริมท่อนาโนคาร์บอน (CNTs) โดยมีตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา คือประเภทของท่อนาโนคาร์บอน ประกอบด้วย แบบผนังชั้นเดียว (SWCNTs) และแบบผนังหลายชั้น (MWCNTs) ปริมาณของท่อนาโนคาร์บอนที่ปริมาณ 0.25, 0.50, 1.00 และ 2.00% ของปริมาณอีพอกซี และประเภทของอีพอกซี ประกอบด้วยอีพอกซีชนิดค่าความหนาแน่นเท่ากับ 1.30 และ 1.65 กิโลกรัมต่อลิตร ผลการศึกษาพบว่าพลังงานการต้านทานการแตกหักที่ผิวสัมผัสและหน่วยแรงยึดเหนี่ยวสูงสุดมีค่าเพิ่มขึ้นสูงสุด 51.11% และ 56.47% ตามลำดับ เมื่อใช้ SWCNTs ที่ 1.00% ของปริมาณอีพอกซีในอีพอกซีค่าความหนาแน่น 1.30 กิโลกรัมต่อลิตร อย่างไรก็ตามการใช้ SWCNTs และ MWCNTs เสริมอีพอกซีที่ความหนาแน่น 1.65 กิโลกรัมต่อลิตร มีแนวโน้มให้พลังงานการต้านทานการแตกหักที่ผิวสัมผัส หน่วยแรงยึดเหนี่ยวสูงสุด รวมถึงค่าการเลื่อนไถลสูงสุดที่ลดลง สำหรับรูปแบบการหลุดล่อนโดยส่วนใหญ่มีการแยกตัวที่วัสดุประสานและคอนกรีต ทั้งนี้การใช้อีพอกซีที่ความหนาแน่น 1.65 กิโลกรัมต่อลิตร โดยการใช้อีพอกซีเสริม SWCNTs ที่ปริมาณ 0.25% ของปริมาณอีพอกซี มีการหลุดล่อนจากการสูญเสียการยึดเหนี่ยวของวัสดุเชื่อมประสาน และการใช้ MWCNTs 0.25% ของปริมาณอีพอกซีมีการหลุดล่อนจากการแตกหักของคอนกรีต จากการตรวจสอบการยึดเหนี่ยวภายในชั้นของอีพอกซีและการยึดเหนี่ยวของอีพอกซีกับ CFRP ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบสแกน พบว่าให้ผลสอดคล้องกับผลของหน่วยแรงยึดเหนี่ยวสูงสุด โดยผลของชุดทดสอบที่มีหน่วยแรงยึดเหนี่ยวสูง มีลักษณะการยึดเกาะหรือการรวมตัวของอีพอกซีที่ดีและช่องว่างของอีพอกซีน้อย จึงแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของท่อนาโนคาร์บอนที่มีการปรับปรุงคุณสมบัติของอีพอกซี


Development Of Causal Relationship Model Of Knowledge Sharing In Construction Projects, Lambada Roeun Jan 2018

Development Of Causal Relationship Model Of Knowledge Sharing In Construction Projects, Lambada Roeun

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Knowledge sharing among construction project members is very crucial for improving project success and project performance. It can also reduce mistakes in the construction process. Project management has been growing more complicated, and project members need to learn best practice from others. Currently, knowledge sharing is not well performed yet; especially, few research studies have been focused on the relationship evaluation of supporting factors that affect knowledge sharing from different contexts in construction projects. Therefore, this study aims to develop the causal relationship model of supporting factors from psychological, individual, organizational, and technological factors that affect mediators – knowledge sharing …


Development Of Causal Relationship Model Of Knowledge Sharing In Construction Projects, Lambada Roeun Jan 2018

Development Of Causal Relationship Model Of Knowledge Sharing In Construction Projects, Lambada Roeun

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Knowledge sharing among construction project members is very crucial for improving project success and project performance. It can also reduce mistakes in the construction process. Project management has been growing more complicated, and project members need to learn best practice from others. Currently, knowledge sharing is not well performed yet; especially, few research studies have been focused on the relationship evaluation of supporting factors that affect knowledge sharing from different contexts in construction projects. Therefore, this study aims to develop the causal relationship model of supporting factors from psychological, individual, organizational, and technological factors that affect mediators – knowledge sharing …


Sbfe Analysis Of Layered Elastic Media With Consideration Of Surface Energy Effect, Chantha Chhuon Jan 2018

Sbfe Analysis Of Layered Elastic Media With Consideration Of Surface Energy Effect, Chantha Chhuon

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

This thesis presents an efficient and accurate numerical technique for determining mechanical response of a two-dimensional, infinite, elastic, layered medium under arbitrary surface loading and surface stress effects. Governing equations of a generic bulk layer are formulated from the classical linear elasticity theory via a SBFE technique whereas those of the generic material surface are obtained from a full version of Gurtin-Murdoch surface elasticity theory. The formulation is established sufficiently general allowing both homogenous and functionally graded bulk materials to be treated for each layer. By enforcing the continuity at the interface of the material surface and the bulk, it …


Risk Management Of Public-Private Partnership (Ppp) Infrastructure Projects In Laos, Siamphone Maneevong Jan 2018

Risk Management Of Public-Private Partnership (Ppp) Infrastructure Projects In Laos, Siamphone Maneevong

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Public-private partnership (PPP) is a popular option of project delivery and contractual scheme between the public and private sectors public infrastructure projects. Many factors contribute to the success of PPP projects, most of which are country-specific. Since Laos has recently adopted PPP for several infrastructure projects, all stakeholders must understand the critical risks that influence the performance of PPP projects. In this research, we identify, evaluate and rank the critical risk factors and risk categories that affect the PPP project development of in Laos. The questionnaire survey and In-depth interviews were used to gather information from nine respondents, who represent …


Roofing Practices And Fall Prevention In The Construction Industry, Hadi A. Shishtar Jan 2018

Roofing Practices And Fall Prevention In The Construction Industry, Hadi A. Shishtar

Graduate Theses, Dissertations, and Problem Reports

Roofing is an important profession in the construction industry yet there is a lack of understanding of its safeness. It is generally believed that roofing is an occupation that can be easily practiced by anyone. However, there are many key factors that are associated with roofing, which may impact the lives of roofers who often face major risks at work. According to the Occupational Safety and Health Administration (OSHA), roofing is one of the leading causes of falling deaths among construction workers. The Bureau of labor statistics has reported that roofers are highly exposed to non-fatal injuries. They have also …


Tire-Derived Geo-Cylinders And Polymer Products For Enhancing The Properties Of Base/Sub Base Materials In Pavement Systems, Justin Scott Smith Jan 2018

Tire-Derived Geo-Cylinders And Polymer Products For Enhancing The Properties Of Base/Sub Base Materials In Pavement Systems, Justin Scott Smith

Graduate Theses, Dissertations, and Problem Reports

As a critical part of the transportation network, pavements offer a safe means for vehicular traffic. Pavements are subjected to many forms of stress during their service life, and they are susceptible to environment related cracking and failures. Failures can be attributed to poor subgrade, freeze-thaw variations, and fatigue under repetitive axle loadings. Reinforcement products such as tire-derived geo-cylinders (TDGC) which make-up mechanical concrete and geo-polymers have been utilized in civil engineering practice, and this research aims to understand the potential life of tested pavement system components set at displacement limitations when reinforced with TDGCs and geo-polymers from exposure to …


Basic Highway Workzone Safety, Collin Shamberger Jan 2018

Basic Highway Workzone Safety, Collin Shamberger

Williams Honors College, Honors Research Projects

The purpose of this essay will be to examine, and provide information detailing work zone safety practices, and maximizing safety in construction zones. This report will examine the functionality of components of a work zone and how they work together, the use of standard construction drawings of work zones, personal protective equipment of workers, possible hazards of work zones, minimizing risks and ultimately work zone safety training. Also this report will provide a spreadsheet which can be used to calculate and layout a construction work zone based on a GPS location.


Estudio De La Factibilidad Para Vivienda De Interés Social En El Área Rural Del Municipio De Ubaque Cundinamarca, Maria Fernanda Ariza Suarez, Jessica Paola Acero Linares Jan 2018

Estudio De La Factibilidad Para Vivienda De Interés Social En El Área Rural Del Municipio De Ubaque Cundinamarca, Maria Fernanda Ariza Suarez, Jessica Paola Acero Linares

Ingeniería Civil

El proyecto consistió en determinar la factibilidad para construir vivienda de interés social en el área rural del municipio de ubaque Cundinamarca, en la vereda CENTRO AFUERA. Este trabajo se inició con un estudio de pre inversión, el cual consta de cuatro etapas: idea, perfil, pre factibilidad y factibilidad; en cada una de ellas se expusieron las ventajas y desventajas desde el punto de vista técnico, ambiental, social, económico y financiero, llevando cada estudio al nivel de detalle según el ciclo de vida del proyecto. Se inició con un estudio de mercado determinando la oferta y la demanda en el …


Noise Induced Hearing Loss Accountability On Jobsites Within The Construction Industry, Joseph O. Lamphere Jan 2018

Noise Induced Hearing Loss Accountability On Jobsites Within The Construction Industry, Joseph O. Lamphere

Construction Management

Noise induced hearing loss is a major issue on jobsites within the construction industry. Every day workers are exposed to hazardous levels of noise, but they are not being properly managed to mitigate this issue. Workers have misconceptions about the topic, but more surprisingly are sometimes indifferent to the effects; believing hearing loss is inevitable, or it can be cured with a hearing aide. Construction has inherent dangers that workers have to deal with every day. Hearing loss might not be on the top of their lists, but the effects are permanent, and they cannot be cured with a hearing …


A Bim-Database-Integrated System For Evaluating Building Life-Cycle Costs Using A Multi-Parametric Model, Hang Thi Thu Le Jan 2018

A Bim-Database-Integrated System For Evaluating Building Life-Cycle Costs Using A Multi-Parametric Model, Hang Thi Thu Le

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Life-cycle cost analysis (LCCA) has become an essential requirement of the sustainable procurement for many construction projects. Conventional building LCCA methods are extremely complex and time-consuming due to repetitive works, numerous required data, scattered data inputs, and various regulatory requirements, which subsequently lead to inaccurate building life-cycle costs (LCC). Building information modeling (BIM) offers a revolutionary information technology, which can overcome the asperities of the conventional building LCCA. This research develops the BIM-database-integrated system for evaluating building life-cycle costs using a multi-parametric model (BIM-BLCC). The BIM-BLCC consists of four interrelated modules. The relational database management module collects and organizes the …


Methodology For Load Rating Double-Tee Girder Bridges, Sandip Rimal Jan 2018

Methodology For Load Rating Double-Tee Girder Bridges, Sandip Rimal

Electronic Theses and Dissertations

The most common type of bridge on South Dakota (SD) local roads is precast prestressed double-tee (DT) girders. More than 700 DT bridges are currently in-service in SD. Structural detailing, aging, traffic volume, and environmental conditions affect the structural performance, integrity, and capacity of DT bridges. When a bridge is affected by one or more of the aforementioned parameters, the estimation of the bridge safe live loads is necessary to ensure the safety of the traveling public and to prevent excessive bridge damage and collapse. Load rating of damaged bridges is challenging mainly because of a lack of information regarding …


การวิเคราะห์ชั้นดินโดยการวิเคราะห์คลื่นผิวดินหลายโหมดแบบย้อนกลับ, ถิรวัฒน์ ซิ้มเล่มกิม Jan 2018

การวิเคราะห์ชั้นดินโดยการวิเคราะห์คลื่นผิวดินหลายโหมดแบบย้อนกลับ, ถิรวัฒน์ ซิ้มเล่มกิม

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้ได้เสนอวิธีการสำรวจชั้นดินด้วยวิธีการตรวจวัดคลื่นผิวดินแบบพาสซีฟแบบใหม่ใช้ชื่อว่า Power of Phase (POP) และการวิเคราะห์แบบย้อนกลับที่คำนึงถึงผลการสั่นไหวของโหมดที่สูงขึ้นของคลื่นผิวดิน การสร้างเส้นโค้งการกระจายของความเร็วคลื่นเฉือนด้วยวิธีการใหม่นี้ไม่จำเป็นต้องหารากของสมการเบสเซลจึงไม่จำเป็นต้องใช้ปริพันธ์เชิงเส้นรอบรูปวงกลมที่มีสมมติฐานว่าทุกจุดบนเส้นรอบรูปวงกลมต้องหาค่าได้ หรือในทางปฏิบัติคือ จำเป็นต้องมีจีโอโฟนเพื่อวัดการเคลื่อนที่ของผิวดินทุกจุดบนเส้นรอบรูปวงกลมเหมือนวิธีการที่ได้รับความนิยมในอดีต เช่น SPAC และ CCA เป็นต้น โดยหลักการการสร้างเส้นโค้งการกระจายด้วยวิธี POP คือการหาความสัมพันธ์ของเฟสของคลื่นผิวดินที่ได้จากการตรวจวัด จึงเป็นผลให้เส้นโค้งการกระจายที่คำนวณได้มีความซับซ้อนในการวิเคราะห์น้อยลงและมีความถูกต้องมากขึ้นในงานวิจัยนี้ผู้วิจัยยังได้พัฒนาวิธีการวิเคราะห์แบบย้อนกลับที่คำนึงถึงผลของการสั่นไหวในโหมดที่สูงขึ้นของคลื่นผิวดิน ซึ่งทำให้สามารถวิเคราะห์ชั้นดินที่ความเร็วคลื่นเฉือนไม่ได้เพิ่มขึ้นตามความลึก ทั้งนี้ผู้วิจัยได้ทำการทวนสอบกระบวนการที่ได้พัฒนาขึ้นกับสัญญาณคลื่นที่สร้างจากแบบจำลองชั้นดินตามระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์และผลตรวจวัดคลื่นผิวดินในสนามที่มีโครงสร้างพื้นดินแตกต่างกัน ซึ่งพบว่าวิธี POP สามารถคำนวณเส้นโค้งการกระจายได้ใกล้เคียงกับเส้นโค้งการกระจายทางทฤษฎีมากกว่าวิธี SPAC และการวิเคราะห์แบบย้อนกลับที่คำนึงโหมดการสั่นไหวของคลื่นผิวดินโหมดที่สูงขึ้นแสดงแยกแยะโครงสร้างชั้นดินได้ละเอียดกว่าการวิเคราะห์จากการสั่นไหวในโหมดพื้นฐานอย่างเดียว


Advanced Technologies For Efficient Transportation Construction Inspection, Clyde Wesley Newcomer Iv Jan 2018

Advanced Technologies For Efficient Transportation Construction Inspection, Clyde Wesley Newcomer Iv

Theses and Dissertations--Civil Engineering

Collecting load tickets is an example of an antiquated practice that puts inspectors in harm’s way either adjacent to traffic, in close proximity to moving or backing equipment, or at times requires climbing onto trucks to reach tickets. Technology exists to collect this information electronically allowing for safer, efficient inspection methods. Departments of Transportation are charged with inspecting an increasing work load with a diminishing number of inspection staff. Recently, doing more with less has led to the prioritization of inspection activities and resulted in less collection of data and visual inspection on projects. Technology advancements are available to improve …


Risk Management And Practice Alignment For Utility Coordination On Transportation Projects, Roy E. Sturgill Jr. Jan 2018

Risk Management And Practice Alignment For Utility Coordination On Transportation Projects, Roy E. Sturgill Jr.

Theses and Dissertations--Civil Engineering

Utility coordination is an exceedingly complex effort of managing, communicating, and facilitating the avoidance and relocation of utility facilities as needed for highway projects. Utility coordination occurs throughout the design and delivery of a project and best practices are used to make sure this occurs efficiently and in the best interest of the public, who are not only the taxpayers but also the ratepayers. Recent research has attempted to enhance utility location technology and procedures, instill frameworks and tools for utility coordination, and proceduralize risk management relative to utility coordination. However, research attempting to improve various aspects of utility coordination …


Designing And Testing 3-D Printed Wafer-Box With Embedded Pzt Sensors To Identify The Shape Effect On Energy Harvesting, Ahmad Jami Safayet Jan 2018

Designing And Testing 3-D Printed Wafer-Box With Embedded Pzt Sensors To Identify The Shape Effect On Energy Harvesting, Ahmad Jami Safayet

Electronic Theses and Dissertations

Piezoelectric energy has been recently paid attention in the field of alternative energy. Day by day the traditional energy sources including Coal tar and oils are becoming scarce. People are heading to an alternative energy source to meet the future energy demand. Piezoelectric energy is one of the competitive energy sources compared to the conventional renewable energy sources including solar, wind, and geothermal power and so on. This energy production method bears enormous research potential because it can be used as the roadway for a new method of power generation. This research project aimed to identify which shaped wafer-box produced …


Building Information Modeling (Bim) Impact On Construction Performance, David D. John Jan 2018

Building Information Modeling (Bim) Impact On Construction Performance, David D. John

Electronic Theses and Dissertations

This study is designed to address the need for having a measure for Construction Performance on BIM-assisted construction projects. Through this study a new Construction Key Performance Indicator (CKPI) matrix is identified and created by the author. The CKPI could be used to assess BIM-assisted projects. Utilizing a sequential mixed methodology approach, academic and practitioner perspectives are assessed. A qualitative content analysis and quantitative descriptive analysis based on demographics are conducted to establish a better understanding of BIM and Construction Performance. The academic perspective is used to assess the relevance of BIMM and CKPI indicators, and the practitioner perspective is …