Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Law Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Banking and Finance Law

PDF

Theses/Dissertations

Institution
Keyword
Publication Year
Publication

Articles 121 - 150 of 159

Full-Text Articles in Law

มาตรการให้ความคุ้มครองผู้ทรงทรัพย์อิงสิทธิจากการถูกเพิกถอนการฉ้อฉล ในคดีล้มละลาย, นงนภัส บุญญาวัฒน์ Jan 2019

มาตรการให้ความคุ้มครองผู้ทรงทรัพย์อิงสิทธิจากการถูกเพิกถอนการฉ้อฉล ในคดีล้มละลาย, นงนภัส บุญญาวัฒน์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

เอกัตศึกษาฉบับนี้มุ่งศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นจากการเพิกถอนนิติกรรมการฉ้อฉลและการให้เปรียบเจ้าหนี้ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย มาตรา 113 - มาตรา 116 ที่ถูกเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ยื่นคำร้องต่อศาลเพื่อเพิกถอนนิติกรรมการฉ้อฉลหรือการให้เปรียบเจ้าหนี้เป็นจำนวนมากทำให้ส่งผลกระทบต่อบุคคลภายนอกได้รับความเสียหาย ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นกับผู้ทรงทรัพย์อิงสิทธิตามพระราชบัญญัติทรัพย์อิงสิทธิพ.ศ.2562 จึงได้ศึกษาไปถึงแนวคิด หลักการ รูปแบบการก่อตั้งสิทธิ ตลอดจนผลผูกพันทางกฎหมายที่เกิดขึ้นของทรัพย์อิงสิทธิ แต่เนื่องจากลักษณะและหลักการของสิทธิตามพระราชบัญญัติทรัพย์อิงสิทธิพ.ศ.2562 ไม่ได้มีการบัญญัติไว้ในกฎหมายต่างประเทศ จึงไม่สามารถนำตัวอย่างของแนวปฏิบัติของเรื่องดังกล่าว ในต่างประเทศมาเปรียบเทียบได้ จึงศึกษาเทียบเคียงเคียงกับสิทธิที่อ้างอิงในการใช้ประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ในต่างประเทศเพื่อทำความเข้าใจและวิเคราะห์ปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นจากทรัพย์อิงสิทธิภายใต้กฎหมายไทย จากการศึกษาพบว่า เมื่อบัญญัติตามพระราชบัญญัติทรัพย์อิงสิทธิ พ.ศ.2562 ได้ให้สิทธิการใช้ประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์เป็นพิเศษมากกว่าผู้ที่ทรงสิทธิครอบครองตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ จึงควรกำหนดมาตรการปกป้องคุ้มครองผู้ทรงทรัพย์อิงสิทธิที่สุจริตให้ชัดเจน เพื่อเป็นการรับรองสิทธิและป้องกันมิให้ถูกเพิกถอนการฉ้อฉลในคดีล้มละลายซึ่งทำให้เกิดความเสียหายต่อผู้รับโอนทรัพย์อิงสิทธิที่รับโอนจากเจ้าของอสังหาริมทรัพย์โดยตรง และผู้รับโอนทรัพย์อิงสิทธิในลำดับต่อ ๆ ไป ผู้เขียนจึงได้นำเสนอผลการวิเคราะห์ปัญหาการดำเนินการกับทรัพย์อิงสิทธิเกิดขึ้นตามหลักเกณฑ์การเพิกถอนการฉ้อฉลและการให้เปรียบเจ้าหนี้ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483 ดังนี้ 1. ปัญหาตามหลักเกณฑ์การเพิกถอนการฉ้อฉลตามพระราชบัญญัติล้มละลาย มาตรา 113 และมาตรา 114 ในกรณีที่เจ้าของอสังหาริมทรัพย์ได้โอนทรัพย์อิงสิทธิต่อไปให้ผู้ได้ลาภงอกและบุคคลภายนอกโดยไม่คิดค่าตอบแทน ซึ่งสามารถทำได้ตามกฎกระทรวงฯ ข้อ 12 (1) แต่พระราชบัญญัติทรัพย์อิงสิทธิ มาตรา 13 และมาตรา 14 ได้ให้ความคุ้มครองบุคคลภายนอกที่สุจริต เสียค่าตอบแทน และจดทะเบียนโดยสุจริตซึ่งไม่สอดคล้องกัน ดังนั้น หากเจ้าของอสังหาริมทรัพย์ตกเป็นบุคคลล้มละลาย เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ก็จะมีอำนาจจัดการทรัพย์สินทั้งหมดของลูกหนี้ และหากเห็นว่านิติกรรมที่ลูกหนี้ได้กระทำมีลักษณะเป็นการให้เจ้าหนี้เสียเปรียบ เป็นการให้โดยเสน่หาทำให้ทรัพย์สินลดน้อยถอยลงไม่มีพอชำระหนี้ให้แก่เจาหนี้ หรือก่อตั้งภาระผูกพันเกินสมควรหรือหากทำภายในระยะเวลา 1 ปี ก่อนมีการขอให้ล้มละลายซึ่งเป็นเวลาตั้งข้อสงสัย กฎหมายให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าลูกหนี้มีเจตนาให้เจ้าหนี้เสียเปรียบเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ร้องขอต่อศาลให้เพิกถอนนิติกรรมได้ 2. ปัญหาตามหลักเกณฑ์การเพิกถอนการให้เปรียบเจ้าหนี้ตามพระราชบัญญัติล้มละลายมาตรา 115 และมาตรา 116 ในกรณีที่เจ้าของอสังหาริมทรัพย์ได้โอนทรัพย์อิงสิทธิต่อไปให้ผู้ได้ลาภงอกและบุคคลภายนอก ภายในระยะเวลา 3 เดือน หรือ 1 ปี ก่อนมีการขอให้ล้มละลายซึ่งเป็นเวลาตั้งข้อสงสัย ผู้ได้ลาภงอกและบุคคลภายนอกมีภาระกรพิสูจน์ให้ศาลเห็นได้ว่าได้รับโอนมาโดยสุจริต เสียค่าตอบแทน และจดทะเบียน ซึ่งคำว่า"สุจริต" กรณีนี้หมายถึง ไม่รู้ว่าเจ้าของอสังหาริมทรัพย์มีหนี้สินล้นพ้นตัว และได้กระทำลงโดยมุ่งหมายให้เจ้าหนี้รายอื่นเสียเปรียบ ซึ่งมีความหมายแคบกว่าสุจริตตมพระราชบัญญัติรัพย์อิงสิทธิ มาตรา 13 และมาตรา 14


การนำมาตรการป้องกันการกัดกร่อนฐานภาษีและการโยกย้ายกำไรโดยการป้องกันการใช้อนุสัญญาภาษีซ้อนในทางที่ไม่ถูกต้องตามแนวทางของ Oecd มาใช้ในประเทศไทย, สิตา พลังวชิรา Jan 2019

การนำมาตรการป้องกันการกัดกร่อนฐานภาษีและการโยกย้ายกำไรโดยการป้องกันการใช้อนุสัญญาภาษีซ้อนในทางที่ไม่ถูกต้องตามแนวทางของ Oecd มาใช้ในประเทศไทย, สิตา พลังวชิรา

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การใช้อนุสัญญาภาษีซ้อนในทางที่ไม่ถูกต้องเป็นสาเหตุหลักสาเหตุหนึ่งของการกัดกร่อนฐานภาษีและการโยกย้ายกําไร หรือ Base Erosion and Profit Shifting – BEPS ที่องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ หรือ OECD (Organization for Economic Co – Operation and Development) ได้ให้ความสําคัญ โดยมีการประกาศแผนปฎิบัติการที่ 6 เรื่อง Preventing the Granting of TreatyBenefits in Inappropriate Circumstances อีกทั้งมีการกําหนดมาตรการขั้นต่ํา (Minimum Standard) ซึ่งแต่ละประเทศสมาชิกต้องทําการปฎิบัติตาม ได้แก่การบัญญัติเจตนารมณ์ (The Express Statement) ไว้ในคํานําแห่งอนุสัญญาภาษีซ้อน (Preamable) และให้ประเทศสมาชิกเลือก 1 ใน 3 มาตรการ ได้แก่ มาตรการที่ 1 การบัญญัติหลักการทดสอบวัตถุประสงค์สําคัญ (Principle Purposes Test – PPT Rule) และหลักการจํากัดสิทธิของบุคคลที่จะได้รับสิทธิประโยชน์จากอนุสัญญาภาษีซ้อน (Limitations of Benefits –LOB Rule) ไม่ว่าจะเป็นฉบับย่อ (Simplied Version) หรือฉบับละเอียด (Detailed Version) หรือ มาตรการที่ 2 การบัญญัติเพียง PPT Rule หรือ มาตรการที่ 3 การบัญญัติ LOB Rule ฉบับละเอียดไว้เพียงอย่างเดียว โดยควบคู่กับกฎหมายภายในประเทศที่ใช้เพื่อป้องกันปัญหา Conduit Arrangement ทั้งนี้ OECD ได้มีแผนปฎิบัติการที่ 15 เรื่อง Multilateral Instrument โดยพัฒนาสนธิสัญญาพหุภาคี Multilateral Convention to Implement Tax Treaty Related …


ปัญหาการตีความคำว่าขายที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ศึกษากรณีการฝากขาย, เกรียงศักดิ์ ฝาจอง Jan 2019

ปัญหาการตีความคำว่าขายที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ศึกษากรณีการฝากขาย, เกรียงศักดิ์ ฝาจอง

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ในการประกอบกิจการค้าขายในปัจจุบัน วิธีการทางการตลาดถือเป็นส่วนสำคัญในการจำหน่ายสินค้า หนึ่งในวิธีทางการตลาดที่สำคัญก็คือ การฝากขายสินค้าของตนให้กับตัวแทนจำหน่าย เช่น ห้างสรรพสินค้า จะสามารถทำให้ผู้ผลิตสามารถกระจายสินค้าของตนได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เพราะสามารถเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคที่หลากหลาย การฝากขายจึงมีความจำเป็นต่อการดำเนินกิจการค้าขายและเป็นแหล่งในการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มที่สำคัญของรัฐกฎหมายภาษีได้กำหนดให้การฝากขายต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มในรูปแบบของการตั้งตัวแทนเพื่อขาย โดยต้องมีสัญญาตั้งตัวแทนตามที่ประกาศอธิบดีฯ เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม(ฉบับที่ 8)กำหนด หากไม่มีการตั้งตัวแทนตามที่กฎหมายกำหนดจะต้องถูกเก็บภาษีในลักษณะของการขายทั่วไปซึ่งความรับผิดในการเสียภาษีจะเกิดขึ้นทันที เมื่อผู้ฝากขายส่งมอบสินค้าให้ผู้รับฝากขาย ทำให้ผู้ฝากขายต้องรับภาระทางภาษีขึ้นทั้งที่ยังไม่ได้มีการขายจริง และการตั้งตัวแทนเพื่อขายตามตามที่กฎหมายกำหนดนั้นยังเกิดปัญหาในการออกใบกำกับภาษีที่มีความยุ่งยากในทางปฏิบัติ นอกจากนั้น ยังเกิดปัญหาความแตกต่างในการรับรู้รายได้ทางบัญชีและทางภาษีอีกด้วย ซึ่งปัญหาเหล่านี้เกิดจากปัญหาในการตีความคำว่าขาย ตามคำนิยามของมาตรา 77/1 แห่งประมวลรัษฎากร ที่เป็นการให้คำนิยามที่กว้างเกินไปจนก่อให้เกิดภาระทางภาษีแก่กรณีการฝากขายโดยไม่จำเป็น เอกัตศึกษาฉบับนี้จึงมุ่งศึกษาถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการฝากขาย และการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากการฝากขาย เพื่อให้ทราบถึงหลักเกณฑ์ แนวคิด ทฤษฎี และวิธีการเกี่ยวกับการฝากขาย และการจัดภาษีมูลค่าเพิ่มเพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขการตีความคำว่าขายตามมาตรา 77/1 แห่งประมวลรัษฎากร โดยศึกษากฎหมายของไทยเป็นหลักและศึกษากฎหมายของสหราชอาณาจักรอังกฤษและไอร์แลนด์เหนือมาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขการตีความของกฎหมายไทย โดยควรมีการกำหนดหลักเกณฑ์สำหรับการตั้งตัวแทนเพื่อขายที่ ไม่เป็นไปตามประกาศอธิบดีฯ (ฉบับที่ 8) เพิ่มหลักเกณฑ์ในการขยายเวลาของความรับผิดที่เกิดขึ้น เพิ่มนิยามหรือข้อยกเว้นสำหรับการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มกรณีการฝากขาย และปรับปรุงการรับรู้รายได้ทางภาษีให้ตรงกับความเป็นจริง เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมกับผู้ประกอบการที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มจากการฝากขาย


ปัญหาการตีความการจัดเก็บภาษีส่วนล้ำมูลค่าหุ้นในประเทศไทย, จินตนา แทนวันดี Jan 2019

ปัญหาการตีความการจัดเก็บภาษีส่วนล้ำมูลค่าหุ้นในประเทศไทย, จินตนา แทนวันดี

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การประกอบธุรกิจในรูปแบบของนิติบุคคลประเภทบริษัทจ้ากัดหรือบริษัทมหาชนจ้ากัด จำต้องอาศัยแหล่งเงินทุนเพื่อนำไปประกอบธุรกิจอย่างยั่งยืน ที่ผ่านมามีบริษัทในประเทศไทยจำนวนมากที่ได้รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจ ส่งผลให้เกิดภาวะการขาดทุนสะสมภายในบริษัทต่อเนื่องกันมา แม้ว่ากรมสรรพากรจะมีมาตรการในการช่วยเหลือบริษัทที่ยังคงมีผลขาดทุนสะสม ดังนั้น หลายบริษัทในประเทศไทยที่ยังคงมีผลขาดทุนสะสมอย่างต่อเนื่อง และไม่สามารถที่จะกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินในประเทศไทยหรือในต่างประเทศได้ การจัดหาแหล่งเงินทุนภายนอก (External Source of fund) ประเภทการออกจ้าหน่ายหุ้นสามัญ (Common Stock) หรือการออกจำหน่ายหุ้นบุริมสิทธิ (Preferred Stock) จึงได้รับความสนใจและเป็นที่นิยมในเวลาต่อมา เดิมการออกหุ้นโดยมีส่วนล้ำมูลค่าหุ้นสามารถกระท้าได้หากเป็นไปตามข้อบังคับและหนังสือบริคณห์สนธิของบริษัทตามที่มาตรา 1105 วรรคสอง แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์กำหนดไว้ และไม่ได้มีกฎหมายอื่นใดกำหนดไว้อย่างชัดเจนว่าจะต้องกำหนดส่วนล้ำมูลค่าหุ้นในอัตราส่วนเท่าใด นอกจากนั้นหากได้รับช้าระค่าหุ้นพร้อมทั้งส่วนล้ำมูลค่าหุ้นตามมาตรา 1202 วรรคสอง แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ รวมถึงมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 35 เรื่องการนำเสนองบการเงิน ให้ถือว่า ส่วนล้ำมูลค่าหุ้นเป็นส่วนของเจ้าของ (Equity) ที่ไม่ต้องน้ามาค้านวนเพื่อเสียภาษีเงินได้ และไม่ใช่รายรับที่ต้องน้าไปค้านวนเพื่อเสียภาษีมูลค่าเพิ่มรวมถึงมีข้อหารือกรมสรรพากรให้ความเห็นสนับสนุนหลักการดังกล่าวเรื่อยมา ต่อมาในปี 2559 ได้มีค้าพิพากษาศาลฎีกาหมายเลขคดี 2050/2559 ระหว่างบริษัทเอ็นอีซี (ประเทศไทย) จ้ากัด (โจทก์) และ กรมสรรพากร (จ้าเลย) ได้มีแนวคำวินิจฉัยตัดสินให้ส่วนล้ำมูลค่าหุ้นในกรณีดังกล่าว ถือเป็นเงินให้เปล่าหรือเงินช่วยเหลือ ซึ่งถือเป็นรายได้ที่ต้องน้าไปรวมค้านวนเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลตามมาตรา 65 แห่งประมวลรัษฎากร และต่อมาจึงได้มีแนวค้าวินิจฉัยของกรมสรรพากรเดินตามแนววินิจฉัยของศาลฎีกาแผนกคดีภาษีอากรดังกล่าว ดังนั้น เอกัตศึกษาฉบับนี จึงมุ่งศึกษาถึงแนวความคิดและความแตกต่างระหว่างการตีความของกรมสรรพากรเดิมกับแนวค้าพิพากษาของศาลฎีกา ซึ่งพบว่าส่วนล้ำมูลค่าหุ้นเป็นส่วนหนึ่งของส่วนทุนของบริษัทและในการจัดหาแหล่งเงินทุนที่ถูกต้อง บริษัทต่าง ๆ สามารถที่จะดำเนินการออกหุ้นเพิ่มทุนโดยมีส่วนล้ำมูลค่าหุ้นได้ แต่ทั้งนี้ หากบริษัทได้ดำเนินการออกหุ้นโดยมีส่วนล้ำมูลค่าหุ้นสูงเกินและมิได้แสดงให้เห็นถึงกิจการของบริษัท อย่างถูกต้องแล้วนั้น ในบางกรณีย่อมเห็นได้ชัดว่าเป็นการหลีกภาษี หรือการเลี่ยงภาษีอย่างใดอย่างหนึ่ง ทั้งนี้ ปัจจุบันประเทศไทยยังคงขาดความชัดเจนในเรื่องดังกล่าว จึงควรมีการเพิ่มเติมความหมาย พร้อมทั้งกำหนดรูปแบบการจัดเก็บภาษีไว้ในประมวลรัษฎากร เพื่อความชัดเจนและส่งผลให้ข้อขัดแย้งในการตีความที่จะเป็นข้อพิพาทขึ้นสู่ศาลลดน้อยลง


Responsible Investing: Access Denied, Keith Macmaster Oct 2018

Responsible Investing: Access Denied, Keith Macmaster

LLM Theses

Retail investors are increasingly demanding responsible investments. Retail investors also require the services of an advisor. Many responsible funds may not be responsible. This is due to many factors, including incomplete disclosures, and lack of financialization of risks. The thesis shows that traditional mutual funds, while structurally able to provide responsible investments, have not provided responsible holdings to mass affluent clientele. Institutional investors, and wealthy retail investors, have options to avail themselves of responsible investments; mass affluent investors have less choice to invest responsibly. The thesis recommends enhanced material disclosures and financial valuation models to better identify responsible investments. Advisors …


Protecting San Francisco Residents From The Wolves Of Wall Street: A Case Study, Jessica Lindquist May 2018

Protecting San Francisco Residents From The Wolves Of Wall Street: A Case Study, Jessica Lindquist

Master's Projects and Capstones

This research conducts the first deep data analysis of the public complaints filed to the Consumer Financial Protection Bureau's Consumer Complaint database by San Francisco residents. The case study highlights how consumer financial harms are a citywide problem: San Franciscans living at every income level and in every part of the city are struggling to resolve their financial issues with the wolves of Wall Street, the financial services industry. The recommendations center on what the city, particularly the San Francisco Office of Financial Empowerment, can do at a local level now that the Trump administration is focused on deregulating the …


Assessing The Effectiveness Of The Federal Reserve’S Quantitative Easing Policy In Lowering Long-Term Interest Rates, Lee Philip Perry Jan 2018

Assessing The Effectiveness Of The Federal Reserve’S Quantitative Easing Policy In Lowering Long-Term Interest Rates, Lee Philip Perry

Senior Projects Spring 2018

This project looks at the effectiveness of Quantitative Easing on lowering long-term interest rates. To come up with an answer I look through three separate channels in which QE works to lower long-term rates: the speculation channel, inflations expectation channel, and portfolio balance channel. In examining these channels and their respective effects, I combine relative channel and general economic theory with data relative to each channel such as long-term yields, inflation expectation data, public holdings of federal debt, and much more in order to understand whether QE was at the forefront of the reduction in yields. Through these channels, we …


Exploring Banks' Duty Of Care Towards Non-Customers In U.C.C. Article 3 & 4, Anis A. Houssein Jan 2018

Exploring Banks' Duty Of Care Towards Non-Customers In U.C.C. Article 3 & 4, Anis A. Houssein

Maurer Theses and Dissertations

This Thesis analyzes the bank transaction regarding cashing or accepting for deposit instruments over forged or unauthorized indorsements. Also, it investigates the development of conversion of instruments through the years and the courts’ contribution to the development. It examines the U.C.C. former section 3-419 and the courts’ reaction to the defense afforded to banks against an allegation of conversion and examines as well the current 3-420 and the reasons that led to the amendment. Besides all that, this Thesis discusses the banks’ defenses regarding Impostors and Fictitious Payees under § 3-404, Employer’s responsibility for fraudulent indorsement by his employee under …


ปัญหาการตัดรายจ่ายทางธุรกิจกับรายจ่ายส่วนตัวที่มีลักษณะผสมของผู้เสียภาษีที่เป็นบุคคลธรรมดา, จักรพันธ์ ตันทะรา Jan 2018

ปัญหาการตัดรายจ่ายทางธุรกิจกับรายจ่ายส่วนตัวที่มีลักษณะผสมของผู้เสียภาษีที่เป็นบุคคลธรรมดา, จักรพันธ์ ตันทะรา

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ในปัจจุบันมีผู้เสียภาษีที่เป็นบุคคลธรรมดาจำนวนมากที่มีเงินได้พึงประเมินตามประมวลรัษฎากรมาตรา 40 (6) (7) และ (8) โดยในการหักค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องนั้น ผู้เสียภาษีสามารถเลือกที่จะหักค่าใช้จ่ายแบบเหมา กล่าวคือ หักเป็นค่าใช้จ่ายได้ตามอัตราที่กฎหมายกำหนดไว้หรือเลือกที่จะหักค่าใช้จ่ายตามความจำเป็นและสมควรก็ได้ ซึ่งถ้าผู้เสียภาษีเลือกที่จะหักค่าใช้จ่ายตามความจำเป็นและสมควร พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการกำหนดค่าใช้จ่ายที่ยอมให้หักจากเงินได้พึงประเมิน (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2502 ได้กำหนดให้ผู้เสียภาษีนำมาตรา 65 ทวิแห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 16) พ.ศ. 2534 และมาตรา 65 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 17) พ.ศ. 2540 มาใช้บังคับโดยอนุโลม แต่อย่างไรก็ดี ในกรณีที่บุคคลธรรมดาประกอบการค้าหรือธุรกิจมักจะก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายที่มีลักษณะผสมระหว่างค่าใช้จ่ายที่มีลักษณะส่วนตัวกับค่าใช้จ่ายทางธุรกิจขึ้น เช่น ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการใช้บ้านทำเป็นสำนักงาน ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการเดินทางไปประกอบการค้าหรือธุรกิจ ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการนำรถยนต์ส่วนตัวเข้ามาใช้ประกอบการค้าหรือธุรกิจ ค่าความบันเทิงทางธุรกิจ และค่าใช้จ่ายของเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย เป็นต้น แต่บทบัญญัติตามประมวลรัษฎากรมาตรา 65 ทวิและมาตรา 65 ตรี เป็นบทบัญญัติที่กำหนดวิธีการคำนวณกำไรสุทธิของผู้เสียภาษีที่เป็นนิติบุคคลและรายจ่ายต้องห้ามที่ผู้เสียภาษีไม่สามารถที่จะนำมารวมคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลเท่านั้น ไม่มีบทบัญญัติที่รองรับการปันส่วนค่าใช้จ่ายที่มีลักษณะผสมระหว่างค่าใช้จ่ายที่มีลักษณะส่วนตัวกับค่าใช้จ่ายทางธุรกิจไว้แต่อย่างใด จึงก่อให้เกิดปัญหาการปันส่วนค่าใช้จ่ายที่มีลักษณะผสมดังกล่าวขึ้น ด้วยเหตุดังกล่าวจึงต้องวิเคราะห์หาแนวทางการแก้ไขปัญหาโดยการพิจารณาหลักเกณฑ์การปันส่วนค่าใช้จ่ายตามกฎหมายไทยที่เกี่ยวข้อง และหลักเกณฑ์การปันส่วนรายจ่ายที่มีลักษณะผสมระหว่างรายจ่ายส่วนตัวกับราจ่ายทางธุรกิจของต่างประเทศ เพื่อให้ได้มีการกำหนดบทบัญญัติที่รองรับการปันส่วนรายจ่ายที่มีลักษณะผสมดังกล่าว


Palm Papers, Nicole Rothwell Dec 2017

Palm Papers, Nicole Rothwell

Capstones

The Organized Crime and Corruption Reporting Project (OCCRP) came into possession of a secret dataset of property owners of the Palm Islands, the elite high-end artificial islands on the coast of Dubai.

With over 250 neighborhoods on Dubai’s waterfront, a group of journalists around the world has been investigating who these individuals are that can afford the posh and pricey real estate. While most fall into the uber-rich category, some also have corrupt to criminal backgrounds leading to questions such as if the Palm Islands are truly a real-estate paradise, or instead a refuge for the corrupt.

The task for …


Caring For Humanity: Non-Profit Elderly Law, Sierra Samp Dec 2017

Caring For Humanity: Non-Profit Elderly Law, Sierra Samp

Capstone Projects and Master's Theses

This Capstone was an internship that focused on care in Humanity at Legal Services for Seniors. There is a journal that includes the observations of care in the law office. I focus on how attorneys care for each clients humanness while they are working on their cases. Attorneys may be doing work that can be quite intimidating, but the care they give is quite extraordinary.


มาตรการทางกฎหมายในการกำกับการทำธุรกรรมระหว่างบริษัทประกันภัยกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง, นครินทร์ บุตรภักดีธรรม Jan 2017

มาตรการทางกฎหมายในการกำกับการทำธุรกรรมระหว่างบริษัทประกันภัยกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง, นครินทร์ บุตรภักดีธรรม

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาปัญหาของการทำธุรกรรมที่ทำระหว่างบริษัทประกันภัยกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง แนวคิด ทฤษฎี และมาตรการทางกฎหมายในการกำกับของประเทศไทยและต่างประเทศ จากการศึกษาพบว่าการทำธุรกรรมระหว่างบริษัทประกันภัยกับบุคคลที่เกี่ยวข้องซึ่งมีอิทธิพลในการตัดสินใจหรือมีอำนาจในการควบคุมกิจการของบริษัท สามารถถูกใช้เป็นเครื่องมือในการผ่องถ่ายผลประโยชน์ออกจากบริษัทประกันภัย เพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตนของผู้มีอำนาจในการควบคุมกิจการ
อย่างไรก็ตาม มาตรการทางกฎหมายของไทยในการกำกับดูแลการทำธุรกรรมระหว่างบริษัทประกันภัยกับบุคคลที่เกี่ยวข้องยังไม่เพียงพอ เนื่องจากยังไม่กำกับครอบคลุมประเภทของธุรกรรมซึ่งมีนัยสำคัญทุกประเภท ไม่ครอบคลุมบุคคลที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจหรือมีอำนาจในการควบคุมกิจการที่มีนัยสำคัญทุกประเภทบุคคล ไม่มีกฎหมายกำหนดมาตรฐานเงื่อนไขข้อตกลงและราคาของธุรกรรมที่ทำกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง และไม่มีกฎหมายกำหนดให้บริษัทประกันภัยมีหน้าที่รายงานความสัมพันธ์กับบุคคลที่เกี่ยวข้องและรายงานการทำธุรกรรมกับบุคคลที่เกี่ยวข้องที่มีนัยสำคัญต่อฐานะทางการเงินให้หน่วยงานกำกับดูแลทราบ ทำให้หน่วยงานกำกับดูแลไม่ทราบข้อมูลการทำธุรกรรมและไม่สามารถเข้ากำกับได้ในเวลาที่เหมาะสม
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงเสนอแนะว่า ควรกำหนดหลักเกณฑ์การกำกับการทำธุรกรรมระหว่างบริษัทประกันภัยกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง ไว้ในกฎหมายประกันภัยเพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยกำหนดนิยามของธุรกรรมกับบุคคลที่เกี่ยวข้องให้ครอบคลุมความสัมพันธ์ของการมีอิทธิพลในการตัดสินใจหรือมีอำนาจในควบคุมกิจการ และให้ครอบคลุมธุรกรรมที่มีนัยสำคัญทุกประเภท โดยพิจารณาความมีนัยสำคัญทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ รวมทั้ง กำหนดนิยามบุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยพิจารณาจากลักษณะการมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจหรือมีอำนาจในควบคุมกิจการ นอกจากนี้ ควรกำหนดมาตรฐานของเงื่อนไขข้อตกลงและราคาของธุรกรรม ให้มีระดับไม่ต่ำกว่าเงื่อนไขข้อตกลงและราคาตามตลาด โดยไม่ต่ำกว่ากรณีที่บริษัททำธุรกรรมในลักษณะเดียวกันกับบุคคลที่ไม่ใช่บุคคลที่เกี่ยวข้อง และควรกำหนดให้มีบริษัทประกันภัยมีหน้าที่รายงานการทำธุรกรรมกับบุคคลที่เกี่ยวข้องต่อผู้กำกับดูแลธุรกิจประกันภัยโดยตรง


ปัญหาเกี่ยวกับการโอนสิทธิในรายได้ในอนาคต ศึกษากรณีกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน, อัญรินทร์ จิระตระกูลวัชร์ Jan 2017

ปัญหาเกี่ยวกับการโอนสิทธิในรายได้ในอนาคต ศึกษากรณีกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน, อัญรินทร์ จิระตระกูลวัชร์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานเป็นเครื่องมือทางการเงินในการระดมทุนรูปแบบหนึ่งของผู้ประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐหรือภาคเอกชน โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อลงทุนในกิจการโครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทย กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานสามารถลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานได้หลายประเภท แต่ส่วนใหญ่จะเน้นลงทุนในสิทธิในการรับประโยชน์จากรายได้ในอนาคตหรือสิทธิในรายได้ในอนาคต โดยการเข้าทำสัญญาโอนสิทธิในการรับประโยชน์จากรายได้ในอนาคตกับผู้ประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งเมื่อพิจารณาลักษณะ รูปแบบและเงื่อนไขของการเข้าทำสัญญาโอนสิทธิในการรับประโยชน์จากรายได้ในอนาคต และสัญญาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องแล้วพบว่า การโอนสิทธิในการรับประโยชน์จากรายได้ในอนาคตดังกล่าวมีลักษณะเป็นธุรกรรมที่ค่อนข้างซับซ้อน จึงเกิดปัญหาว่า สัญญาโอนสิทธิในการรับประโยชน์จากรายได้ในอนาคตควรจะเป็นธุรกรรมประเภทใด เข้าลักษณะเป็นสัญญาซื้อขาย หรือสัญญากู้ยืมเงิน หรือธุรกรรมอื่นใด ซึ่งลักษณะที่ไม่ชัดเจนของสัญญาโอนสิทธิในการรับประโยชน์จากรายได้ในอนาคตดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาในการจัดเก็บภาษีอากรว่า ผู้ประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐานและกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานควรจะมีภาระภาษีในธุรกรรมดังกล่าวอย่างไร และเนื่องจากในปัจจุบันยังไม่มีบทบัญญัติในประมวลรัษฎากรหรือกฎหมายลำดับรองกำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวทางในการจัดเก็บภาษีอากรสำหรับธุรกรรมการโอนสิทธิในการรับประโยชน์จากรายได้ในอนาคตไว้เป็นการเฉพาะ จึงมีการนำบทบัญญัติซึ่งเป็นหลักเกณฑ์ทั่วไปของกฎหมายภาษีอากรมาปรับใช้ ซึ่งการนำมาปรับใช้ดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหาค่อนข้างมากในทางปฏิบัติ โดยมีการตีความธุรกรรมการโอนสิทธิในการรับประโยชน์จากรายได้ในอนาคตในลักษณะที่แตกต่างกันไป ก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมและความไม่แน่นอนในการจัดเก็บภาษีซึ่งขัดต่อหลักการบริหารภาษีอากรที่ดี ด้วยเหตุนี้ ผู้เขียนจึงได้ศึกษาเพื่อเสนอแนะให้กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวทางในการจัดเก็บภาษีอากรสำหรับธุรกรรมการโอนสิทธิในการรับประโยชน์จากรายได้ในอนาคต กรณีกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานเป็นรูปแบบธุรกรรมทางการเงิน (Financing) ให้ชัดเจน


การใช้มาตรการบรรเทาภาระภาษีมูลค่าเพิ่มซ้ำซ้อนให้กับเกษตรกรรายย่อย, ธนันท์เศรษฐ์ ศรีวิชัย Jan 2017

การใช้มาตรการบรรเทาภาระภาษีมูลค่าเพิ่มซ้ำซ้อนให้กับเกษตรกรรายย่อย, ธนันท์เศรษฐ์ ศรีวิชัย

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มุ่งศึกษาแนวทางและหลักการของมาตรการบรรเทาภาระภาษีมูลค่าเพิ่มซ้ำซ้อนของเกษตรกรรายย่อยในกลุ่มสหภาพยุโรปและประเทศสมาชิก เพื่อนำมาปรับใช้กับปัญหาการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มของเกษตรกรในประเทศไทย ตามมาตรา 81 (1) (ก) และ (ข) แห่งประมวลรัษฎากร โดยในปัจจุบัน สหภาพยุโรป (European Union) ซึ่งเป็นกลุ่มประเทศที่มีการประกอบกิจการเกษตรกรรมเป็นจำนวนมาก ได้กำหนดมาตรการเงินส่วนเพิ่มอัตราคงที่สำหรับเกษตรกร (The Flat Rate Scheme For Farmer) ซึ่งเป็นมาตรการเฉพาะทางภาษี (Special-Scheme) ไว้ในกฎหมาย The VAT Directive ของสหภาพยุโรป เพื่อให้ประเทศสมาชิกสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับกฎหมายภายในของตนเองได้ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำการศึกษามาตรการบรรเทาภาระภาษีดังกล่าว เพื่อหาแนวทางแก้ไขและบรรเทาปัญหาภาระภาษีมูลค่าเพิ่มซ้ำซ้อนของเกษตรกรรายย่อยในรูปแบบอื่นเพื่อนำมาเป็นแนวทางประกอบการปรับปรุงกฎหมายภาษีมูลค่าเพิ่มของประเทศไทยต่อไป จากการศึกษาพบว่ามาตรการเงินส่วนเพิ่มอัตราคงที่สำหรับเกษตรกรของสหภาพยุโรป ประเทศอังกฤษ ประเทศฝรั่งเศส และประเทศเยอรมนี นั้นมีความเหมาะสมที่จะนำมาใช้เป็นรูปแบบหรือทางเลือกหนึ่งในการแก้ไขปัญหาภาวะการเสียภาษีซ้ำซ้อนและการผลักภาระในรูปแบบของภาษีซื้อแอบแฝงของเกษตรกรรายย่อยได้ เนื่องจากมาตรการดังกล่าวถือเป็นการชดเชยภาษีซื้อในทอดก่อนหน้าที่เกษตรกรไม่สามารถเครดิตภาษีซื้อคืนได้ในรูปแบบของเงินส่วนเพิ่มอัตราคงที่ (Flat Rate Addition) ซึ่งจะช่วยบรรเทาภาระทางภาษีมูลค่าเพิ่มให้แก่เกษตรกรที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มจากการซื้อขายสินค้าเกษตร อีกทั้งยังเป็นการลดภาระในการปฏิบัติตามกฎหมายภาษีมูลค่าเพิ่ม เช่น ไม่มีหน้าที่ต้องยื่นแบบแสดงรายการขอคืนภาษีซื้อ หรือจัดทำบัญชีเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของการจัดเก็บภาษี ซึ่งจะก่อให้เกิดต้นทุนในการบริหารและควบคุมกิจการ (Compliance Cost) เพียงแต่เกษตรกรจะต้องออกใบกำกับภาษีเงินส่วนเพิ่มอัตราคงที่เท่านั้น นอกจากนี้ผู้ซื้อและลูกค้าของเกษตรกรรายย่อยสามารถนำใบกำกับภาษีเงินส่วนเพิ่มอัตราคงที่ดังกล่าวมาขอคืนเงินส่วนเพิ่มอัตราคงที่ที่ตนได้เสียให้แก่เกษตรกรรายย่อยได้ อันเป็นการส่งผลให้เกิดความสมดุลและเสริมสร้างระบบภาษีมูลค่าเพิ่มในภาพรวมให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น


Unclaimed Money In Saudi Banks, Abdulrahman Almasnad Mar 2016

Unclaimed Money In Saudi Banks, Abdulrahman Almasnad

Maurer Theses and Dissertations

A law shall not violate its sources, especially if the sources are not subject to being overruled or ignored. However, one of the essential Islamic objectives is preserving the wealth “property.” This preservation requires protecting wealth from being acquired in illegitimate way, which will prevent the owners from controlling and enjoying their wealth. Islam protects true owners themselves from getting harmed or facing suffering caused by engaging in a transaction that involved their property. In making the law, Islamic scholars contend that any deliberate act that creates harm or makes someone suffer is “strictly prohibited” and must be rebuked. This …


The Foreign Account Tax Compliance Act: The Solution Or The Problem?, Sophie S. Chou Jan 2016

The Foreign Account Tax Compliance Act: The Solution Or The Problem?, Sophie S. Chou

CMC Senior Theses

Tax evasion has been happening for decades, but after the highly publicized cases with two foreign banks, LGT and UBS, the United States (US) is cracking down on tax evaders. The latest addition to the Internal Revenue Service (IRS)’s repertoire of enforcement tools is the Foreign Account Tax Compliance Act, otherwise known as FATCA. The Act was enacted to incentivize tax information release by foreign financial institutions (FFIs) who would otherwise face a 30% withholding tax on any US source income. The question was whether or not the design of the Act and its implementation successfully met this goal.

This …


The Six-Year Hangover: An Assessment Of The Effectiveness Of Unconventional Monetary Policy In Dealing With Debt Overhang Within The U.S. Economy, Meredith Moshier Jun 2015

The Six-Year Hangover: An Assessment Of The Effectiveness Of Unconventional Monetary Policy In Dealing With Debt Overhang Within The U.S. Economy, Meredith Moshier

Honors Theses

After the Financial Crisis of 2007 to 2008, the Federal Reserve and the federal government used monetary and fiscal policy to buoy the economy out of the recession, but the Fed had to turn to non-standard forms of monetary policy, or unconventional monetary policy. The Federal Reserve used forward guidance, quantitative easing, and the maturity extension program to: lower interest rates, raise inflation expectations, and increase GDP. Six years after the Financial Crisis, the Federal Reserve has begun to taper from unconventional monetary policy. Yet, there has been much debate as to whether unconventional monetary policy is effective or not, …


From The Savings And Loan Association Crisis Of The 1980s To The Dodd-Frank Wall Street Reform And Consumer Protection Act: The Effect Of The Dodd-Frank Act On U.S. Thrifts And The Lesson For The Korean Savings Bank Crisis, Beumhoo Jang May 2015

From The Savings And Loan Association Crisis Of The 1980s To The Dodd-Frank Wall Street Reform And Consumer Protection Act: The Effect Of The Dodd-Frank Act On U.S. Thrifts And The Lesson For The Korean Savings Bank Crisis, Beumhoo Jang

Maurer Theses and Dissertations

The subprime mortgage crisis occurred in the United States in 2008, which struck the U.S. economy tremendously, and moreover, the world’s economy. In response to the crisis, the U.S. government enacted the Dodd-Frank Wall Street Reform and Consumer Protection Act. The Act, however, focused mainly on enhancing regulatory systems rather than considering how the Act affected small-scale financial institutions, including thrifts, which play a major role in the U.S. local housing development industry.

In addition, the Act did not accord with the principles of the Government Accountability Office, and left certain regulatory measures intact, including the Qualified Thrift Lending test. …


Balance Of Power In Monetary And Fiscal Policymaking And Its Effect On Economic Outcomes, Rachel Ng Apr 2014

Balance Of Power In Monetary And Fiscal Policymaking And Its Effect On Economic Outcomes, Rachel Ng

Senior Theses and Projects

By analyzing the balance of power between key policymakers involved in restoring the economy back to health during two periods in history – the Nixon administration and the 2008 financial crisis –, my thesis reveals the detrimental effects the political business cycle has on the success of recovery. In the Nixon era, the evidence supports the notion that Nixon coerced Burns into lowering interest rates past Burns’ threshold, which exacerbated inflation and sent the economy into the dismal state of stagflation. Contrary to the popularly held belief that the Fed acts as an arm of the Treasury, Bernanke held his …


Corporate Social Responsibility In Canadian Banking A Case Study On The Equator Principles, Ian Osellame Aug 2013

Corporate Social Responsibility In Canadian Banking A Case Study On The Equator Principles, Ian Osellame

Electronic Thesis and Dissertation Repository

This thesis considers the role of Corporate Social Responsibility (CSR) in the Canadian banking sector. Although the relevance of CSR continues to be debated, this analysis starts from the position that CSR is now a fact of life for modern banks and tests whether Canadian banks are demonstrating CSR behavior through their adoption of the Equator Principles: a series of guidelines on the management of social and environmental issues that banks voluntarily commit to follow in their project financing activities. This thesis concludes that examples of CSR behavior can be observed as Canadian banks continue to define the scope of …


Government Policy And Moral Hazard In The 2007-2009 Financial Crisis, Ariana Abrams Jun 2013

Government Policy And Moral Hazard In The 2007-2009 Financial Crisis, Ariana Abrams

Honors Theses

The US government has invested over $3 trillion in financial assistance programs and bailouts for ailing companies affected by the 2007-2009 financial crisis. This paper analyzes the different government policy efforts in response to the collapse of the U.S. financial sector and whether these efforts increased the risk of moral hazard for small, medium, and large banks. Moral hazard occurs when a company has an incentive to take greater risks than it otherwise would, because the company gains all the benefits from excessive risk-taking, but does not bear all of the losses. I measure moral hazard through the debt-to-equity ratio, …


Cross-Listed Firms And Shareholder-Initiated Lawsuits: The Market Penalties Of Securities Class Action Lawsuits Against Foreign Firms, Kathryn Mary Schumann May 2012

Cross-Listed Firms And Shareholder-Initiated Lawsuits: The Market Penalties Of Securities Class Action Lawsuits Against Foreign Firms, Kathryn Mary Schumann

Doctoral Dissertations

This paper examines the market penalties levied by shareholders against firms that are alleged to have violated securities laws within the U.S. Using a sample of private securities class action cases brought against foreign firms that cross-list on the major U.S. exchanges, this paper presents evidence that the enforcement risk criticism may not be as severe as initially thought. I examine market penalties at alleged violation disclosure dates and securities class action filing dates and find that each event corresponds to an economically and statistically significant loss of value for the accused firm. On average I find that the violation …


Tax Competition And The Case Of Bank Secrecy Rules: New Trends In International Tax Law, Linneu De Albuquerque Mello Jan 2012

Tax Competition And The Case Of Bank Secrecy Rules: New Trends In International Tax Law, Linneu De Albuquerque Mello

SJD Dissertations

The current integration of world markets has led to an increase in the competition for businesses in addition to the competition for passive investments that already existed. In addition, the current financial crisis led countries to search for additional sources of revenue in order to work within their budget constraints. As tax is an area where such competition is more visible, it has also generated an effort – mainly from industrialized countries and international organizations – to curb tax practices deemed harmful to world economy. Bank secrecy rules and lack of transparency are aspects of these "harmful" tax practices. This …


Identification Requirements And Policy In Alternative Remittance : A Measure Of Legislative Adherence, Timothy J. Smith Jan 2012

Identification Requirements And Policy In Alternative Remittance : A Measure Of Legislative Adherence, Timothy J. Smith

Theses : Honours

Money laundering is a persistent threat to the economic viability of every nation. However the intent behind this behaviour does not always converge with the criminality of the act. A study of 395 international university students in Australia demonstrated a prominent cultural and regional norm in South Asia to use untraceable ‘informal’ remittance systems. Under Australian legislation, the use of a non-compliant alternative or informal value transfer system (IVTS) is an act that predicates the laundering of money regardless of intent. Yet in line with a clear cultural proclivity and trust in money transfer businesses, it is evident that many …


Impacts And Implementation Of The Basel Accords: Contrasting Argentina, Brazil, And Chile, Kristina Bergess Jan 2012

Impacts And Implementation Of The Basel Accords: Contrasting Argentina, Brazil, And Chile, Kristina Bergess

CMC Senior Theses

This thesis explores the impacts of implementing the Basel Accords on the stability of the banking sector and greater economy, and will particularly focus on Basel II. This study contrasts three Latin American governments that have implemented the Basel Accords. Because Chile's and Brazil's banking sectors have been more successful in implementing the Basel Accords, they will be used as model cases to provide the context to analyze Argentina’s banking sector. The results of this thesis reveal that in order for Argentina to stabilize its banking sector and become a stronger international financial player, it must not only improve the …


Arima Models For Bank Failures: Prediction And Comparison, Fangjin Cui May 2011

Arima Models For Bank Failures: Prediction And Comparison, Fangjin Cui

UNLV Theses, Dissertations, Professional Papers, and Capstones

The number of bank failures has increased dramatically over the last twenty-two years. A common notion in economics is that some banks can become "too big to fail." Is this still a true statement? What is the relationship, if any, between bank sizes and bank failures? In this thesis, the proposed modeling techniques are applied to real bank failure data from the FDIC. In particular, quarterly data from 1989:Q1 to 2010:Q4 are used in the data analysis, which includes three major parts: 1) pairwise bank failure rate comparisons using the conditional test (Przyborowski and Wilenski, 1940); 2) development of the …


Reflexivity In Financial Markets: A Neuroeconomic Examination Of Uncertainty And Cognition In Financial Markets, Steven Pikelny Jan 2011

Reflexivity In Financial Markets: A Neuroeconomic Examination Of Uncertainty And Cognition In Financial Markets, Steven Pikelny

Senior Projects Spring 2011

Financial markets exist to disperse the risks of an unknown future in an economy. But for this process to work in an optimal fashion, investors – and subsequently markets – must have a way to interpret uncertainty. The investor rationality and market efficiency literature utilizes a methodology inadequate to address this fact, so I supplement it with the perspectives of epistemology, economic sociology, neuroscience, cognitive science, and philosophy of mind. This approach suggests that what is commonly viewed as market “inefficiency” is not necessarily caused by investor irrationality, but rather by the inherent nature of the epistemological problem faced by …


Stochastic Modeling Of Retail Mortgage Loans Based On Past Due, Prepaid, And Default States, Chang Liu Jul 2007

Stochastic Modeling Of Retail Mortgage Loans Based On Past Due, Prepaid, And Default States, Chang Liu

Doctoral Dissertations

Stochastic models were developed that provide important measures related to retail mortgages and credit cards for the management of a bank. Based on Markov theory, two models were developed that predict mortgage portfolio size and expected duration of stay in each of the states, which are defined according to the criteria of Basel Accord II and the Federal Reserve Bank. Also, to facilitate comparisons among different types of credit products and different time periods, a model was developed to generate a health index for a retail mortgage. This model could be easily extended, using multivariate regression or multivariate time series …


The Evolving And Challenging Roles Of Certain International Financial Institutions In Developing Countries Under International Law With Particular Reference To Nigeria, South Korea, And Brazil, Sunday C. Ogbodo Apr 2007

The Evolving And Challenging Roles Of Certain International Financial Institutions In Developing Countries Under International Law With Particular Reference To Nigeria, South Korea, And Brazil, Sunday C. Ogbodo

Theses and Dissertations

It is no secret that the developing countries and their fragile economies have been struggling all the way from the twentieth (20th) century into the twenty first (21 st) century. It is equally known that the roles of the International Financial Institutions (IFIs) have been evolving partly as a result of their internal developments, and partly as a result of external developments occurring in the international environment that they operate in. It is the realization of the foregoing, and with hopes of finding ways that the IFIs can positively impact the developing countries in their quest for sustained development, that …


Industry Value At Risk In Australia, Robert Powell Jan 2007

Industry Value At Risk In Australia, Robert Powell

Theses: Doctorates and Masters

Value at Risk (VaR) models have gained increasing momentum in recent years. Market VaR is an important issue for banks since its adoption as a primary risk metric in the Basel Accords and the requirement that it is calculated on a daily basis. Credit risk modelling has become increasingly important to banks since the advent of Basel 11 which allows banks with sophisticated modelling techniques to use internal models for the purpose of calculating capital requirements. A high level of credit risk is often the key reason behind banks failing or experiencing severe difficulty. Conditional Value at Risk (CVaR) measures …