Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Comparative Literature Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Articles 1 - 21 of 21

Full-Text Articles in Comparative Literature

Yumiko Ōshima’S The Star Of Cottonland: A Translation, Sheena Woods Dec 2021

Yumiko Ōshima’S The Star Of Cottonland: A Translation, Sheena Woods

Graduate Theses and Dissertations

This is a translation of Volume 1 of Yumiko Ōshima’s The Star of Cottonland.


Ciudad, Movimiento Y Transformación: "23 Segundos" En Dos Tiempos, Mariana Pensa Sep 2021

Ciudad, Movimiento Y Transformación: "23 Segundos" En Dos Tiempos, Mariana Pensa

South East Coastal Conference on Languages & Literatures (SECCLL)

En este trabajo se realiza una lectura del film uruguayo 23 Segundos (2014, dirigido por Dimitry Rudakov). Un punto de entrada al mismo nos remite a los conceptos de acción/inacción, desde donde la intriga toma cuerpo y comienza a formarse. A partir de esto, se focaliza en el personaje principal de Emiliano, y en su recorrido por Montevideo, recorrido que se transforma a lo largo de la película en una forma de adquisición de conocimiento sobre sí mismo y los demás. Esto lo lleva ultimamente a un cambio de vida, a la superación de la alienación y la rutina. Es …


2021 Seccll Conference Program, Seccll Conference Sep 2021

2021 Seccll Conference Program, Seccll Conference

South East Coastal Conference on Languages & Literatures (SECCLL)

Conference program for the 2021 SECCLL.


Translating And Literary Agenting Anna Holmwood’S Legends Of The Condor Heroes, Hong Diao Aug 2021

Translating And Literary Agenting Anna Holmwood’S Legends Of The Condor Heroes, Hong Diao

Lingnan Theses and Dissertations (MPhil & PhD)

The role of literary agents in translation is intriguing yet under-researched. The mechanism of literary agenting vis-à-vis the initiation, production, and promotion of translated literature is under-explored. How literary agenting affects translation epistemologically, aesthetically, and technically remains uncharted territory. This dissertation attempts to fill the gap by investigating how Anna Holmwood, a translator-cum-literary agent, conceives and conducts the English translation of Shediao Yingxiong Zhuan (“射雕英雄傳”), a wuxia (武俠) magnum opus by Jin Yong (金庸).

It first employs an NVivo-based theme analysis to unearth how the translation has been received and perceived by general readers. Next, it develops the notion of …


Mots Et Noces Amazighs Rituel Du Mariage Dans Le Sud-Ouest Du Maroc, Abdallah El Mountassir Aug 2021

Mots Et Noces Amazighs Rituel Du Mariage Dans Le Sud-Ouest Du Maroc, Abdallah El Mountassir

Dirassat

Amazigh words and weddings

Marriage ritual in southwestern Morocco

The study that we present here concerns the ethnolinguistic analysis of wedding songs collected in four rural localities of the Tachelhit geographical area: Tafrawt, Ayt l) .md, lmi-n-Tanut and JdawTanan. All these localities are located in mountainous areas: the western slope of the western Anti-Atlas (Tafrawt and Ayt l) .md) and the western High Atlas (lmi-n-Tanut and ldawTanan). These songs, called in tachelhittanggift, accompany the entire stage of the wedding ritual


Interactive Translation In Cyberspace : Translator-Reader Dynamics In Online Translation Of Children’S Novels, Xuemei Chen Jul 2021

Interactive Translation In Cyberspace : Translator-Reader Dynamics In Online Translation Of Children’S Novels, Xuemei Chen

Lingnan Theses and Dissertations (MPhil & PhD)

This thesis investigates a new mode of online literary translation characterized by translator-reader interactions. Its focus is on Internet-mediated exchanges between a non-professional translator Xiao Mao and his readers in the production, dissemination, and reception of his online translations of three novels by E. B. White from 2000 to 2001. By employing the methodological framework of actor-network theory (ANT), this thesis sets out to unearth not only the interactive dynamics among heterogeneous (human and non-human) actors but also how these engagements shape the translations at different stages.

This thesis first unravels how readers in the New Threads online community participated …


Problems With Perceptual And Cognitive Idiosyncrasies In Li Wenjun’S Translation Of The Benjy Section Of Faulkner's The Sound And The Fury, Aaron L. Moore Mar 2021

Problems With Perceptual And Cognitive Idiosyncrasies In Li Wenjun’S Translation Of The Benjy Section Of Faulkner's The Sound And The Fury, Aaron L. Moore

CLCWeb: Comparative Literature and Culture

In his article “Problems with Perceptual and Cognitive Idiosyncrasies in Li Wenjun’s Translation of the Benjy Section of Faulkner’s The Sound and the Fury,” Aaron Lee Moore conducts a close explication of a 2014 English-Chinese edition of part of The Sound and the Fury. Li Wenjun’s translation of the Benjy section of The Sound and the Fury is certainly admirable in its graceful rendering of Faulkner’s complex, idiosyncratic prose style into accessible Chinese—and particularly laudable in its meticulous tracking of the a-chronological sequence of Benjy’s stream of consciousness narrative. However, problems arise in the translation due to an …


การแปลศัพท์เฉพาะทางในข้อเสนอกฎหมายการบริการดิจิทัลและข้อเสนอกฎหมายการตลาดดิจิทัลของสหภาพยุโรป, นพรุจ พงษ์สิทธิถาวร Jan 2021

การแปลศัพท์เฉพาะทางในข้อเสนอกฎหมายการบริการดิจิทัลและข้อเสนอกฎหมายการตลาดดิจิทัลของสหภาพยุโรป, นพรุจ พงษ์สิทธิถาวร

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

สารนิพนธ์ฉบับนี้เป็นวิจัยประเภทโครงการแปลในหัวข้อ ‘การแปลศัพท์เฉพาะทางในข้อเสนอกฎหมายการบริการดิจิทัลและข้อเสนอกฎหมายการตลาดดิจิทัลของสหภาพยุโรป’ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาทฤษฎีและแนวทางด้านการแปลที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งศึกษาแนวทางการวิเคราะห์ตัวบทประเภทกฎหมาย 2) เพื่อศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับกฎหมายการให้บริการดิจิทัลและกฎหมายการตลาดดิจิทัล 3) เพื่อศึกษาแนวทางการสร้างคำศัพท์และบัญญัติศัพท์เฉพาะทาง 4) เพื่อแปลคำศัพท์เฉพาะทางเกี่ยวกับกฎหมายดิจิทัลจากข้อเสนอกฎหมายการให้บริการดิจิทัลและข้อเสนอกฎหมายการตลาดดิจิทัลในส่วนของบทนิยามและอภิธานศัพท์ที่คณะกรรมาธิการยุโรปจัดทำขึ้นในเว็บไซต์ของตน และ 5) เพื่อแปลตัวบทคัดสรรจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยจากข้อเสนอกฎหมายทั้งสองฉบับ ผู้วิจัยได้ตั้งสมมติฐานไว้ว่า การแปลคำศัพท์เฉพาะทางเกี่ยวกับกฎหมายดิจิทัลและตัวบทคัดสรรในข้อเสนอกฎหมายการให้บริการดิจิทัลและกฎหมายการตลาดดิจิทัลให้สามารถถ่ายทอดความหมายได้ครบถ้วนและเหมาะสมนั้น จะต้องใช้วิธีการแปลบัญญัติศัพท์ทั้งหมดสามวิธี ได้แก่ 1) วิธีทาบเทียบ (mapping-matching) 2) วิธียืมตรง (direct borrowing) 3) วิธียืมตรงโดยมีคำอธิบายเสริมสั้น ๆ ผลการศึกษาในภาพรวมสนับสนุนสมมติฐานโดยพบว่า วิธีการแปลบัญญัติศัพท์ด้วยวิธีทาบเทียบ (mapping-matching) สามารถนำมาใช้ได้กับคำศัพท์ที่คัดสรรทั้งหมด 17 คำ เช่น Content moderation, Digital Services Coordinator, Very Large Online Platforms คำกลุ่มนี้จะเป็นคำที่ความหมายสามารถนำคำไทยที่มีอยู่แล้วมาแปลเทียบรายคำได้ เนื่องจากมีความหมายไม่ซับซ้อนหรือมีความหมายคนที่ภาษาไทยมีคำที่ใช้แทนความหมายได้อย่างตรงตัวอยู่แล้ว วิธีการแปลบัญญัติศัพท์ด้วยวิธียืมตรง (direct borrowing) สามารถนำมาไปใช้กับคำศัพท์ที่คัดสรรทั้งหมดสามคำ ได้แก่ online interface, cloud computing services, และ software application คำกลุ่มนี้จะเป็นคำที่มีใจความที่ใหม่สำหรับวัฒนธรรมไทย และมีความหมายค่อนข้างซับซ้อน ทำให้ไม่มีคำไทยเดิมที่เหมาะแก่การนำมาใช้เพื่อสื่อความได้อย่างสั้นและกระชับ วิธีการแปลบัญญัติศัพท์ด้วยวิธียืมตรงโดยมีคำอธิบายเสริมสั้น ๆ ไม่ปรากฏคำศัพท์คัดสรรที่ต้องใช้วิธีนี้ในการแปล นอกจากนี้ วิธีการแปลนอกเหนือจากสมมติฐานที่ผู้วิจัยนำมาใช้มีสามวิธี ได้แก่ 1) แปลโดยการใช้คำศัพท์ที่มีอยู่แล้วประกอบคำอธิบายเพิ่มเติมและใช้แนวทางการบัญญัติศัพท์ด้วยวิธีทาบเทียบ (mapping-matching) (8 คำ) 2) แปลแบบตีความและใช้แนวทางการบัญญัติด้วยวิธีแปลยืม (loan translation) ในส่วนหนึ่งของคำและแปลโดยใช้วิธียืมตรง (direct borrowing) ในอีกส่วนหนึ่ง (1 คำ) และ 3) แปลแบบตีความและใช้แนวทางการบัญญัติด้วยวิธีทาบเทียบ (mapping-matching) ในส่วนหนึ่งของคำและแปลโดยใช้วิธียืมตรง (direct borrowing) ในอีกส่วนหนึ่ง (1 คำ)


การแปลคำศัพท์ด้านวัฒนธรรมภาษาฟาร์ซี (อัฟกานิสถาน) ในนวนิยายเรื่อง A Thousand ​Splendid Suns ของ Khaled Hosseini, พนิตนุช สัจจมงคล Jan 2021

การแปลคำศัพท์ด้านวัฒนธรรมภาษาฟาร์ซี (อัฟกานิสถาน) ในนวนิยายเรื่อง A Thousand ​Splendid Suns ของ Khaled Hosseini, พนิตนุช สัจจมงคล

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

สารนิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษากลวิธีการแปล ลักษณะภาษาและระบบเสียงของภาษาฟาร์ซี ประวัติศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรมของประเทศอัฟกานิสถานเพื่อทำความเข้าใจกลวิธีการแปล ลักษณะเสียงของภาษาฟาร์ซี ฉากของเรื่อง ความเป็นอยู่ของตัวละครและสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมอัฟกันแล้วประยุกต์ใช้ในจัดการกับคำศัพท์ทางวัฒนธรรมภาษาฟาร์ซี (อัฟกานิสถาน) ในวรณกรรมเรื่อง A Thousand Splendid Suns ของคอลิด ฮุซัยนีย์ ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่นำมาใช้ในการศึกษาเพื่อหาแนวทางการแปลคำศัพท์ทางวัฒนธรรมที่เป็นประเด็นวิจัย ได้แก่ ทฤษฎีวาทกรรมวิเคราะห์ของคริสเตียอาเน่ นอร์ด แนวทางการวิเคราะห์ตัวบทประเภทวรรณกรรมของทอมลินสันและลินช์-บราวน์ แนวทางการศึกษาวรรณกรรมหลังยุคอาณานิคมของบิล แอชครอฟท์และคณะ การแปลแบบตีความของฌอง เดอลิล การศึกษารูปแบบการแก้ปัญหาในการแปลของแอนโทนี่ พิมประกอบกับนิยามและประเภทของวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ สังคมวัฒนธรรมของประเทศอัฟกานิสถาน ลักษณะภาษาฟาร์ซี และการใช้คำทับศัพท์ ทั้งนี้ กรอบการวิเคราะห์ที่นำมาใช้ในการศึกษาครั้งนี้ จะต้องนำทฤษฎีที่เกี่ยวข้องทั้งในด้านการวิเคราะห์ตัวบทต้นฉบับ และทฤษฎีการแปลเข้ามาช่วยให้สามารถถ่ายทอดบทแปลได้ใกล้เคียงหรือเทียบเท่าต้นฉบับ โดยเห็นว่าทฤษฎีวาทกรรมวิเคราะห์ของคริสเตียอาเน่ นอร์ด แนวทางการวิเคราะห์ตัวบทประเภทวรรณกรรมของทอมลินสันและลินช์-บราวน์ แนวทางการศึกษาวรรณกรรมหลังยุคอาณานิคมของบิล แอชครอฟท์และคณะ การแปลแบบตีความของฌอง เดอลิล การศึกษารูปแบบการแก้ปัญหาในการแปลของแอนโทนี่ พิมประกอบกับนิยามและประเภทของวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ สังคมวัฒนธรรมของประเทศอัฟกานิสถาน ลักษณะภาษาฟาร์ซีรวมทั้งจากเอกสารตัวอักษรและการสอบถามเจ้าของภาษาฟาร์ซี และการใช้คำทับศัพท์เพียงพอ ช่วยให้สามารถเลือกกลวิธีการแปลที่เหมาะสมกับการแปลตัวบทต้นฉบับ เพื่อถ่ายทอดจินตภาพและหน้าที่ในฐานะสื่อที่ผู้เขียนต้นฉบับต้องการสื่อไปยังผู้รับสารงานแปล จากการศึกษาทฤษฎีข้างต้นพบว่า การใช้ทฤษฎีต่าง ๆ ดังกล่าวช่วยให้สามารถนำมาประยุกต์สร้างหลักเกณฑ์การทับศัพท์คำศัพท์ทางวัฒนธรรมและเลือกใช้กลวิธีการแปลที่เหมาะสมกับตัวบทให้ถ่ายทอดความหมายและเจตนารมณ์ของผู้เขียนได้อย่างครบถ้วน แต่ด้วยข้อจำกัดทางความรู้ด้านสัทศาสตร์และอรรถศาสตร์ของภาษาฟาร์ซีทำให้ไม่สามารถสร้างหลักเกณฑ์การทับศัพท์จากภาษาฟาร์ซี (อัฟกานิสถาน) เป็นภาษาไทยได้แม่นยำสมบูรณ์


Automatic Subtitling And Machine Translation In Aiding English To Thai Simultaneous Interpretation, Nutdanai Sornchai Jan 2021

Automatic Subtitling And Machine Translation In Aiding English To Thai Simultaneous Interpretation, Nutdanai Sornchai

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

With the development of automatic speech recognition (ASR) and machine translation (MT) technology in recent years, their uses in simultaneous interpretation (SI) have been a subject of interest. This research, conducted to study these technologies in aiding the SI process, has four participants interpreted (English to Thai) three comparable speeches with automatic subtitling, with MT, and without subtitling. An audience then rated the interpretation renditions and answered a comprehension questionnaire. According to the participants, automatic subtitling allowed them to cross-check their translation, while MT provided a way to decrease the cognitive effort. According to the audience, automatic subtitling has a …


Smartphone-Tapping Vs Hand-Writing: A Comparative Study Of Note-Taking Alternatives For Consecutive Interpretation, Panuwat Sojaiwong Jan 2021

Smartphone-Tapping Vs Hand-Writing: A Comparative Study Of Note-Taking Alternatives For Consecutive Interpretation, Panuwat Sojaiwong

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Tapping on a smartphone has expanded beyond texting, from interpersonal interaction to taking notes in an academic context. More specifically, consecutive interpreters, both novice and experienced, who are accustomed to smartphone tapping on a daily basis may be able to take notes on their smartphones. The study investigates the modern method of tapping on a smartphone as a note-taking alternative to the classic method of pen and paper. Six Thai interpreting students participated in a consecutive interpretation experiment. Participants were given the opportunity to practice both hand-writing and smartphone tapping for their consecutive interpretation tasks. The data was collected in …


การแปลกริยานุเคราะห์ในข้อบังคับการประชุมสมัชชาสหภาพรัฐสภาและการประชุมคณะมนตรีบริหารสหภาพรัฐสภา, โกศล อุดมศิลป์ Jan 2021

การแปลกริยานุเคราะห์ในข้อบังคับการประชุมสมัชชาสหภาพรัฐสภาและการประชุมคณะมนตรีบริหารสหภาพรัฐสภา, โกศล อุดมศิลป์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

สารนิพนธ์ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อหาแนวทางการแปลกริยานุเคราะห์ Shall, May และ Will ในข้อบังคับการประชุมสมัชชาสหภาพรัฐสภาและข้อบังคับการประชุมคณะมนตรีบริหารสหภาพรัฐสภาจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย โดยมีคำถามการวิจัยว่ากริยานุเคราะห์ทั้ง 3 คำดังกล่าวมีความหมายและหน้าที่ อย่างไรในบริบทกฎหมายและสามารถแปลเป็นภาษาไทยได้ว่าอะไร ผลการวิจัยจากเอกสารและแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องพบว่า กริยานุเคราะห์ Shall, May และ Will ที่ใช้ในข้อบังคับของสหภาพรัฐสภาที่คัดสรรนับว่าเป็นหัวใจสำคัญของประโยค โดยเฉพาะในฐานะคำบอกทัศนะภาวะปริพัทธซึ่งเป็นเรื่องภาวะหน้าที่ การอนุญาต และการสั่งห้าม ในการแปลคำกริยานุเคราะห์ทั้ง 3 คำในตัวบทดังกล่าว ผู้วิจัยจึงนำเสนอแนวทางการแปลซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ประเภทหลัก ได้แก่ Shall เป็นเรื่องของพันธะหน้าที่ May เป็นเรื่องของการอนุญาตและดุลยพินิจ และ Will เป็นเรื่องพันธะหน้าที่ซึ่งเกี่ยวโยงกับอนาคตกาลหรือเงื่อนไข โดยรูปภาษาที่ใช้ขึ้นอยู่ลักษณะการใช้งานในแต่ละประโยคและบริบท โดยสามารถอ้างอิงคำที่ใช้ในข้อบังคับการประชุมของรัฐสภาไทยประกอบการแปลได้ ผลการวิจัยและบทแปลที่ได้จากสารนิพนธ์ฉบับนี้น่าจะเป็นประโยชน์ต่อสมาชิกรัฐสภา เจ้าหน้าที่รัฐสภา และบุคคลในวงงานรัฐสภาในการนำไปใช้ในภารกิจด้านรัฐสภาระหว่างประเทศของรัฐสภาไทย รวมถึงต่อผู้ที่สนใจเกี่ยวกับการแปลกริยานุเคราะห์ในบริบทต่าง ๆ ต่อไป


การแปลภาษาถิ่นจาเมกาในนวนิยายยุคหลังอาณานิคม เรื่อง The Book Of Night Women โดย มาร์ลอน เจมส์, หรรษา ต้นทอง Jan 2021

การแปลภาษาถิ่นจาเมกาในนวนิยายยุคหลังอาณานิคม เรื่อง The Book Of Night Women โดย มาร์ลอน เจมส์, หรรษา ต้นทอง

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

สารนิพนธ์ฉบับนี้ เป็นการศึกษาแนวทางการแปลภาษาถิ่นจาเมกาในวรรณกรรมยุคหลังอาณานิคมเรื่อง The Book of Night Women ของ Marlon James ซึ่งเป็นนวนิยายที่สะท้อนถึงความหลากหลายทางภาษา ชาติพันธุ์และวัฒนธรรมในประเทศจาเมกาผ่านการใช้ภาษาของผู้เขียน ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิดหลังอาณานิคม แนวคิดวรรณกรรมยุคหลังอาณานิคม ลักษณะภาษาถิ่นจาเมกา ลักษณะภาษาไทยถิ่นอีสานและภาษาไทยถิ่นโคราช ลักษณะภาษาเก่า รวมทั้งแนวทางการแปลภาษาถิ่นและภาษาต่างมาตรฐานอื่น ๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้เป็นแนวทางการแปลที่รักษาความหลากหลายทางภาษาที่แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรมของประเทศจาเมกา ผลการวิจัยพบว่าการแปลเพื่อรักษาความหลากหลายทางภาษาซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายของสารนิพนธ์ฉบับนี้ทำได้โดยการวิเคราะห์ลักษณะภาษาที่ใช้ในตัวบทต้นฉบับและนำมาเทียบเคียงกับลักษณะของภาษาไทยถิ่นอีสานและภาษาไทยถิ่นโคราชเพื่อถ่ายทอดภาษาที่แตกต่างกันไปตามเชื้อชาติของตัวละคร เกิดเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาการแปลที่สามารถถ่ายทอดความหลากหลายทางภาษาจนนำไปสู่การถ่ายทอดต้นฉบับได้อย่างใกล้เคียง นอกจากนี้ แนวทางการแปลนี้ยังแสดงให้เห็นถึงการใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการต่อต้านอำนาจอาณานิคมและช่วยส่งเสริมการแสดงออกถึงอัตลักษณ์และตัวตนของคนที่ใช้ภาษาที่ไม่ใช่ภาษาศูนย์กลาง


Marlon Hacla, Melismas, Christian Jil R. Benitez Jan 2021

Marlon Hacla, Melismas, Christian Jil R. Benitez

Filipino Faculty Publications

Review of Melismas by Marlon Hacla; translated by Kristine Ong Muslim


A Study Of The Problems Encountered By Interpreters In Translating Criminal Case Examination Questions From Thai Into English, Brian Keith Cutshall Jan 2021

A Study Of The Problems Encountered By Interpreters In Translating Criminal Case Examination Questions From Thai Into English, Brian Keith Cutshall

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The official language used in the Thai judicial system is the Thai central dialect. All documentation and testimony must be submitted in this language. Because of this, all documentation in a foreign language that needs to be submitted to the court must first be translated into Thai. Additionally, non-proficient speakers of Thai (NPT’s) require the services of an interpreter to render their foreign language testimony into Thai during court proceedings. The goal of this research was to study and better understand the types of problems that interpreters in court have in interpreting criminal case examination questions from Thai into English. …


The Use Of Asr-Cai Tool And Its Impact On Interpreters’ Performance During Simultaneous Interpretation, Pannapat Tammasrisawat Jan 2021

The Use Of Asr-Cai Tool And Its Impact On Interpreters’ Performance During Simultaneous Interpretation, Pannapat Tammasrisawat

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Ever since automatic speech recognition (ASR) was introduced as a means to improve the terminology lookup mechanism and reduce additional cognitive effort in performing a terminology query, many studies have been conducted to investigate the use of ASR-CAI tools in simultaneous interpretation (SI). However, few studies have implemented the process-oriented method in addition to the product-based method in analyzing how the use of ASR-CAI tools may affect the interpreting process. By using both product/process-oriented approaches, this paper set out to investigate the impact of ASR-CAI tool on interpreters’ overall performance. The results showed that the support of ASR-CAI tool led …


User-Side Assessment On English To Thai And Thai To English Machine Interpreting: The Case Of Google Translate, Thatchaphon Silpi Jan 2021

User-Side Assessment On English To Thai And Thai To English Machine Interpreting: The Case Of Google Translate, Thatchaphon Silpi

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

This research aims to assess Google Translate´s effectiveness in English-Thai consecutive interpreting based on users' comprehension and to investigate users’ satisfaction with MI renditions. Ten native speakers of Thai and eight native speakers of English were asked to listen to the translated speeches and complete a questionnaire to assess the Adequacy and Fluency of the MI. The findings showed that in terms of Adequacy of the English to Thai MI participants’ comprehension scores ranged from 2.4 to 3.45 out of 5, while Fluency received less than half of the maximum scores in all areas. In comparison, for the direction of …


Investigation Of An Automatic Speech Recognition Software For Numbers Trigger Management In Remote Simultaneous Interpretation From English To Thai., Chirattikarn Kittimongkolmar Jan 2021

Investigation Of An Automatic Speech Recognition Software For Numbers Trigger Management In Remote Simultaneous Interpretation From English To Thai., Chirattikarn Kittimongkolmar

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

No abstract provided.


The Joy Of Listening: Three Voices In The Poetry Of Wisława Szymborska, Mimi Thompson Jan 2021

The Joy Of Listening: Three Voices In The Poetry Of Wisława Szymborska, Mimi Thompson

CMC Senior Theses

One of the greatest feats that a poet may achieve in his or her lifetime is to develop a voice so characteristic of themself, it would be impossible to confuse it with that of any other poet. Polish-speaking and non-Polish-speaking scholars alike have agreed that the voice of 1996 Nobel Laureate Wisława Szymborska is utterly distinct, despite the fact that her poems explore a wide range of topics and are told from multiple narrative perspectives, rarely featuring herself through any personal details. How, then, is it possible for hundreds of poems, each with their own narrator, to still be “heard” …


การศึกษากลวิธีการแปลข่าวออนไลน์เรื่องการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ครั้งที่ 59 จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย ของสำนักข่าวไทย, อาณัติ ศักดารณรงค์ Jan 2021

การศึกษากลวิธีการแปลข่าวออนไลน์เรื่องการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ครั้งที่ 59 จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย ของสำนักข่าวไทย, อาณัติ ศักดารณรงค์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

สารนิพนธ์เล่มนี้มุ่งศึกษาแนวทางการแปลข่าวออนไลน์เกี่ยวกับการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ครั้งที่ 59 จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยของฝ่ายข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวไทย ผู้วิจัยได้ประยุกต์ใช้กระบวนการแบบจำลองผู้เฝ้าประตูในการแก้ปัญหาการแปลข่าวตามแนวทางของ Erkka Vuorinen (1995) ที่ระบุว่า ผู้แปลใช้กระบวนการแบบจำลองผู้เฝ้าประตูทั้งสี่กระบวนการ ได้แก่ การเพิ่มข้อมูล การตัดข้อมูล การจัดเรียงข้อมูลใหม่ และการแทนที่ข้อมูลในการจัดการข้อมูลข่าว นอกจากนี้ ผู้วิจัยได้เลือกใช้แนวทางการวางกรอบเรื่องเล่าในการแปลของ Baker (2006) เพื่อวิเคราะห์บทบาทของผู้เรียบเรียงข่าวต่อการกำหนดกรอบความคิดของผู้รับสารอีกด้วย ผู้วิจัยคัดเลือกตัวอย่างข่าวเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ครั้งที่ 59 ซึ่งสำนักข่าวต่างประเทศเขียนเป็นภาษาอังกฤษ จำนวน 50 ข่าว และข่าวแปลเป็นภาษาไทยโดยฝ่ายข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวไทย 50 ข่าว ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2563 - มกราคม 2564 เพื่อนำมาใช้วิเคราะห์ด้วยกระบวนการแบบจำลองผู้เฝ้าประตูและแนวทางวางกรอบเรื่องเล่าในการแปล นอกจากนี้ ผู้วิจัยยังได้สัมภาษณ์บรรณาธิการและผู้เรียบเรียงข่าวของฝ่ายข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวไทย จำนวน 2 คน เพื่อพิสูจน์สมมติฐานว่า ผู้เรียบเรียงข่าวของฝ่ายข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวไทย ได้นำกระบวนการแบบจำลองผู้เฝ้าประตูทั้งสี่กระบวนการมาประยุกต์ใช้ในการแปลข่าวเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา และผู้เรียบเรียงข่าวมีบทบาทต่อการกำหนดกรอบความคิดของผู้รับสารตามแนวทางการวางกรอบเรื่องเล่าในการแปล ผลวิจัยพบว่า การแปลข่าวเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ครั้งที่ 59 จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย ของฝ่ายข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวไทย ใช้กระบวนการแบบจำลองผู้เฝ้าประตูทั้งสี่กระบวนการตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ กล่าวคือ พบการตัดข้อมูลมากที่สุด ร้อยละ 55 ตามด้วยการเพิ่มข้อมูล ร้อยละ 20 การจัดเรียงข้อมูลใหม่ ร้อยละ 18 และการแทนที่ข้อมูล ร้อยละ 7 โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อส่งเสริมการสื่อสารข้อมูลข้ามวัฒนธรรมและทำให้ผู้รับสารเข้าใจบริบทแวดล้อมของสถานการณ์ต่าง ๆ ตามข้อจำกัดของข่าวออนไลน์ด้วยการจัดลำดับความสำคัญของเนื้อหาและทำให้ข้อมูลสั้นกระชับตามหลักการเขียนข่าวแบบพีระมิดหัวกลับ นอกจากนี้ ผู้วิจัยพบว่าผู้เรียบเรียงยังมีบทบาทต่อการกำหนดกรอบความคิดของผู้รับสารตามแนวทางการวางกรอบเรื่องเล่าในการแปล กล่าวคือ พบว่ามีการกำหนดกรอบโดยการเลือกสรรข้อมูลมากที่สุด ร้อยละ 47 ตามด้วยการกำหนดกรอบโดยการเลือกใช้ถ้อยคำตีตรา ร้อยละ 23 การกำหนดกรอบโดยการเปลี่ยนตำแหน่งผู้เกี่ยวข้องในเหตุการณ์ ร้อยละ 16 และการกำหนดกรอบโดยการใช้เงื่อนเวลาและสถานที่ ร้อยละ 14 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาความเป็นกลาง หลีกเลี่ยงประเด็นละเอียดอ่อน และลดความเอนเอียงในการนำเสนอข่าว


การแปลบทสนทนาภาษาถิ่น Irish English ในนวนิยายเรื่อง The Commitments โดย Roddy Doyle, พิมพ์สุจี กิติโชตน์กุล Jan 2021

การแปลบทสนทนาภาษาถิ่น Irish English ในนวนิยายเรื่อง The Commitments โดย Roddy Doyle, พิมพ์สุจี กิติโชตน์กุล

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

สารนิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาการแปลลักษณะภาษาถิ่น Irish English หรืออีกชื่อหนึ่งคือ ภาษา Hiberno-English ในนวนิยายหลัง อาณานิคมเรื่อง The Commitments จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย ซึ่งตัวบทมีการใช้ภาษาอังกฤษต่างมาตรฐาน รวมไปถึงคำหยาบและคำสแลงที่มีความแตกต่างจากภาษาปลายทางเป็นอย่างมาก ผู้วิจัยได้นำแนวทางการศึกษาวรรณกรรมยุคหลังอาณานิคมของบิล แอชครอฟท์และคณะ ลักษณะของภาษา Hiberno-English และทฤษฎีภาษาศาสตร์ระบบ-หน้าที่ของเอ็ม.เอ.เค. ฮัลลิเดย์ และคณะ มาใช้เป็นแนวทางการแปลเพื่อสร้างความหลากหลายทางภาษาและถ่ายทอดภาษา Hiberno-English ที่สะท้อนอัตลักษณ์ของชนชั้นแรงงานในไอร์แลนด์ยุคหลังอาณานิคม ผลการวิจัยพบว่า การแปลเพื่อรักษาความหลากหลายทางภาษาเป็นเป้าหมายหลักของสารนิพนธ์ฉบับนี้ ซึ่งทำได้โดยการแปลให้ความสำคัญกับตัวลักษณะภาษาที่ต่างมาตรฐานในตัวบทและประยุกต์ใช้ความต่างมาตรฐานของภาษาพูดในปลายทางผสมผสานกับภาษาถิ่นไทยกาญจนบุรี แนวทางการแปลเพื่อสะท้อนความหลากหลายทางภาษานี้สามารถสะท้อนการต่อต้านอำนาจอาณานิคม ช่วยแก้ปัญหาในการวิจัย และนำไปสู่การถ่ายทอดที่สะท้อนตัวบทต้นฉบับได้อย่างใกล้เคียง