Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Social and Behavioral Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Political Science

Theses/Dissertations

2021

Institution
Keyword
Publication

Articles 571 - 596 of 596

Full-Text Articles in Social and Behavioral Sciences

Judicial Independence In Pakistan: A Case Study Of Lawyers’ Movement, 2007-2009, Shabbir Ahmad Khan Jan 2021

Judicial Independence In Pakistan: A Case Study Of Lawyers’ Movement, 2007-2009, Shabbir Ahmad Khan

Graduate Theses, Dissertations, and Problem Reports

This study focuses on a social movement, the Lawyers’ Moment 2007-2009 of Pakistan, a transitioning democracy, which brought vast changes in its judicial system, especially in terms of its judicial independence. There are three main research questions in this study: 1) the status of judicial independence before the Lawyers’ Movement; 2) was judicial independence a major goal in the Lawyers’ Movement? and 3) did the Lawyers’ Movement alter the status of judicial independence? The research methodology used to explore the answers to these questions also has three main sources: 1) the literature which explains some areas of scholarship in social …


Influence Of Political Affiliation On Perceived Media Bias And Trustworthiness In The Covid-19 Pandemic, Tabitha Lamberth Jan 2021

Influence Of Political Affiliation On Perceived Media Bias And Trustworthiness In The Covid-19 Pandemic, Tabitha Lamberth

Electronic Theses and Dissertations

Partisanship and news source attribution may influence perceived media bias and trust in COVID-19 information. This study aimed to explore how the similarity liking effect relates to political identity and perceived credibility. Our main hypothesis was that individuals would find news sources that shared their political affiliation as more trustworthy than other news sources. To test our hypothesis, 216 undergraduate students participated in a study that measured participants’ trustworthiness of a news article with randomized source attribution from a liberal, conservative, and neutral source. A 2X3 ANOVA tested the relationship between our participants’ political affiliation, measured by the 12-item Social …


Military Influence On Middle Eastern Democratization Following The Arab Spring, Andrew Fleming Jan 2021

Military Influence On Middle Eastern Democratization Following The Arab Spring, Andrew Fleming

Williams Honors College, Honors Research Projects

Despite experiencing countless wars, sectarian extremism, imperialism, and authoritarian rule, very few events have impacted the Middle East more significantly than the Arab Spring. Starting in 2010, the Arab Spring marked a turning point in which the people of numerous Arabic states collectively gathered to protest and combat the oppressive regimes that had controlled the region for decades. The Spring was indicative of the strong, recurring ambitions for revolution and regime change across the Middle East, presenting the Arab nations with an opportunity to reform their states from within. For some Middle Eastern states, the Arab Spring served as a …


What Accounts For The Variations In Educational Outcomes?: A Quantitative Analysis, Rachel A. Madigan Jan 2021

What Accounts For The Variations In Educational Outcomes?: A Quantitative Analysis, Rachel A. Madigan

Williams Honors College, Honors Research Projects

High quality educational outcomes are a coveted item throughout the advanced industrialized world. This paper is a quantitative analysis of the educational outcomes of thirty-seven Organization for Economic and Cooperative Development (OECD) member countries. The overarching goal is to determine what variables account for this variation. Causes investigated include the type of party system, wealth, inequality, health of democracy, government spending on education, access to affordable healthcare, and student-teacher ratios. Socioeconomic variables, including wealth and income inequality, and the level of political freedom have the greatest impact on quality of education. Other more bureaucratic factors, including access to healthcare, student-teacher …


Age, Political Affiliation, And Political Polarization In The United States, Anton Glocar Jan 2021

Age, Political Affiliation, And Political Polarization In The United States, Anton Glocar

Williams Honors College, Honors Research Projects

This study analyzes the relationship between voter age and party affiliation with political polarization in the form of feelings towards both one’s own party and the opposing party. Using data from the 2020 American National Election Survey, the favorability ratings of voters from both parties towards both their own party and the opposing party were analyzed and grouped based on voter age. The results of this analysis indicate that positive feelings towards one’s own party and negative feelings towards the opposing party, and therefore polarization, tend to increase as age increases.


The Impact Of Human Rights Abuses And Emigration In Venezuela, Caroline Hanna Jan 2021

The Impact Of Human Rights Abuses And Emigration In Venezuela, Caroline Hanna

Williams Honors College, Honors Research Projects

My overall goal with my Honors project is to have a better understanding of the human rights situation in Venezuela and how human rights abuses are one of the many factors in the high levels of emigration. The influx of migrants has led to serious issues in many South American countries, especially Colombia, as many countries face economic hurdles, and the COVID-19 pandemic has worsened the global economy. I want to address the international response to this crisis as well due to the differing responses of the Syrian refugee crisis and the Venezuelan migration crisis. In order to do this, …


Democracy In The Mena, Alexandria Petrof Jan 2021

Democracy In The Mena, Alexandria Petrof

Williams Honors College, Honors Research Projects

There is not sufficient evidence that the Middle East will be able to democratize effectively. First and foremost, most attempts of implementing democracy have failed. The landscape and lack of industrialization also plays a role in the inability to apply democratic systems into this area. Lastly, the educational system, or lack thereof, struggles to educate their children and citizens as a whole and education is one of the biggest factors in the success of democracy.


“Yes, My Career Would End”: How The Existence Of Illicit Digital Media May Inhibit Women From Participating In Politics, Esther Afrakoma Appiah Dwaah Jan 2021

“Yes, My Career Would End”: How The Existence Of Illicit Digital Media May Inhibit Women From Participating In Politics, Esther Afrakoma Appiah Dwaah

Masters Theses

The challenges faced by women in their quest to be equal participants with men in politics is not hidden. This study set out to examine how women may be restrained from rising to the highest offices in politics amidst fear of their existing nude contents that exist digitally. The body and sexuality of women have countlessly been employed as a tool to keep them out of political participation. Relying on data gathered through interviews with twenty four respondents, the study confirmed that women who have their illicit digital media in existence are less likely to take lead roles in politics …


Emotions And Opinions: The Causes And Effects Of Contemporary Populism, Hunter Driggers Jan 2021

Emotions And Opinions: The Causes And Effects Of Contemporary Populism, Hunter Driggers

Masters Theses

Populism has experienced a global resurgence. Yet at the individual level, little empirical research has been conducted to validate theories surrounding this phenomenon, including claims that anger is necessary to trigger populist sentiment and that contemporary populists have a strongly negative perception of society. I conduct a novel survey experiment on US adults (n = 488) that induces anger among various groups and measures populist sentiment as well as opinions on domestic society and the global commons. I perform this examination by first comparing control and treatment groups, ascertaining anger’s impact on populist sentiment while accounting for preexisting anger and …


Gender Non-Conformity In The Appearance Of Political Candidates And Its Effect On Voters, Megan Amanda Holmes Jan 2021

Gender Non-Conformity In The Appearance Of Political Candidates And Its Effect On Voters, Megan Amanda Holmes

Senior Honors Theses and Projects

In this time of political uncertainty and shifting cultural norms, it has become challenging to rely upon our preconceived notions of what makes a good political candidate. This research was conducted for the purpose of deepening our understanding of the relationship between politics and the nonverbal communication of gender norms, and to shed light on how a candidate's gender presentation influences voters. Through examining the ways in which political candidates conform to or deviate from gender norms in their physical appearance, we begin to discover the impact of non-conformity on voters’ evaluations of candidates. In this study, respondents were shown …


Debt, Death, And Deregulation: Neoliberalism, Human Rights, And American-Argentine Relations, 1976-1983, Billy Davis Jan 2021

Debt, Death, And Deregulation: Neoliberalism, Human Rights, And American-Argentine Relations, 1976-1983, Billy Davis

Masters Theses

Between 1976 and 1983, Argentina was governed by a military government that oversaw both a brutal campaign against communism and a process of neoliberalization. During this period, the United States provided substantial economic support to Argentina through its approval of loans that enabled Argentina’s economic transformation. Early on, the United States was largely apathetic and complacent in regard to Argentina’s Dirty War. During the administration of Jimmy Carter, the United States attempted to confront the Argentine military government about its human rights abuses. However, a substantial contingent within the Carter administration pushed back against this initiative and worked to protect …


Anti-Communist Politics Of The Second Red Scare And How It Affected Hollywood And The Types Of Movies Being Made, Maddy Everson Jan 2021

Anti-Communist Politics Of The Second Red Scare And How It Affected Hollywood And The Types Of Movies Being Made, Maddy Everson

Honors Program Theses

During the Second Red Scare from 1947 to 1957, anti-communist sentiment was rampant and affected Hollywood and the types of movies being made. This was due to governmental agencies—as well as non-governmental institutions and people—being suspicious of and investigating anyone who was suspected of having communist ties. This caused a level of fear that affected what was shown in the content of the movies and who could make them. It is important to examine how the movies and film industry was influenced by the Second Red Scare. This is because Hollywood was strongly affected not only at this time but …


The Effect Of Proximal Carceral Contact On Political Participation, Emily Loomis Jan 2021

The Effect Of Proximal Carceral Contact On Political Participation, Emily Loomis

Honors Program Theses

In light of the events of the summer of 2020 with the murder of George Floyd, Ahmaud Arbery, and Breanna Taylor, the United States has seen nationwide protests. The purpose of this research is to further examine the relationship between the criminal justice system and the individuals who come into indirect contact with it. The carceral state, or criminal justice system, has expanded rapidly in the last fifty years. An institution of its size and influence has far-reaching consequences, including on those who do not directly come into contact with it. This can affect how everyday citizens interact with the …


U.S. Presidential Election Portrayed By Foreign Media: Costa Rica And Nicaragua Comparative Study, Emily Neumann Jan 2021

U.S. Presidential Election Portrayed By Foreign Media: Costa Rica And Nicaragua Comparative Study, Emily Neumann

Honors Program Theses

The U.S. presidential election not only grabs a lot of media attention from the United States, but it also catches the attention of media from around the world. How does the foreign media portray the U.S. presidential election? This study seeks to answer a piece of this question through an analysis of media sources in Costa Rica and Nicaragua in the hopes of better informing audiences on the potential frames their media be constructing their information through. The analysis considers the tone, along with the articles’ conversations of policy and personality of the candidates. After selecting 10 articles from each …


The Administration Of American Elections During The Covid-19 Pandemic, Sydney Wagner Jan 2021

The Administration Of American Elections During The Covid-19 Pandemic, Sydney Wagner

Honors Program Theses

Elazar identifies three main political subcultures that intermingle to form the national political culture: traditionalistic, moralistic, and individualistic. I am using these three political subcultures to see if they offer an insight into each state’s decision regarding election administration. In times of crises such as the COVID-19 pandemic, will states react differently as they attempt to administer elections and does political culture inform such varied responses? I conducted case studies of Iowa, Georgia, and Pennsylvania and applied a series of variables including the strength of each state’s voter ID law, the voter turnout, state office control, and relevant events. After …


Exploring Voting Habits And Attitudes Of Lgbtq+ College Students In The United States, Jordan Weber Jan 2021

Exploring Voting Habits And Attitudes Of Lgbtq+ College Students In The United States, Jordan Weber

Honors Program Theses

Citizens of the United States are regularly reminded of the importance of voting in elections. However, data shows the youngest voters turnout at the polls in far fewer numbers than older generations. The same cannot be said for marginalized and minority groups, such as members of the Lesbian, Gay, Bisexual, Transgender, and Queer (LGBTQ) community. Past studies have shown that these individuals are more likely to vote than their peers who are not members of this community. While there is information about voting habits of both the youngest voters and LGBTQ citizens, there has been little research done about the …


การดำเนินนโยบายความมั่นคงของฟิลิปปินส์ต่อจีนในกรณีพิพาททะเลจีนใต้ ค.ศ.2010-2016, ณัฐเชษฐ์ เสงี่ยมพงษ์ Jan 2021

การดำเนินนโยบายความมั่นคงของฟิลิปปินส์ต่อจีนในกรณีพิพาททะเลจีนใต้ ค.ศ.2010-2016, ณัฐเชษฐ์ เสงี่ยมพงษ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการศึกษาการดำเนินนโยบายของประเทศจีนในการขยายอาณาเขตทางทะเลบริเวณทะเลจีนใต้ และศึกษาการดำเนินการของประเทศฟิลิปปินส์หลังจากการดำเนินการของจีนที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติทางทะเล เพื่อนำมาสู่งการวิเคราะห์การกระทำของฟิลิปปินส์หลังถูกกระทบด้านความมั่นคงจากการขยายอิทธิพลของจีนในพื้นที่พิพาททะเลจีนใต้ ผลวิจัยพบว่าจากการที่จีนยังคงยืนยันการอ้างสิทธิ์ในกรณีพิพาททะเลจีนใต้ เป็นความพยายามที่ต้องการครอบครองทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ทะเลจีนใต้ อีกทั้งต้องการขยายเศรษฐกิจประเทศของตนเพื่อตอบสนองต่อวิสัยทัศน์ Chinese Dream ซึ่งมีความต้องการครอบครองเส้นทางคมนาคมในพื้นที่ เพื่อเป็นประตูทางทะเลของประเทศออกสู่มหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ส่งผลกระทบด้านความมั่นคงต่อประเทศพิพาทอย่างประเทศฟิลิปปินส์ ทำให้การดำรงชีวิตของประชาชนฟิลิปปินส์มีความไม่ปลอดภัยจากการดำรงชีพตามวิถีเดิมของตน อีกทั้งประเด็นทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ทับซ้อน ฟิลิปปินส์จึงต้องมียุทธศาสตร์ขึ้นมาเพื่อรองรับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในการขยายอิทธิพลทางทะเลของประเทศจีน เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันตน อีกทั้งได้พยายามสร้างพันธมิตรเพื่อสร้างความสมดุลขึ้นในระบบระหว่างประเทศ โดยได้ใช้ความสัมพันธ์ที่มีมายาวนานกับมหาอำนาจโลกอย่างสหรัฐฯ และญี่ปุ่น เข้ามามีบทบาทสำคัญในการกำหนดยุทธศาสตร์ของประเทศ ซึ่งงานวิจัยนี้จะทำให้เห็นความพยายามของฟิลิปปินส์ที่ดำเนินนโยบายในการป้องกันประเทศในการถูกผลกระทบจากประเทศมหาอำนาจที่พยายามขยายอิทธิพล จนกระทบต่อความมั่นคงของประเทศตนเองแล้วกำหนดออกมาเป็นยุทธศาสตร์ของประเทศ ซึ่งนับได้ว่าเป็นตัวอย่างในการดำเนินการที่ดีในการป้องกันประเทศ


การดำเนินนโยบายมุ่งใต้ใหม่ของไต้หวันในฐานะเครื่องมือในการสร้างมิตรประเทศ, ณัชพล สังขะโห Jan 2021

การดำเนินนโยบายมุ่งใต้ใหม่ของไต้หวันในฐานะเครื่องมือในการสร้างมิตรประเทศ, ณัชพล สังขะโห

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

สารนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตอบคำถามว่าไต้หวันพยายามถ่วงดุลอำนาจจีน โดยใช้นโยบายมุ่งใต้ใหม่ (New Southbound Policy) เป็นเครื่องมืออย่างไร จากการศึกษาพบว่า นโยบายมุ่งใต้ใหม่ (New Southbound Policy) เป็นเครื่องมือของไต้หวันในการถ่วงดุลอำนาจจีนแบบละมุนละม่อม (soft balancing) โดยผลักดันให้เกิดการสร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับ “มิตรประเทศ” เป้าหมายยุทธศาสตร์ของไต้หวัน 18 ประเทศ ซึ่งให้ความสำคัญกับบุคคลเป็นศูนย์กลาง (people-centered) และแลกเปลี่ยนความรู้และทรัพยากรระหว่างไต้หวันกับประเทศเป้าหมายยุทธศาสตร์ในด้านต่าง ๆ เช่น การค้า การศึกษา การเกษตร การท่องเที่ยว การแพทย์ สังคมและวัฒนธรรม เป็นต้น เพื่อลดการพึ่งพาทางเศรษฐกิจจากจีนและเป็นการสร้าง “แนวร่วม” ที่มีผลประโยชน์และเป้าหมายร่วมกัน (like-minded nations) เนื่องจากมิตรประเทศต้องพึ่งพาเศรษฐกิจกับไต้หวัน จึงต้องรักษาผลประโยชน์ของตน อีกทั้งเป็นการรวมกลุ่มของมิตรประเทศค่านิยมทางการเมืองร่วมกันจากการเป็นรัฐประชาธิปไตย จึงเป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างความมั่นคงของไต้หวันในการยับยั้งจีนไม่ให้คุกคามไต้หวันจากหลักการจีนเดียวและเป็นการรักษาสถานะเดิมที่เป็นอยู่ของไต้หวัน


อุตสาหกรรมภาพยนตร์กับ Soft Power ของจีน: กรณีศึกษาภาพยนต์ของ เจียจางเค่อ, ธนาภัทร ธานีรัตน์ Jan 2021

อุตสาหกรรมภาพยนตร์กับ Soft Power ของจีน: กรณีศึกษาภาพยนต์ของ เจียจางเค่อ, ธนาภัทร ธานีรัตน์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

สารนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษานโยบายและข้อจำกัดในการเผยแพร่วัฒนธรรมของจีนผ่านภาพยนตร์ ศึกษาจุดแข็งและจุดอ่อนของการดำเนินนโยบายเผยแพร่วัฒนธรรมของจีนผ่านภาพยนตร์ และศึกษาผลกระทบต่อภาพลักษณ์จีนในเวทีระหว่างประเทศต่อการเผยแพร่ภาพยนตร์ที่สะท้อนภาพลักษณ์ทางสังคมจีน ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้ ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพแบบวิจัยเชิงเอกสารเป็นหลัก โดยเน้นนโยบายและยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมภาพยนตร์ของจีน และผลงานภาพยนตร์ของ เจีย จางเค่อ 3 เรื่อง ได้แก่ Still Life (2006), 24 City (2008) และ A Touch of Sin (2013) มาประกอบการวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า บทบาทภาพยนตร์อาจเป็นเครื่องมือของรัฐในการทำหน้าที่ในแง่ของ Soft Power ที่รัฐพยายามพัฒนาภาพลักษณ์ของชาติ แต่ผลลัพธ์จากการที่จีนพยายามทุ่มเทกับการใช้ทรัพยากรดังกล่าวไม่สามารถทำให้ประเทศในเวทีระหว่างประเทศคล้อยตามได้เสมอไป เพราะภาพยนตร์ไม่ใช่เป็นเครื่องมือที่น่าเชื่อถือในการส่งเสริมภาพลักษณ์หรือเอกลักษณ์ของประเทศให้ดีขึ้น (เพื่อจุดประสงค์การเพิ่ม Soft Power) ดังนั้นการผลิตหรือส่งออกภาพยนตร์ที่มากขึ้นไม่ได้หมายถึงการเพิ่ม Soft Power เสมอไป ซึ่งเจียได้แสดงให้เห็นว่าบทบาทของภาพยนตร์เป็นได้มากกว่าแค่เครื่องมือของรัฐเพื่อการส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีและการสร้างอำนาจให้กับรัฐ การที่ประเทศใดประเทศหนึ่งมีอุตสาหกรรมบันเทิงที่น่าดึงดูดอาจสวนทางกับภาพลักษณ์ที่ดีที่รัฐพยายามส่งเสริม หรือสิ่งที่น่าดึงดูดกลับกลายมาจากภาพยนตร์ไม่ใช่เพราะแรงดึงดูดจากประเทศนั้น


นโยบายรัฐบาลอัฟกานิสถานต่อการพัฒนาสิทธิสตรีในสมัยประธานาธิบดีฮามิด คาร์ไซ ระหว่าง ค.ศ. 2001 - 2014, มุกขรินทร์ ลาวัณลักขณา Jan 2021

นโยบายรัฐบาลอัฟกานิสถานต่อการพัฒนาสิทธิสตรีในสมัยประธานาธิบดีฮามิด คาร์ไซ ระหว่าง ค.ศ. 2001 - 2014, มุกขรินทร์ ลาวัณลักขณา

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

บทความวิจัยนี้ศึกษาและวิเคราะห์นโยบายรัฐบาลอัฟกานิสถานต่อการพัฒนาสิทธิสตรีในสมัยประธานาธิบดีฮามิด คาร์ไซ ภายหลังการล่มสลายของตาลีบันระหว่าง ค.ศ. 2001 – 2014 โดยใช้หลัก “วัฏจักรของบรรทัดฐาน” (Norm Life Cycle) ภายใต้แนวคิดพลวัตรของบรรทัดฐานระหว่างประเทศ (International Norm Dynamics) เป็นกรอบวิเคราะห์นโยบายของรัฐบาลอัฟกานิสถานต่อการพัฒนาสิทธิสตรี ใน 3 ด้านสำคัญ ได้แก่ ด้านการดำเนินชีวิตในสังคมและสิทธิทางการเมือง ด้านการศึกษาและการทำงาน และด้านสาธารณสุข เพื่อวิเคราะห์ว่า อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้รัฐบาลอัฟกานิสถานในสมัยประธานาธิบดีฮามิด คาร์ไซ ระหว่าง ค.ศ. 2001 – 2014 ไม่สามารถดำเนินนโยบายส่งเสริมสิทธิสตรีได้อย่างมีประสิทธิภาพ บทความวิจัยนี้ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากข้อตกลงระหว่างประเทศ เอกสารราชการของอัฟกานิสถาน หนังสือและบทความจากวารสารทางวิชาการที่นำเสนอเกี่ยวกับนโยบายรัฐบาลอัฟกานิสถานต่อการพัฒนาสิทธิสตรีในสมัยประธานาธิบดีฮามิด คาร์ไซ ระหว่าง ค.ศ. 2001 – 2014 รวมถึงรายงานสรุปสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนในช่วงเวลาดังกล่าว เพื่อสนับสนุนข้อเสนอของบทความวิจัยนี้ คือ ปัจจัยสำคัญที่ทำให้รัฐบาลอัฟกานิสถานไม่สามารถดำเนินนโยบายพัฒนาสิทธิสตรีได้อย่างมีประสิทธิภาพ คือ ปัจจัยระดับรัฐบาลและระดับสังคม


นโยบายต่างประเทศของฟิลิปปินส์ต่อจีนสมัยประธานาธิบดีโรดริโก ดูเตอร์เต ในระหว่าง ค.ศ.2016-2021: ความต่อเนื่องและการเปลี่ยนแปลง, กมลรัตน์ สุขิโต Jan 2021

นโยบายต่างประเทศของฟิลิปปินส์ต่อจีนสมัยประธานาธิบดีโรดริโก ดูเตอร์เต ในระหว่าง ค.ศ.2016-2021: ความต่อเนื่องและการเปลี่ยนแปลง, กมลรัตน์ สุขิโต

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

สารนิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ศึกษาแนวคิดของประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ซึ่งเป็นผู้กำหนดนโยบายต่างประเทศเพื่อสร้างสมดุลระหว่างความมั่นคงกับผลประโยชน์ของชาติและเพื่อทำความเข้าใจบริบทการเมืองระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สารนิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาว่าเพราะเหตุใดนโยบายต่างประเทศของฟิลิปปินส์ต่อจีนในสมัยของนายดูเตอร์เตจึงเปลี่ยนท่าทีจากแข็งกร้าวเป็นประนีประนอม ในระหว่าง ค.ศ.2016-2021 สารนิพนธ์ฉบับนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพที่เน้นวิเคราะห์ข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้องทั้งเอกสารวิชาการ งานวิจัย และข้อมูลข่าวในสื่อต่างๆ โดยใช้กระบวนการศึกษาสภาพทางจิตวิทยาการเมืองของผู้นำโลก (The Political Psychology of World Leaders) ของ วาลเลอรี่ ฮัดสัน (Valerie Hudson) ที่อธิบายถึงพฤติกรรมการตอบสนองทางจิตวิทยาของผู้นำที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกดำเนินนโยบายต่างประเทศอย่างใดอย่างหนึ่ง ผลการศึกษาพบว่านายดูเตอร์เตปรับท่าทีหลายครั้งในนโยบายต่างประเทศต่อจีน เริ่มจากสร้างความสัมพันธ์ที่เป็นมิตรและสร้างสรรค์มากขึ้น พยายามมีส่วนร่วมกับจีนเพื่อแสวงหาผลประโยชน์และลดแรงกดดันจากกรณีพิพาททางทะเลในอดีตเมื่อเทียบกับจุดยืนที่คงความสัมพันธ์กับสหรัฐอเมริกาไว้ แต่ก็แสดงจุดยืนในเรื่องกรณีพิพาททางทะเลว่าฟิลิปปินส์จะไม่ยอมรับการดำเนินการใดๆของจีนที่จะล้ำเส้นในพื้นที่สิทธิ์ทางทะเล ความคิดและการแสดงออกในนโยบายของนายดูเตอร์เตนั้นมาจากแนวคิดชาตินิยมของเขาและความเข้าใจรับรู้ผ่านประสบการณ์ของตนเองในอดีตต่อสถานการณ์ต่างประเทศของฟิลิปปินส์ ที่นำมาตีความการตัดสินใจกำหนดนโยบายต่างประเทศโดยเลือกระบุตนเองให้เข้ากับบทบาท สถานภาพที่ต้องการ เลือกเป้าหมาย เลือกวิธีกระทำ เพื่อให้บรรลุถึงความพอใจในความเป็นตัวตนของตนเองเพราะต้องการให้ประชาชนยอมรับว่านโยบายต่างประเทศที่ดำเนินต่อจีนนั้นเหมาะสมและชอบธรรมภายใต้การเป็นผู้นำฟิลิปปินส์ของเขา


การผลักดันนโยบายกับการพัฒนาสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (Lgbtqi+) ในญี่ปุ่น ช่วงปี 2015 – 2021, รัตติกาล นุระธนะ Jan 2021

การผลักดันนโยบายกับการพัฒนาสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (Lgbtqi+) ในญี่ปุ่น ช่วงปี 2015 – 2021, รัตติกาล นุระธนะ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

บทความวิจัยนี้ศึกษาถึงแนวทางหรือกลยุทธ์ในการผลักดันนโยบายกับการพัฒนาสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTQI+) ในญี่ปุ่น โดยใช้กรอบการวิเคราะห์แนวคิดเรื่องแนวทางการผลักดันนโยบาย (policy entrepreneurship) เพื่อมุ่งตอบคำถามว่า ในช่วงปี 2015 – 2021 ญี่ปุ่นมีแนวทางในการผลักดันเรื่องการยอมรับกลุ่ม LGBTQI+ กับการพัฒนาสิทธิของกลุ่ม LGBTQI+ อย่างไร บทความวิจัยนี้เสนอว่าญี่ปุ่นมีแนวทางในการผลักดันการยอมรับกลุ่ม LGBTQI+ กับการพัฒนาสิทธิของกลุ่ม LGBTQI+ โดยแบ่งออกเป็นสองแนวทาง คือ 1) ผู้ผลักดันนโยบาย (policy entrepreneurs) ซึ่งประกอบไปด้วยหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนของญี่ปุ่นต่างรณรงค์ รวมกลุ่มจัดกิจกรรมเพื่อผลักดันให้มีการยอมรับกลุ่ม LGBTQI+ โดยอาศัย “ช่องโอกาส” (windows of opportunity) เป็นเครื่องมือที่กระตุ้นให้เกิดการผลักดันการยอมรับกลุ่ม LGBTQI+ 2) การใช้แรงกดดันจากการที่องค์กรระหว่างประเทศ หรือนานาชาติต่างยอมรับกลุ่ม LGBTQI+ เป็นเหตุผลข้ออ้างผลักดันให้ญี่ปุ่นดำเนินการเพื่อเป็นที่ยอมรับตามบรรทัดฐานสากล ในเรื่องนโยบายการยอมรับกลุ่ม LGBTQI+ ในประเทศ โดยใช้กระบวนการทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของประเทศ (Universal Periodic Review หรือ UPR) เป็นเครื่องมือกดดันเพื่อให้ญี่ปุ่นมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายด้านสิทธิต่อกลุ่ม LGBTQI+ มากขึ้นจนเป็นบรรทัดฐานใหม่ในสังคมญี่ปุ่น


ทิศทางความร่วมมือด้านพลังงานของไทยกับญี่ปุ่นในช่วงการเปลี่ยนผ่านทางพลังงาน, เวทิศ ธนกรดิษฐ์ Jan 2021

ทิศทางความร่วมมือด้านพลังงานของไทยกับญี่ปุ่นในช่วงการเปลี่ยนผ่านทางพลังงาน, เวทิศ ธนกรดิษฐ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

สารนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจะตอบคำถามว่า แนวคิดเรื่องการเปลี่ยนผ่านทางพลังงานโลก ส่งผลกระทบต่อความร่วมมือด้านพลังงานระหว่างไทยและญี่ปุ่นอย่างไร จากการศึกษาพบว่า การเปลี่ยนผ่านทางพลังงานโลก ทำให้ทั้งประเทศไทยและญี่ปุ่นกำหนดเป้าหมายด้านพลังงานไปในทิศทางเดียวกันเพื่อมุ่งไปสู่การสร้างนโยบายด้านพลังงานที่สอดรับกับกรอบการเปลี่ยนผ่านพลังงานโลก โดยญี่ปุ่นได้วางตัวเองเป็นผู้นำด้านการเปลี่ยนแปลงนโยบายพลังงานในภูมิภาคเอเชีย และเข้ามาให้ความช่วยเหลือด้านเทคโนโลยีแก่ประเทศต่าง ๆ รวมถึงการสร้างความร่วมมือด้านพลังงานกับประเทศไทย ซึ่งเป็นฐานการผลิตที่สำคัญของญี่ปุ่นในภูมิภาค ลักษณะเช่นนี้ชี้ให้เห็นถึงแนวโน้มของการพึ่งพิงระหว่างประเทศ และอาจเป็นเครื่องมือกำหนดความร่วมมือด้านพลังงานอื่น ๆ ของทั้งสองต่อไปในอนาคต


ความสัมพันธ์ระหว่างอียิปต์กับจีนระหว่าง ค.ศ 2018-2021: ศึกษากรณีโครงการหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง, ประดับพร วงศ์ปัญญา Jan 2021

ความสัมพันธ์ระหว่างอียิปต์กับจีนระหว่าง ค.ศ 2018-2021: ศึกษากรณีโครงการหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง, ประดับพร วงศ์ปัญญา

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

บทความวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาและวิเคราะห์ถึงผลประโยชน์ของอียิปต์ผ่านโครงการหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทางของจีน (The Belt and Road Initiative: BRI) โดยใช้แนวคิดภูมิรัฐศาสตร์แบบดั้งเดิม จากการศึกษาพบว่า อียิปต์ตระหนักดีว่า ลักษณะภูมิประเทศของอียิปต์เป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์สำคัญที่จะช่วยผลักดันโครงการ BRI ให้สำเร็จ รวมถึงได้ปฏิรูปมาตรการทางเศรษฐกิจเพื่อดึงดูดการลงทุนจากจีนและต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ จีนและอียิปต์เห็นพ้องต้องกันว่า โครงการ BRI กับการพัฒนาตามวิสัยทัศน์อียิปต์ ค.ศ. 2030 (Egypt Vision 2030) เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งจีนได้เข้ามาลงทุนในเศรษฐกิจอียิปต์ โดยเฉพาะการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในโครงการสำคัญของ BRI และวิสัยทัศน์อียิปต์ ค.ศ. 2030 เช่น เขตความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการค้าคลองสุเอซ เขตพัฒนาอุตสาหกรรมคลองสุเอซ และโครงการเมืองหลวงแห่งใหม่ ทำให้ได้รับผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจและการเมือง สามารถสร้างงานให้กับประชาชน แต่อียิปต์ไม่ได้รับผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองจากโครงการ BRI มากเท่าที่ควร เพราะตลอดระยะเวลา 8 ปีที่อียิปต์เข้าร่วมโครงการ BRI จีนลงทุน ในอียิปต์ภายใต้โครงการ BRI เพียง 4 โครงการ และไม่ได้เป็นประเทศผู้ลงทุนหลักในอียิปต์ รวมถึงอียิปต์ยังคง มีข้อท้าทายความสัมพันธ์กับจีนในเรื่องเขื่อนแกรนด์เอธิโอเปียเรเนซองส์ ในเอธิโอเปีย นอกจากนี้ อียิปต์ยังต้องรักษาความสัมพันธ์กับสหรัฐอเมริกา เพราะหากพึ่งพาจีนมากเกินไป สหรัฐอเมริกาอาจจะพิจารณาลดหรือระงับงบประมาณความช่วยเหลือทางการทหาร


การจัดหายุทโธปกรณ์ของกองทัพเรือ กับการสร้างสมดุลของไทยหลังการรัฐประหารปี ๒๐๑๔, กังสดาล สุจเร Jan 2021

การจัดหายุทโธปกรณ์ของกองทัพเรือ กับการสร้างสมดุลของไทยหลังการรัฐประหารปี ๒๐๑๔, กังสดาล สุจเร

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

บทความวิจัยฉบับนี้วิเคราะห์อิทธิพลของมหาอำนาจอย่างสหรัฐฯ และจีนในศตวรรษที่ ๒๑ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายหลังการรัฐประหารปี ๒๐๑๔ ในฐานะปัจจัยภายนอก และการดำเนินนโยบายต่างประเทศของไทยตามยุทธศาสตร์การประกันความเสี่ยง (Hedging) ในการสร้างสมดุลระหว่างอิทธิพลมหาอำนาจดังกล่าวในฐานะปัจจัยภายใน ว่าทั้งสองส่วนนี้ส่งผลกระทบอย่างไรต่อการจัดหายุทโธปกรณ์ของ ทร. โดยเสนอผ่านกรอบแนวคิดการประกันความเสี่ยง ของ Evelyn Goh และการจัดหายุทโธปกรณ์เป็นเครื่องมือทางการทูต (Procurement Diplomacy) เพื่อมุ่งตอบคำถามว่า การจัดหายุทโธปกรณ์ของ ทร. ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างสมดุลภายใต้อิทธิพลของมหาอำนาจอย่างสหรัฐฯ และจีนอย่างไร ซึ่งเมื่อศึกษาจากนโยบายต่างประเทศของสหรัฐฯ และจีน ประกอบกับระเบียบและแนวทางที่เกี่ยวข้องกับการจัดหายุทโธปกรณ์ของไทย รวมถึงบทความทางวิชาการที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ และการสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานด้านการจัดหายุทโธปกรณ์ของ ทร. แล้วพบว่า การจัดหายุทโธปกรณ์ของ ทร. แบบรัฐบาลต่อรัฐบาล ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างสมดุลภายใต้อิทธิพลของสหรัฐฯ และจีน ส่งผลให้เกิดความหลากหลายของยุทโธปกรณ์ในชนิดเดียวกัน และกระทบต่อขีดความสามารถของกำลังรบ ทร. ซึ่งเป็นผลการวิจัยที่แสดงในบทความฉบับนี้


นโยบายการเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคตะวันออกกลางของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์, ธำรงศักดิ์ สุนทรภัค Jan 2021

นโยบายการเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคตะวันออกกลางของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์, ธำรงศักดิ์ สุนทรภัค

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ทำให้สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ตัดสินใจดำเนินนโยบายต่างประเทศเพื่อยกระดับขีดความสามารถของตนในมิติต่าง ๆ ให้โดดเด่นในเวทีระหว่างประเทศมากขึ้น โดยใช้กรอบการวิเคราะห์นโยบายต่างประเทศ 3 ระดับ ได้แก่ ระดับบุคคล ระดับรัฐ และระดับระหว่างประเทศ เป็นกรอบแนวคิดหลัก ผู้วิจัยพบว่าปัจจัยระดับบุคคลคือปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการกำหนดนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์มากที่สุด โดยเฉพาะ Mohammed bin Zayed al-Nahyan มกุฎราชกุมารแห่งรัฐอาบูดาบีที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกลในการบริหารราชการแผ่นดินและมีอิทธิพลต่อกระบวนการกำหนดนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์มากขึ้นตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 2000 เป็นต้นมา ทำให้สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ปรับเปลี่ยนนโยบายต่างประเทศจากการวางตัวเป็นกลางและมุ่งสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับนานาประเทศเป็นนโยบายต่างประเทศที่พยายามมุ่งพัฒนาขีดความสามารถในมิติต่าง ๆ ได้แก่ การทูต เศรษฐกิจ เทคโนโลยี พลังงาน และการทหาร ให้โดดเด่นอย่างชัดเจน เพื่อเป็นหลักประกันความมั่นคงให้กับประเทศในระยะยาวท่ามกลางสถานการณ์ระหว่างประเทศที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วมากขึ้น