Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Dentistry Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

1999

Discipline
Institution
Keyword
Publication
Publication Type

Articles 1 - 30 of 107

Full-Text Articles in Dentistry

Ada News - 12/13/1999, American Dental Association, Publishing Division Dec 1999

Ada News - 12/13/1999, American Dental Association, Publishing Division

ADA News

Established in 1970 as the official newspaper of the American Dental Association, the ADA News serves practicing dentists and others allied to the dental profession in the U.S. and internationally. It is the No. 1 source of news and information about the many benefits and services the ADA delivers to members daily as well as timely information on scientific, social, political and economic developments affecting dentistry and health care.


Ada News - 11/15/1999, American Dental Association, Publishing Division Nov 1999

Ada News - 11/15/1999, American Dental Association, Publishing Division

ADA News

Established in 1970 as the official newspaper of the American Dental Association, the ADA News serves practicing dentists and others allied to the dental profession in the U.S. and internationally. It is the No. 1 source of news and information about the many benefits and services the ADA delivers to members daily as well as timely information on scientific, social, political and economic developments affecting dentistry and health care.


The Current State Of Practice Administration Curricula In U.S. Dental Schools., Brian M. Lange, David G. Dunning, Denise C.L. Stewart, Jack L. Hardage Nov 1999

The Current State Of Practice Administration Curricula In U.S. Dental Schools., Brian M. Lange, David G. Dunning, Denise C.L. Stewart, Jack L. Hardage

Journal Articles: College of Dentistry

No abstract provided.


Mechanisms Of Gene Transfer Mediated By Lipoplexes Associated With Targeting Ligands Or Ph-Sensitive Peptides, Sérgio Simões, Vladimir Slepushkin, Pedro Pires, Rogério Gaspar, Maria C. Pedroso De Lima, Nejat Düzgüneş Nov 1999

Mechanisms Of Gene Transfer Mediated By Lipoplexes Associated With Targeting Ligands Or Ph-Sensitive Peptides, Sérgio Simões, Vladimir Slepushkin, Pedro Pires, Rogério Gaspar, Maria C. Pedroso De Lima, Nejat Düzgüneş

All Dugoni School of Dentistry Faculty Articles

Association of a targeting ligand such as transferrin, or an endosome disrupting peptide such as GALA, with cationic liposome-DNA complexes ('lipoplexes') results in a significant enhancement of transfection of several cell types. Although these strategies can overcome some of the barriers to gene delivery by lipoplexes, the mechanisms by which they actually enhance transfection is not known. In studies designed to establish the targeting specificity of transferrin, we found that apo-transferrin enhances transfection to the same extent as transferrin, indicating that internalization of the lipoplexes is mostly independent of transferrin receptors. These observations were reinforced by results obtained from competitive …


Ada News - 11/01/1999, American Dental Association, Publishing Division Nov 1999

Ada News - 11/01/1999, American Dental Association, Publishing Division

ADA News

Established in 1970 as the official newspaper of the American Dental Association, the ADA News serves practicing dentists and others allied to the dental profession in the U.S. and internationally. It is the No. 1 source of news and information about the many benefits and services the ADA delivers to members daily as well as timely information on scientific, social, political and economic developments affecting dentistry and health care.


Ada News - 10/18/1999, American Dental Association, Publishing Division Oct 1999

Ada News - 10/18/1999, American Dental Association, Publishing Division

ADA News

Established in 1970 as the official newspaper of the American Dental Association, the ADA News serves practicing dentists and others allied to the dental profession in the U.S. and internationally. It is the No. 1 source of news and information about the many benefits and services the ADA delivers to members daily as well as timely information on scientific, social, political and economic developments affecting dentistry and health care.


Ada News - 10/04/1999, American Dental Association, Publishing Division Oct 1999

Ada News - 10/04/1999, American Dental Association, Publishing Division

ADA News

Established in 1970 as the official newspaper of the American Dental Association, the ADA News serves practicing dentists and others allied to the dental profession in the U.S. and internationally. It is the No. 1 source of news and information about the many benefits and services the ADA delivers to members daily as well as timely information on scientific, social, political and economic developments affecting dentistry and health care.


Ada News - 09/20/1999, American Dental Association, Publishing Division Sep 1999

Ada News - 09/20/1999, American Dental Association, Publishing Division

ADA News

Established in 1970 as the official newspaper of the American Dental Association, the ADA News serves practicing dentists and others allied to the dental profession in the U.S. and internationally. It is the No. 1 source of news and information about the many benefits and services the ADA delivers to members daily as well as timely information on scientific, social, political and economic developments affecting dentistry and health care.


Ada News - 09/06/1999, American Dental Association, Publishing Division Sep 1999

Ada News - 09/06/1999, American Dental Association, Publishing Division

ADA News

Established in 1970 as the official newspaper of the American Dental Association, the ADA News serves practicing dentists and others allied to the dental profession in the U.S. and internationally. It is the No. 1 source of news and information about the many benefits and services the ADA delivers to members daily as well as timely information on scientific, social, political and economic developments affecting dentistry and health care.


Familial Cases Of Missing Mandibular Incisor: Three Case Presentations, W. L. Chai, W.C. Ngeow Sep 1999

Familial Cases Of Missing Mandibular Incisor: Three Case Presentations, W. L. Chai, W.C. Ngeow

Wei Cheong Ngeow

Hypodontia is the congenital absence of one or more teeth because of agenesis. The most commonly missing teeth are the third molars, the maxillary lateral incisors and the second premolars. Cases are presented of three patients with a missing mandibular incisor.


The Effect Of Mandibular First Molar Tip Back On Mandibular Incisor Long-Term Stability, Barton L. Soper Sep 1999

The Effect Of Mandibular First Molar Tip Back On Mandibular Incisor Long-Term Stability, Barton L. Soper

Loma Linda University Electronic Theses, Dissertations & Projects

The purpose of this study is to determine if mandibular first molar distal tip back during orthodontic treatment will result in improved long-term alignment of mandibular incisors. Our pre and posttreatment sample consisted of 57 Class I and Class II patients (40 female and 17 male). Incisor irregularity was recorded at T2 and T4 (average of 12.9 years postretention at T4). Molar tipback was evaluated T1 to T2 and T2 to T4. The sample was divided into 3 groups - molars tipped distally 1 degree or more during treatment, molars essentially not tipped, and molars tipped mesially 1 degree or …


Various Presentation Styles For Informing Parents About Pediatric Dental Procedures, Tracy Dean Walker Sep 1999

Various Presentation Styles For Informing Parents About Pediatric Dental Procedures, Tracy Dean Walker

Loma Linda University Electronic Theses, Dissertations & Projects

Purpose: The treatment of pediatric dental patients can only be as effective as the degree to which the parent consents to treatment. This study was designed to A) determine the most effective method of communicating a dental procedure to the parent of a pediatric patient and B) determine the impact that various presentation methods would have on a parent's willingness to give informed consent.

Methods: A Pulpotomy procedure was explained to each parent by one of the following methods; 1) written, 2) written and model, 3) verbal or 4) verbal and model.

Results: A statistically significant relationship was shown between …


Clinical Debonding Simulation Study Of One Metal And Two Ceramic Brackets, Hyunsup Shim Sep 1999

Clinical Debonding Simulation Study Of One Metal And Two Ceramic Brackets, Hyunsup Shim

Loma Linda University Electronic Theses, Dissertations & Projects

The purpose of this study is to compare two mechanical debonding methods on ceramic brackets (TP MXi and 3M Clarity) and a metal bracket (GAC OmniArch) with four different bonding materials (light-cured, one-step chemical-cured, two-step chemical-cured, and Fuji GIC) in clinical simulation, where the diametral force was applied on the handle of the pliers. The effectiveness of mechanical debonding technique was determined by evaluating the following variables: the amount of force required to debond the bracket, the amount of residual adhesive remaining on the enamel surface, the frequency of unexpected bracket failure, and the prevalence of visible enamel damage. The …


Behçet's Disease-A Literature Review, Poramate Pitak-Arnnop Sep 1999

Behçet's Disease-A Literature Review, Poramate Pitak-Arnnop

Chulalongkorn University Dental Journal

Behçet's disease is a multisystemic inflammatory disease with histological evidence for vasculitis and characterized by mucocutaneous, ocular, articular, vascular, intestinal, pulmonary, renal and neurologic involvement. According to the diagnostic criteria formed by the International Study Group, recurrent oral ulceration is a prerequisite, with two more typical symptoms or signs. It is a disease of young adults with a more severe course in male subjects. Its prevalence is high in the Mediterranean basin, Turkey, Japan and those ethnic groups along the old Silk Route and has been known to be associated with HLA-B5 and HLA-B11. Although the pathogenesis of the disease …


Smile: An Esthetic Point Of View, Rud Sooparb, Issarawan Boonsiri Sep 1999

Smile: An Esthetic Point Of View, Rud Sooparb, Issarawan Boonsiri

Chulalongkorn University Dental Journal

Smile is a complicated system to express emotions. It was formed by both skeletal tissue and soft tissue. In the investigations of hard tissue, sella-nasion to mandibular plane (SN-MP) and sellanasion to palatal plane to upper incisal edge are the comprehensive factors. For soft tissue studies, nasolabial fold acts as the keystone of the smiling mechanism. The circumoral muscles play and important roll in 2 stages to raise upper lip first and then lip and fold are raise as well as contracted later. As smile was formed, it represented high, average, and low smile line. Upper lip that touches gingival …


ความเป็นพิษของปรอทต่อเซลล์เพาะเลี้ยงจากเนื้อเยื่อในโพรงฟันของคน, จีรศักดิ์ นพคุณ Sep 1999

ความเป็นพิษของปรอทต่อเซลล์เพาะเลี้ยงจากเนื้อเยื่อในโพรงฟันของคน, จีรศักดิ์ นพคุณ

Chulalongkorn University Dental Journal

วัตถุประสงค์ ปรอทถูกนํามาใช้เป็นส่วนผสมในวัสดุอุดฟันมาเป็นเวลานาน ซึ่งถึงแม้จะมีประโยชน์เป็นอย่างมากต่อ การบูรณะฟัน แต่ความเป็นพิษของปรอทต่อเซลล์ และเนื้อเยื่อยังคงเป็นปัญหาที่ถกเถียงกันอย่างกว้างขวาง ดังนั้น การทดลองนี้จึงมีวัตถุประสงค์ เพื่อทดสอบความเป็นพิษของปรอทที่มีความเข้มข้น ระหว่าง 10-6-10-3 โมลาร์ (mole/L) เปรียบเทียบกับแกลเลี่ยม ที่มีความเข้มข้นเดียวกัน วัสดุและวิธีการ โดยทําการทดสอบกับเซลล์เพาะเลี้ยง ซึ่งเป็นเซลล์ไฟโบรบลาสต์ที่เพาะเลี้ยงจากเนื้อเยื่อในโพรงฟัน ของคน ทําการวิเคราะห์ความเป็นพิษของสารทดสอบด้วย MTT colorimetric assay ซึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์การ ทํางานของเอ็นไซม์ dehydrogenase ที่อยู่ในไมโทคอนเดรีย ผลการศึกษาและสรุป เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม ปรากฏว่า สารปรอทที่ความเข้มข้นระหว่าง 10-3 ถึง 10-4 โมลาร์ จะแสดงความเป็นพิษต่อการทํางานของเอ็นไซม์ dehydrogenase โดยที่ความเข้มข้น 10-3 โมลาร์ จะทําให้การ ทํางานของเอ็นไซม์ยุติลงโดยสิ้นเชิง ในขณะที่แกลเลี่ยมในความเข้มข้นต่างๆ ที่ใช้ทดสอบไม่ได้ก่อให้เกิดอันตรายต่อ การทํางานของเอ็นไซม์ dehydrogenase ในไมโทคอนเดรีย นอกจากนี้ยังพบว่าปรอทที่ความเข้มข้น 0.3 มิลลิโมลาร์ จะทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของลักษณะทางกายภาพของเซลล์และผิวเยื่อของเซลล์ เมื่อทําการศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด


ความคงทนสีของวัสดุอุดฟันสีธรรมชาติต่อแสงอาทิตย์, ชัยรัตน์ วิวัฒน์วรพันธ์, โบว์ พุกกะเวส, ฟ้าใส ภู่เกียรติ, ฐิตาภา สิริบุญวินิต Sep 1999

ความคงทนสีของวัสดุอุดฟันสีธรรมชาติต่อแสงอาทิตย์, ชัยรัตน์ วิวัฒน์วรพันธ์, โบว์ พุกกะเวส, ฟ้าใส ภู่เกียรติ, ฐิตาภา สิริบุญวินิต

Chulalongkorn University Dental Journal

วัตถุประสงค์ ทดสอบความคงทนสีของวัสดุอุดฟันสีธรรมชาติชนิดต่างๆ ภายหลังจากการได้รับแสงอาทิตย์เป็นเวลา 50 100 150 200 250 และ 300 ชั่วโมง วัสดุและวิธีการ วัสดุอุดฟันสีธรรมชาติที่ใช้ศึกษาได้แก่ คอมโพสิตเรซิน 2100 และ Herculite XRV คอมโพสิต- เรซินชนิดดัดแปรด้วยกรดโพลี Dyract กลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ Fuji IX และ Ketac-Molar กลาสไอโอโนเมอร์ซิเมนต์ชนิดดัดแปรด้วยเรซิน Fuji II LC improved และ Vitremer เตรียมชิ้นตัวอย่างขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 ซม. หนา 1.2 มม. จํานวน 6 ชิ้นในแต่ละผลิตภัณฑ์ แช่ในน้ํากลั่นที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมงแล้วนําไปวัดสี (L*, at, b) ด้วยเครื่องสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ จากนั้นแช่ในน้ํากลั่น 30 ซม. นําไปวาง กลางแสงอาทิตย์ ทําการวัดสี ณ ชั่วโมงที่ 50 100 150 200 250 และ 300 จากนั้นนําค่า L* a* และ b* มา คํานวณค่าความแตกต่างสี (AE) ของวัสดุที่ใช้ในการทดลองที่ชั่วโมงต่างๆ ตามลําดับผล ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของ AE” ของวัสดุที่ใช้ในการทดลองที่ชั่วโมงต่างๆ ตามลําดับ ดังนี้ Z100 มีค่า 0.74±0.11 0.77±0.06 0.79±0.07 1.01 +0.16 1.97 +0.25 และ 0.79 -0.13 Herculite XRV มีค่า 2.30±0.18 2.99±0.35 …


อีริทีมาไมแกรนส์- ลักษณะทางคลินิกและพยาธิวิทยา, ปรเมศร์ พิทักษ์อรรณพ Sep 1999

อีริทีมาไมแกรนส์- ลักษณะทางคลินิกและพยาธิวิทยา, ปรเมศร์ พิทักษ์อรรณพ

Chulalongkorn University Dental Journal

อีริทีมาไมแกรนด์เป็นรอยโรคไม่ร้ายแรง พบบ่อยที่ลิ้น แต่อาจพบได้ที่เยื่อเมือกด้านแก้ม พื้นช่องปาก เพดานปาก เหงือกและริมฝีปากปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด แต่เชื่อว่าสัมพันธ์กับโรคทางระบบอื่นหลายชนิด โดยเฉพาะโรคสะเก็ดเงิน กลุ่มอาการไรเทอร์ โรคภูมิแพ้ และความเครียดทางอารมณ์ ลักษณะทางคลินิกเป็นรอยเลี่ยนแดงขอบขรุขระ หลายตําแหน่ง ล้อมรอบด้วยเส้นหรือแถบหนานูนสีขาว ลักษณะเฉพาะของรอยโรคทั้งที่เกิด ที่ลิ้นและเยื่อเมือกช่องปากคือการย้ายที่ได้ เป็นๆ หายๆ ลักษณะทางจุลพยาธิวิทยาของเยื่อบุผิวตรงกลางรอยโรคมีการลดความหนาของชั้นเคราติน บวมน้ำ และการงอกเจริญร่วมกับการแทรกซึมของเม็ดเลือดขาวที่มีนิวเคลียสหลายพูในลักษณะฝีขนาดเล็ก ส่วนขอบของรอยโรคมีการสร้างเคราตินหรือพาราเคราตินมากเกิน ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่มีอาการจึงไม่ต้องการการรักษาเฉพาะ แต่ควรบอกผู้ป่วยให้ทราบว่าเป็นรอยโรคไม่ร้ายแรง และไม่สามารถเปลี่ยนแปลงเป็นเนื้อร้ายได้ ยกเว้นในรายที่มีอาการเจ็บปวด หรือปวดแสบปวดร้อน อาจพิจารณาใช้ยาชาเฉพาะที่ ยาต้านฮีสตามีนยาสเตียรอยด์ หรือยาละลายเคราตินช่วยบรรเทาอาการได้


Shear Bond Strength Of Metal Brackets To Temporary Crowns With Different Dental Adhesives And Bond Failure, Sirima Charoenpone Sep 1999

Shear Bond Strength Of Metal Brackets To Temporary Crowns With Different Dental Adhesives And Bond Failure, Sirima Charoenpone

Chulalongkorn University Dental Journal

Objectives The purposes of the current study were to compare the mean shear bond strengths of brackets to temporary crowns with and without sandblasting when used by chemical-cured (self-cured) and light-cured composite resin, to self-cured and light-cured glass ionomer, and to evaluate bond failure of all samples. Materials and methods Three hundred temporary crowns were divided into 10 groups with 30 samples in each group to bond metal brackets with sandblasting (SB) or non-sandblasting (NSB). Five kinds of adhesives: one-paste (O), two-paste self-cured (T), light-cured (LC) composite resin, glass ionomer (1) and light-cured glass ionomer (LI) were used. The surface …


ผลกระทบของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีต่อความแข็งแรง ดัดขวางของวัสดุฐานฟันปลอมอะคริลิกเรซินชนิดบ่มด้วยความร้อน, ชัยรัตน์ วิวัฒน์วรพันธ์, รุ่งนภา วานิชวัฒนสิทธิ, สรนันทร์ จันทรางศุ, สิวัลย์ เฉลิมพิสุทธิศักดิ์ Sep 1999

ผลกระทบของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีต่อความแข็งแรง ดัดขวางของวัสดุฐานฟันปลอมอะคริลิกเรซินชนิดบ่มด้วยความร้อน, ชัยรัตน์ วิวัฒน์วรพันธ์, รุ่งนภา วานิชวัฒนสิทธิ, สรนันทร์ จันทรางศุ, สิวัลย์ เฉลิมพิสุทธิศักดิ์

Chulalongkorn University Dental Journal

วัตถุประสงค์ เพื่อพิจารณาผลของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีต่อความแข็งแรงดัดขวางของวัสดุฐานฟันปลอมอะคริลิกชนิดบ่มด้วยความร้อน วัสดุและวิธีการ เตรียมชิ้นตัวอย่างวัสดุฐานฟันปลอม อะคริลิกชนิดบ่มด้วยความร้อนผลิตภัณฑ์โรเด็กซ์ (โรเดนท์, เอส.อาร์.แอล) รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด 65x10x2.5 มม. จํานวน 60 ชิ้นแบ่งเป็น 6 กลุ่มๆ ละ 10 ชิ้น นําไปแช่ ในเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ผลิตภัณฑ์แบล็กแคท (บริษัท ยูไนเต็ด ไวน์เนอรี่ แอนด์ ดิสทิลเลอรี่ จํากัด) เข้มข้น 40 ดีกรี ที่อุณหภูมิ 5±2 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 100 200 300 400 และ 500 ชั่วโมง ตามลําดับ จากนั้นทดสอบ ความแข็งแรงดัดขวางด้วยวิธีกด 3 จุด ด้วยเครื่องยูนิเวอร์ซัลเทสทิ้งแมชชีน (Lloyd, England) รุ่นแอลเค 10 ด้วย ความเร็วหัวกด 5 มิลลิเมตรต่อนาที ผล ค่าเฉลี่ย (หน่วยปาสคาล) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความแข็งแรงตัดขวางของกลุ่มต่างๆ ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ไม่ได้แช่ในเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 59.57 ±4.39 กลุ่มที่ 2 แช่ในเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ครบ 100 ชั่วโมง 59.24± 5.00 กลุ่มที่ 3 แซ่ครบ 200 ชั่วโมง 60.74 ± 5.38 กลุ่มที่ 4 แซ่ครบ 300 ชั่วโมง 59.19± 4.67 กลุ่มที่ 5 แซ่ครบ 400 ชั่วโมง 58.75± 7.22 กลุ่มที่ 6 แซครบ 500 ชั่วโมง 56.6 ±5.38 …


การเปรียบเทียบการติดแน่นของกลาสไอโอโนเมอร์สามชนิดต่อเนื้อฟันในห้องปฏิบัติการ, สรรพัชญ์ นามะโน, ปิยวัฒน์ พันธุ์โกศล Sep 1999

การเปรียบเทียบการติดแน่นของกลาสไอโอโนเมอร์สามชนิดต่อเนื้อฟันในห้องปฏิบัติการ, สรรพัชญ์ นามะโน, ปิยวัฒน์ พันธุ์โกศล

Chulalongkorn University Dental Journal

วัตถุประสงค์ การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการติดแน่นของกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ 3 ชนิด (ไฮบอนด์ (โซฟู), ฟูจิ (จีซี) และ เมอรอน (โวโค)] ต่อเนื้อฟันในห้องปฏิบัติการ วัสดุและวิธีการ ทําชิ้นตัวอย่าง 30 ชิ้น โดยการผ่าฟันออกตามแนวยาวแล้วนํามาฝังลงบนก้อนอะคลีลิกเรซิน ชนิดแข็งตัวได้ในอุณหภูมิห้อง โดยให้หงายเนื้อฟันด้านที่ถูกตัดออก จากนั้นนํากลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์แต่ละชนิด มายึดห่วงโลหะให้ติดกับเนื้อฟันทดสอบหาแรงดึงที่จะแยกห่วงโลหะและซีเมนต์ออกจากเนื้อฟันโดยทํา 10 ชิ้นตัวอย่างต่อซีเมนต์ 1 ชนิด ผลการทดลอง กลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ชนิดเมอรอนให้ค่าแรงดึงสูงที่สุดในบรรดาซีเมนต์ที่ทดสอบในขณะที่ชนิดไฮบอนด์และฟูจิไม่ได้แสดงความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ สรุป กลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ชนิดเมอรอนให้ค่าแรงดึงสูงที่สุดในบรรดาซีเมนต์ 3 ชนิดที่นํามาทดสอบ


Ada News - 08/23/1999, American Dental Association, Publishing Division Aug 1999

Ada News - 08/23/1999, American Dental Association, Publishing Division

ADA News

Established in 1970 as the official newspaper of the American Dental Association, the ADA News serves practicing dentists and others allied to the dental profession in the U.S. and internationally. It is the No. 1 source of news and information about the many benefits and services the ADA delivers to members daily as well as timely information on scientific, social, political and economic developments affecting dentistry and health care.


Ada News - 08/09/1999, American Dental Association, Publishing Division Aug 1999

Ada News - 08/09/1999, American Dental Association, Publishing Division

ADA News

Established in 1970 as the official newspaper of the American Dental Association, the ADA News serves practicing dentists and others allied to the dental profession in the U.S. and internationally. It is the No. 1 source of news and information about the many benefits and services the ADA delivers to members daily as well as timely information on scientific, social, political and economic developments affecting dentistry and health care.


Ada News - 07/12/1999, American Dental Association, Publishing Division Jul 1999

Ada News - 07/12/1999, American Dental Association, Publishing Division

ADA News

Established in 1970 as the official newspaper of the American Dental Association, the ADA News serves practicing dentists and others allied to the dental profession in the U.S. and internationally. It is the No. 1 source of news and information about the many benefits and services the ADA delivers to members daily as well as timely information on scientific, social, political and economic developments affecting dentistry and health care.


ผลของวิตามินซีต่อการหายของแผลถอนฟันในมนุษย์การศึกษาทางคลินิก, ชัยวัฒน์ ปิ่นน้อย, ปฐมพร สอ้านวงศ์, สุดารัตน์ นับดี Jul 1999

ผลของวิตามินซีต่อการหายของแผลถอนฟันในมนุษย์การศึกษาทางคลินิก, ชัยวัฒน์ ปิ่นน้อย, ปฐมพร สอ้านวงศ์, สุดารัตน์ นับดี

Chulalongkorn University Dental Journal

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเกี่ยวกับผลของวิตามินซี ต่อการหายของแผลถอนฟันในอาสาสมัครคนไทยกลุ่มหนึ่ง ที่เข้า รับการรักษาในภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นการศึกษาในขณะที่ผู้ป่วย ทุกคนรับประทานอาหารในชีวิตประจําวันตามปกติ วัสดุและวิธีการ ศึกษาจากอาสาสมัครซึ่งเป็นนิสิตทันตแพทย์จํานวน 22 คน อายุอยู่ระหว่าง 17-24 ปี โดยไม่ จํากัดเพศ ผู้ป่วยทุกคนมีฟันที่จะต้องถอนอย่างน้อยสองซี่ที่มีลักษณะทางกายวิภาคศาสตร์ใกล้เคียงกัน เช่นฟันกราม กับฟันกราม ฟันกรามน้อยกับฟันกรามน้อย และตําแหน่งต้องอยู่ในขากรรไกรเดียวกัน การถอนฟันครั้งแรกจะใช้ เป็นกลุ่มควบคุม โดยไม่ให้วิตามินซี วัดการหายของบาดแผลโดยการตรวจดูทางคลินิก แล้วใช้สาร Toluidin blue 1% ทาที่แผลถอนฟันจากนั้นล้างออกด้วยน้ํา ถ้าบาดแผลไม่ติดสีถือว่าแผลหายสนิท (Complete Epithelialization) ทั้งนี้เนื่องจากสาร Toluidin blue 1% จะติดสีเฉพาะเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Connective tissue) เท่านั้น ต่อจากนั้นจึง ทําการถอนฟันอีกที่หนึ่งซึ่งจะใช้เป็นกลุ่มทดลอง โดยให้วิตามินซี 2000 มก.ต่อวัน โดยแบ่งเป็น 4 ครั้งๆ ละ 500 มก.เป็นเวลา 10 วัน แล้วตรวจดูการหายของแผลเช่นเดียวกันนําระยะเวลาการหายของทั้งสองกลุ่มมาเปรียบเทียบ กันว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่ ถ้ามีความแตกต่างกันจะแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติหรือไม่ ผลการศึกษา พบว่าวิตามินซีจํานวน 2000 มก.ต่อวันมีผลช่วยเร่งเวลาการหายของแผลถอนฟันให้หายเร็วขึ้นประ มาณ 20% ซึ่งแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) สรุป วิตามินซีจะมีอยู่ในอาหารบางชนิดเท่านั้นเช่นผัก ผลไม้ เป็นต้น ซึ่ง RDA, ได้แนะนําว่า ร่างกายควรจะได้รับ วันละ 60 มก.เพื่อนําไปใช้ซ่อมแซมร่างกายในภาวะปกติ แต่ในขณะที่ร่างกายเกิดบาดแผล ถ้าร่างกายได้รับวิตามินซี เพิ่มขึ้น ก็จะทําให้ช่วยกระตุ้นการสร้างเนื้อเยื่อใหม่ในขบวนการหายของแผลได้มากขึ้นซึ่งเป็นผลทําให้การหายของ แผลเร็วขึ้น จากการวิจัยครั้งนี้จะเห็นว่าวิตามินซีที่กลุ่มทดลองได้รับมีจํานวนประมาณ 35 เท่าของ RDA. แนะนําจะช่วยเร่งการหายของแผลให้เร็วขึ้นอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ


ปริมาณสารปรอทในเลือดของทันตแพทย์, เกรียงไกร คุ้มไพโรจน์, ณัฐ อาจสมิติ Jul 1999

ปริมาณสารปรอทในเลือดของทันตแพทย์, เกรียงไกร คุ้มไพโรจน์, ณัฐ อาจสมิติ

Chulalongkorn University Dental Journal

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปริมาณสารปรอทในเลือดของกลุ่มตัวอย่างทันตแพทย์ที่ให้บริการทั่วไป (general practitioner) ที่มีช่วงการทํางานประมาณ 10 ปีขึ้นไป จํานวน 51 คน เปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมได้แก่บุคคลทั่วไป จํานวน 70 คน วิธีการศึกษา หาปริมาณสารปรอทในเลือดของกลุ่มตัวอย่างทั้งสองโดยวิเคราะห์ด้วยวิธีการของ National Institute for Occupation Safety and Health (NIOSH) เพื่อวิเคราะห์หาปริมาณสารปรอทโดยโคลด์ เวเปอร์ อะตอมมิค แอบซอฟชั่น สเปคโตรโฟโตมิเตอร์ (Cold vapor atomic absorption spectrophotometer) โดยเครื่องของ Laboratory Data Control u Mercury Monitor Model 1235 ผลการทดลองและสรุป พบว่าปริมาณสารปรอทในเลือดของกลุ่มควบคุมมีค่า 2.04±0.99 (0.0-6.00) ไมโครกรัม/ ลิตรและกลุ่มทันตแพทย์มีค่า 6.19±4.35 (0.67-18.83) ไมโครกรัม/ลิตร จากการทดสอบด้วย Unpairs student t-test พบว่าทั้ง 2 กลุ่มที่นํามาทดสอบมีค่าปรอทในเลือดแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ p<0.01 ค่าสูงสุด ของระดับปรอทในเลือดของทันตแพทย์มีค่า 18.83 ไมโครกรัม/ลิตร ซึ่งต่ํากว่าระดับที่องค์การอนามัยโลก (WHO) กําหนดปริมาณสารปรอทในเลือดไม่ควรเกิน 35 ไมโครกรัม/ลิตร แสดงให้เห็นว่าการประกอบวิชาชีพทันตแพทย์ มีโอกาสได้รับสารปรอทเข้าสู่ร่างกายได้มากขึ้นกว่าบุคคลทั่วไป ผลของการวิจัยดังกล่าวน่าจะเป็นสิ่งที่กระตุ้นให้ผู้ประกอบวิชาชีพทางทันตกรรมต้องระวังถึงอันตรายจากพิษของปรอทที่อาจเกิดขึ้น


Giant Cell Fibroma Of The Oral Cavity. I. A Clinico-Pathological Study In Thai Population, Kittipong Dhanuthai, Somporn Swasdison Jul 1999

Giant Cell Fibroma Of The Oral Cavity. I. A Clinico-Pathological Study In Thai Population, Kittipong Dhanuthai, Somporn Swasdison

Chulalongkorn University Dental Journal

Thirty six cases of giant cell fibroma of the oral cavity in Thai patients were clinico-pathologically analyzed. The results showed that giant celll fibroma occurred in all age groups with the predilection for the third decade of life. No significant sex predilection of occurrence was noted. Clinically, the lesions presented as sessile or pedunculated masses with either smooth or papillary surface. Most of the lesions were under 10 mm in diameter. The most common location was the gingiva. Microscopically, the lesion was composed of large stellate-shaped mononuclear and multinuclear cells in a highly vascularized loose connective tissue. From this study, …


ปริมาณฟลูออไรด์ที่หลุดออกมาจากวัสดุบูรณะสีเหมือนฟันชนิดที่มีฟลูออไรด์เป็นองค์ประกอบ, ชัยวัฒน์ มณีนุษย์ Jul 1999

ปริมาณฟลูออไรด์ที่หลุดออกมาจากวัสดุบูรณะสีเหมือนฟันชนิดที่มีฟลูออไรด์เป็นองค์ประกอบ, ชัยวัฒน์ มณีนุษย์

Chulalongkorn University Dental Journal

วัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบปริมาณของฟลูออไรด์ที่หลุดออกมาจากวัสดุกลาสไอโอโนเมอร์ชนิดดัดแปลงด้วยเรซิน วัสดุบูรณะคอมโพสิตเรซินชนิดดัดแปลงด้วยแก้ว และวัสดุบูรณะคอมโพสิตเรซินชนิดที่มีฟลูออไรด์เป็นองค์ประกอบ วัสดุและวิธีการ เตรียมชิ้นทดลองทรงกระบอกของวัสดุ Compoglass F, Dyract AP, Hytac Aplitip, Photac Fil Quick และ Tetric ผลิตภัณฑ์ละ 10 ชิ้น นําชิ้นทดลองแต่ละชิ้นมาแช่ในภาชนะพลาสติกที่มีน้ํากลั่นปริมาตร 2 มิลลิลิตร ทิ้งไว้ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ซม. นําชิ้นทดลองออกมาใส่ในภาชนะพลาสติกที่มี น้ํากลั่นปริมาตร 2 มิลลิลิตร ที่เตรียมขึ้นใหม่ และนําสารละลายในภาชนะเดิมไปวัดปริมาณฟลูออไรด์ ทําการเก็บ สารละลายและวัดปริมาณฟลูออไรด์ที่หลุดออกจากชิ้นทดลองแต่ละชิ้นด้วยวิธีเดิมในวันที่ 2, 3, 4, 5, 6, 7, 14, 21, 28, 35, 42, 49, 56, 63, 70, 77, 84 และ 91 โดย 24 ชั่วโมงก่อนที่จะเก็บสารละลายตัวอย่างในแต่ละช่วงเวลา จะนําชิ้นทดลองไปแช่ในภาชนะที่มีน้ํากลั่นใหม่ ผลการทดลอง มีฟลูออไรด์หลุดออกมาจากวัสดุทุกชนิดภายหลังการแข็งตัวตลอดระยะเวลา 9 วันที่ทําการทดลอง โดยมีปริมาณมากที่สุดในช่วง 24 ชั่วโมงแรก แล้วปริมาณจะลดลงอย่างรวดเร็วในช่วงวันที่ 2 ถึงวันที่ 7 และมี ปริมาณค่อนข้างคงที่ตั้งแต่สัปดาห์ที่สองเป็นต้นไป ยกเว้น Tetric ที่ปล่อยฟลูออไรด์ในปริมาณที่คงที่ตั้งแต่วันที่ 2 จนสิ้นสุดการทดลอง ปริมาณฟลูออไรด์รวมที่หลุดออกจากวัสดุ Photac-Fil Quick มากที่สุด (P<0.05) ปริมาณ ฟลูออไรด์รวมที่หลุดออกจากวัสดุ Tetric น้อยที่สุด (P<0.05) ทุกช่วงเวลาตลอดระยะเวลาที่ทําการทดลองฟลูออไรด์ หลุดออกจากวัสดุ Compoglass F มีปริมาณมากกว่าที่หลุดจากวัสดุ Dyract AP, Hytac Aplitip และ Tetric (P<0.05) ฟลูออไรด์ที่หลุดออกจากวัสดุ Dyract AP มีปริมาณมากกว่าที่หลุดจาก Hytac Aplitip และ Tetric (P<0.05) และฟลูออไรด์ที่หลุดออกจากวัสดุ Hytac Aplitip มีปริมาณที่มากกว่าที่หลุดจากวัสดุ Tetric (P < 0.05) สรุป ฟลูออไรด์สามารถหลุดออกมาจากวัสดุบูรณะสีเหมือนฟันที่มีฟลูออไรด์เป็นองค์ประกอบภายหลังการแข็งตัว ได้ โดยฟลูออไรด์ที่หลุดออกมาจากวัสดุ Photac-Fil Quick มีปริมาณมากที่สุด รองลงมาเป็นปริมาณฟลูออไรด์ที่หลุดจากวัสดุ Compoglass F, Dyract AP, Hytac Aplitip และ Tetric ตามลําดับ


การเปลี่ยนแปลงค่าความเป็นกรด-ด่างของผงแคลเซียมไฮดรอกไซด์หลังการเผยต่ออากาศปกติของห้องและอากาศที่มีความชื้น, สมไชย ลิ้มสมบัติอนันต์, สุพินดา สาทรกิจ Jul 1999

การเปลี่ยนแปลงค่าความเป็นกรด-ด่างของผงแคลเซียมไฮดรอกไซด์หลังการเผยต่ออากาศปกติของห้องและอากาศที่มีความชื้น, สมไชย ลิ้มสมบัติอนันต์, สุพินดา สาทรกิจ

Chulalongkorn University Dental Journal

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของค่าความเป็นกรด-ด่างของผงแคลเซียมไฮดรอกไซด์หลังจากการเผยต่ออากาศปกติของห้องและอากาศที่มีความชื้น วัสดุและวิธีการ ตัวอย่างผงแคลเซียมไฮดรอกไซด์ของแต่ละกลุ่มที่ใช้ศึกษาในช่วงเวลาและภายใต้สถานการณ์เดียวกันมีจํานวน 10 ตัวอย่าง แต่ละตัวอย่างประกอบด้วยผงแคลเซียมไฮดรอกไซด์จํานวน 0.2 กรัม โดยนําผงออกมาจากภาชนะบรรจุที่เพิ่งเปิดใช้ ใส่และเกลี่ยให้แผ่กระจายในจานแก้ว แล้วนําไปวางให้เผยต่ออากาศปกติของห้อง (25± 2°C, ความชื้นสัมพัทธ์ 50%) และเผยต่ออากาศชื้นในตู้ควบคุมความชื้น (25 ± 2°C, ความชื้นสัมพัทธ์ 100%) เป็นระยะ เวลา 1, 2, 4, 6, 8, 10 และ 12 สัปดาห์ เมื่อสิ้นสุดแต่ละช่วงเวลา นําผงแคลเซียมไฮดรอกไซด์แต่ละตัวอย่าง ไป ผสมกับน้ํากลั่นจํานวน 50 มิลลิลิตร กวนให้เข้ากันเป็นเวลา 5 นาที แล้ววัดค่าความเป็นกรด-ด่าง ด้วยเครื่องวัดความ เป็นกรด-ด่าง ผลการศึกษา ค่าเฉลี่ยของค่าความเป็นกรด-ด่างของแคลเซียมไฮดรอกไซด์ ของกลุ่มที่เผยต่ออากาศปกติของห้อง และกลุ่มที่เผยต่ออากาศชื้น มีค่าลดลงทุกช่วงเวลา ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 1 ไปจนถึงสัปดาห์ที่ 12 เมื่อเปรียบเทียบกับ ค่าที่วัดได้จากผงที่นําออกมาจากภาชนะบรรจุใหม่ๆ เมื่อพิจารณาในช่วงเวลาเดียวกันพบว่า ค่าเฉลี่ยของค่าความเป็น กรด-ด่าง ของแคลเซียมไฮดรอกไซด์กลุ่มที่เผยต่ออากาศชื้น มีค่าต่ํากว่ากลุ่มที่เผยต่ออากาศปกติของห้อง อย่างมีนัย สําคัญทางสถิติ (p<0.05) ตั้งแต่สัปดาห์ที่สองเป็นต้นไป สรุป ภายใต้สถานการณ์ของการทดลองนี้ พบว่าผงแคลเซียมไฮดรอกไซด์ที่มีการเผยต่ออากาศปกติของห้อง หรือ เผยต่ออากาศที่มีความชื้นสูง ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง มีค่าความเป็นกรด-ด่างที่วัดได้หลังการผสมกับน้ํากลั่นเสร็จใหม่ ๆ ลดลง


ผลของ Smear Layer ต่อการเปลี่ยนแปลงพีเอชของเนื้อฟันส่วนราก หลังจากใส่แคลเซียมไฮดรอกไซด์, เมตตจิตต์ นวจินดา, อมรรัตน์ บุญศิริ Jul 1999

ผลของ Smear Layer ต่อการเปลี่ยนแปลงพีเอชของเนื้อฟันส่วนราก หลังจากใส่แคลเซียมไฮดรอกไซด์, เมตตจิตต์ นวจินดา, อมรรัตน์ บุญศิริ

Chulalongkorn University Dental Journal

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของซีเมีย เลเยอะ smear layer) ต่อการเปลี่ยนแปลงของ พีเอช (pH) ในท่อเนื้อฟันที่บริเวณ 4 มิลลิเมตร จากปลายรากและลึก 1 มิลลิเมตรจากผิวของรากฟัน วัสดุและวิธีการ ฟันมนุษย์รากเดียวจํานวน 22 ปี ทําการขยายคลองรากฟันด้วยเคไฟล์ (K-file) จนเอ็มเอเอฟไฟล์ (MAF) ขนาด 40 แบ่งฟันออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 11 ซี่ โดยกลุ่มที่ 1 ไม่จํากัดซีเมีย เลเออะ โดยล้างคลอง รากฟันสุดท้ายด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์ (Soldiumhypochlorite) 5.25% 20 มิลลิเมตร และน้ํากลั่น 5 มิลลิเมตร กลุ่มที่ 2 กําจัดซีเมีย เลเยอะ โดยล้างคลองรากฟันสุดท้ายด้วยอีดีทีเอ (EDTA) 17% 10 มิลลิเมตร โซเดียม ไฮโปคลอไรด์ 5.25% 10 มิลลิเมตร และน้ํากลั่น 5 มิลลิเมตร นํากลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่ม เคลือบยาทาเล็บ 2 ชั้น บนผิวรากฟัน รวมทั้งรูเปิดปลายราก อุดคลองรากฟันด้วยส่วนผสมแคลเซียมไฮดรอกไซด์ในฟันกลุ่มที่ 1 และ 2 กลุ่มละ 10 ปี ส่วนฟัน 1 ซี่ของแต่ละกลุ่ม จะเป็นกลุ่มควบคุม โดยปล่อยคลองรากฟันให้ว่างเปล่า นําฟันทั้ง 22 เจาะรูที่ผิวรากฟันห่างปลายรากฟัน 4 มิลลิเมตร และลึกจากผิวรากฟัน 1 มิลลิเมตร เก็บฟันไว้ในที่ความชื้นสัมพัทธ์ 100% อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส นํามาวัดพีเอช ที่ 0, 7, และ 14 วัน …