Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Medicine and Health Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Veterinary Medicine

1998

Institution
Keyword
Publication
Publication Type
File Type

Articles 31 - 60 of 151

Full-Text Articles in Medicine and Health Sciences

พยาธิสภาพของสุกรปวยในฝูงที่ตรวจพบ Fumonisin ปนเปื้อนในอาหาร, ตวงทอง ปัจฉิมะศิริ, อัจฉริยา ไศละสูต, คัมภีร์ กอธีระกุล Jun 1998

พยาธิสภาพของสุกรปวยในฝูงที่ตรวจพบ Fumonisin ปนเปื้อนในอาหาร, ตวงทอง ปัจฉิมะศิริ, อัจฉริยา ไศละสูต, คัมภีร์ กอธีระกุล

The Thai Journal of Veterinary Medicine

จากการชันสูตรซากสุกรขุน 12 ตัว อายุ 3-4 เดือน น้ำหนัก 30-50 กิโลกรัม อัตราป่วย 30 % อัตราตาย 5-12 % จากฝูง 3,000 ตัว มีอาการหายใจกระแทกแรงและถี่ นอนหมอบ บางตัวดีซ่าน ไม่ตอบสนองต่อการ รักษาด้วยยาปฏิชีวนะ มีพยาธิสภาพคือ เยื่อเมือกซีดเหลือง ปอดอักเสบบวมน้ำ เยื่อหุ้มปอดและเยื่อหุ้ม หัวใจอักเสบมีไฟบรินปกคลุมหนา ตับซีด และมีน้ำในช่องอก ผลการตรวจทางจุลพยาธิวิทยา พบการ เปลี่ยนแปลงของตับ ประกอบด้วย single cell necrosis (4/12 ตัว) angular degenerating hepatocytes (12/12 ตัว) mild vacuolation (8/12 ตัว) binucleated hepatocytes (12/12 ตัว) multinucleated hepatocytes (5/12 ตัว) hepatomegalocytosis (11/12 ตัว) centrilobular depletion (4/12 ตัว) perilobular fibrosis (5/12 ตัว) และ disorganized hepatic cord (9/12 ตัว) ที่ตับอ่อน พบ pancreatic acinar cell degeneration (7/12 ตัว) และที่ปอด พบ pulmonary edema ลักษณะต่าง ๆ ได้แก่ interlobular edema (8/12 ตัว) alveolar edema (11/12 ตัว) interstitial edema (5/12 ตัว) …


โรคปลาสวยงาม, จิรศักดิ์ ตั้งตรงไพโรจน์, นันทริกา ชันซื่อ, สันติ วงศ์อำนวยกุล, สิทธิคุณ วิสตานนท์, ศุภวิวัธน์ พงษ์เลาหพันธุ์, เทพมนัส บุปผาอินทร์ Jun 1998

โรคปลาสวยงาม, จิรศักดิ์ ตั้งตรงไพโรจน์, นันทริกา ชันซื่อ, สันติ วงศ์อำนวยกุล, สิทธิคุณ วิสตานนท์, ศุภวิวัธน์ พงษ์เลาหพันธุ์, เทพมนัส บุปผาอินทร์

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


การปฏิสนธินอกร่างกายของโอโอไซต์เก็บจากลูกโคก่อนวัยเจริญพันธุ์, รังสี อดุลยานุภาพ, มงคล เตชะกำพุ, วันเพ็ญ อดุยานุภาพ Jun 1998

การปฏิสนธินอกร่างกายของโอโอไซต์เก็บจากลูกโคก่อนวัยเจริญพันธุ์, รังสี อดุลยานุภาพ, มงคล เตชะกำพุ, วันเพ็ญ อดุยานุภาพ

The Thai Journal of Veterinary Medicine

เก็บโอโอไซต์จากรังไข่ของลูกโคพื้นเมืองอายุ 4-6 เดือน ที่กระตุ้นด้วยฟอลลิเคิล สติมูเรตติ้ง ฮอร์โมน (เอฟ เอส เอช) แบ่งโอโอไซต์ออกได้เป็น 2 ชนิด คือโอโอไซต์ที่เจริญพร้อมปฏิสนธิ (mature oocyte) และ โอโอไซต์ที่เจริญไม่พร้อมปฏิสนธิ (immature oocyte) นำไปเพาะเลี้ยงเพื่อให้เกิดสภาวะพร้อมปฏิสนธิใน น้ำยาเพาะเลี้ยงชนิด TCM-199 ที่ประกอบด้วย FSH/LH (10 ug/ml), Estradiol-17 (1 ug/ml) และ 10% FCS โดยเลี้ยงร่วมกับเซลล์กรานูโลซานาน 4 ชม. สำหรับโอโอไซต์ชนิด mature และ 24 ชม. สำหรับโอโอไซต์ชนิด immature จากการสุ่มตัวอย่างโอโอไซต์ทั้ง 2 ชนิดมาตรวจดูสภาวะพร้อมปฏิสนธิ พบว่ามีอัตราการเกิดระยะ เมตาเฟส II เฉลี่ยเท่ากับ 73.6% (67/91) ซึ่งโอโอไซต์ทั้ง 2 ชนิด มีอัตราการเกิดสภาวะพร้อมปฏิสนธิ ไม่แตกต่างกัน (73.6% และ 73.5%) ตามลำดับ นำโอโอไซต์ส่วนที่เหลือไปปฏิสนธินอกร่างกายกับตัวอสุจิที่ ผ่านกระบวนการคาร์ปาซิเตชั่น จากนั้นเลี้ยงตัวอ่อนที่ได้ในน้ำยาเพาะเลี้ยงชนิด B ที่เติม 10% FCS ที่อุณหภูมิ 39° ซ และ 5% คาร์บอนไดออกไซด์ ในบรรยากาศ โดยเลี้ยงร่วมกับเซลล์ท่อนำไข่โค พบว่าได้อัตราการแบ่ง ตัวเฉลี่ยเท่ากับ 32.9%(114/346) ที่ 48 ชม. โดยไม่มีความแตกต่างระหว่างโอโอไซต์ชนิด mature และ โอโอไซต์ชนิด immature เฉลี่ยเท่ากับ 35.4% และ 32.2% ตามลำดับ จากผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า โอโอไซต์ที่ได้จากลูกโคสามารถเกิดการปฏิสนธินอกร่างกายและเจริญเป็นตัวอ่อนได้หลังการผสม 48 ชม.


Coronavirus-Like Particles In Porcine Kupffer Cell Culture, Roongroje Thanawongnuwech, Jacqueline K. Kinyamu, Jean A. Olsen Jun 1998

Coronavirus-Like Particles In Porcine Kupffer Cell Culture, Roongroje Thanawongnuwech, Jacqueline K. Kinyamu, Jean A. Olsen

The Thai Journal of Veterinary Medicine

Coronavirus-like particles were observed by transmission electron microscopy in smooth-walled vesicles of Golgi, or endoplasmic reticulum (ER) in a primary Kupffer cell culture. The culture came from a clinically normal 10-day-old pig, from a swine herd that was known to be infected with porcine respiratory coronavirus (PRCV) and porcine reproductive and respiratory syndrome virus (PRRSV). Budding profiles of virions were observed in the smooth-walled vesicles and later, apparently free viruses accumulated in the collecting vesicles. The virions were enveloped and pleomorphic, with a diameter of 50-100 nm. The virus particles contained an external envelope and an inner membrane and a …


ความเหมือนและความแตกต่างของจำนวนโครโมโซฒที่พบในสัตว์ป่าบางชนิดของประเทศไทย, วิวัฒน์ ชวนะนิกุล Jun 1998

ความเหมือนและความแตกต่างของจำนวนโครโมโซฒที่พบในสัตว์ป่าบางชนิดของประเทศไทย, วิวัฒน์ ชวนะนิกุล

The Thai Journal of Veterinary Medicine

จำนวนโครโมโซมของสัตว์ป่าบางชนิดที่พบในประเทศไทยได้ถูกประมวลไว้ ในสัตว์ตระกูลแมว-เสือ (Family Felidae) ทั้งสกุล Felis และสกุล Panthera พบว่ามีจำนวนโครโมโซมเท่ากันหมด คือ 38 ตัว เช่น เดียวกับในแมวบ้าน ในทางตรงกันข้าม ในสัตว์ตระกูลกวาง (Family Cervidae) พบความแตกต่างของ จำนวนและรูปแบบของโครโมโซมค่อนข้างมาก จากจำนวน 6-7 ตัวในเก๋งธรรมดา (M. muntjac) และ 13-14 ตัวในเก้งหม้อ (M. feae) จนถึง 58 ตัวในละมั่ง (C. eldi) และ 68 ตัวในเนื้อทราย (C. porcinus) ในสัตว์ป่า ตระกูลจระเข้ (Family Crocodylidae) แม้ว่าจำนวนโครโมโซมของจระเข้พันธุ์น้ำจืดซึ่งมี 30 ตัว จะไม่ เท่ากับพันธุ์น้ำเค็มซึ่งมี 34 ตัว ลูกผสมที่เกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ก็ไม่เป็นหมัน แต่มีจำนวนโครโมโซมแตก ต่างกัน คือ 31 ตัว 32 ตัวและ 33 ตัวขึ้นกับชนิดการผสมพันธุ์ จากผลของรายงานดังกล่าว การค้นคว้าในทางลึก เช่น ด้านอณูพันธุศาสตร์และพันธุกรรมการสืบพันธุ์ การสำรวจเพิ่มเติมและการนำมาประยุกต์ในการเลี้ยงจริง น่าจะได้มีการศึกษากันต่อไป เพื่อจะได้ทราบขบวนการที่เกิดขึ้นจริง และเพื่อกำหนดทิศทางที่ถูกต้องในการ รักษาพันธุกรรมเดิมไว้ประการหนึ่งและในการเลี้ยงในเชิงเศรษฐกิจอีกประการหนึ่ง


Ecg Ouiz, Apisit Prakarnkamanant, Chollada Buranakarl, Kris Angkanaporn, Phiwipa Kamonrat Jun 1998

Ecg Ouiz, Apisit Prakarnkamanant, Chollada Buranakarl, Kris Angkanaporn, Phiwipa Kamonrat

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


What Is Your Diagnosis, Pranee Tuntivanich Jun 1998

What Is Your Diagnosis, Pranee Tuntivanich

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


Rescuing Rover: A First Aid And Disaster Guide For Dog Owners, Sebastian E. Heath Jun 1998

Rescuing Rover: A First Aid And Disaster Guide For Dog Owners, Sebastian E. Heath

Purdue University Press Books

Whether you're hiking with your canine friend in a remote area or work with a dog on a search-and-rescue team or police force, you need to be prepared for emergencies when veterinary service is not available. Rescuing Rover: A First Aid and Disaster Guide for Dog Owners provides dog owners, handlers, and emergency physicians with an understandable guide for safe treatment until the dog can be transported to a veterinarian. Although a number of books describe some techniques for the emergency care of dogs, there is no single illustrated summary that is as practical. With its concise, easy-to-read instructions, detailed …


Normal Reference Intervals And The Effects Of Time And Feeding On Serum Bile Acid Concentrations In Llamas, Claire B. Andreasen, Erwin G. Pearson, Brad B. Smith, Terry C. Gerros, Duane Lassen Apr 1998

Normal Reference Intervals And The Effects Of Time And Feeding On Serum Bile Acid Concentrations In Llamas, Claire B. Andreasen, Erwin G. Pearson, Brad B. Smith, Terry C. Gerros, Duane Lassen

Claire B. Andreasen

Fifty clinically healthy llamas, 0.5–13 years of age (22 intact males, 10 neutered males, 18 females), with no biochemical evidence of liver disease or hematologic abnormalities, were selected to establish serum bile acid reference intervals. Serum samples submitted to the clinical pathology laboratory were analyzed using a colorimetric enzymatic assay to establish bile acid reference intervals. A nonparametric distribution of llama bile acid concentrations was 1–23 mmol/liter for llamas .1 year of age and 10–44 mmol/liter for llamas #1 year of age. A significant difference was found between these 2 age groups. No correlation was detected between gender and bile …


Ekg Quiz, Chollada Buranakarl, Kris Ankanaporn, Phiwipha Kamonrat Mar 1998

Ekg Quiz, Chollada Buranakarl, Kris Ankanaporn, Phiwipha Kamonrat

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


ความเป็นมาและสถานภาพปัจจุบันของโรคสมองฟ่ามในโค (โคบ้า), พีระศักดิ์ จันทร์ประทีป, สุมลยา กาญจนะพังคะ, ประโยชน์ ตันติเจริญยศ, กัลยาณี ตันศฤงฆาร, เบญจภรณ์ รุ่งพิทักษ์ไชย Mar 1998

ความเป็นมาและสถานภาพปัจจุบันของโรคสมองฟ่ามในโค (โคบ้า), พีระศักดิ์ จันทร์ประทีป, สุมลยา กาญจนะพังคะ, ประโยชน์ ตันติเจริญยศ, กัลยาณี ตันศฤงฆาร, เบญจภรณ์ รุ่งพิทักษ์ไชย

The Thai Journal of Veterinary Medicine

โรคสมองฟ้ามหรือโคบ้า (Bovine Spongiform Encephalopathy, BSE) เป็นโรคระบาดร้ายแรงที่เกิดขึ้นในสหราชอาณาจักรเป็น ส่วนใหญ่ ทำความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างมหาศาล จำเป็นต้องทําลายโคถึง 1 ล้านตัวเพื่อกำจัด BSE ให้หมดไป ยิ่งไปกว่านั้น BSE อาจ เป็นอันตรายแก่สุขภาพและชีวิตมนุษย์ด้วย BSE เป็นโรคหนึ่งในกลุ่ม transmissible spongiform encephalopathies (TSEs) โดยมี prion protein เป็นสารก่อโรคที่ทําความเสียหายแก่ระบบประสาท และทำให้คนหรือสัตว์ตายในที่สุด พบเนื้อสมองทั้งส่วน cerebrum และ cerebellum เป็นรูพรุน และอาจพบ plaques และ scrapie-associated fibrils (SAF) ในเนื้อสมองด้วย การศึกษาทางระบาดวิทยาชี้แนะว่าการแพร่ของ BSE เกิดจากโคกินอาหารที่มีสารก่อโรคปนเปื้อนอยู่ และการเปลี่ยนแปลงที่ไม่เหมาะสมในกระบวนการแปรรูปโปรตีนจากซากสัตว์ เพื่อใช้เป็น อาหารเลี้ยงโคก็ช่วยเพิ่มปัจจัยเสี่ยงต่อการกระจายโรค BSE ด้วย prion protein อาจสะสมอยู่ในเลือด เส้นประสาทหรือระบบน้ำเหลืองของโคที่ เป็น BSE ก่อนที่จะกระจายไปสู่ระบบประสาทส่วนกลาง แต่เดิมพบเฉพาะสมอง ไขสันหลังและจอตาเท่านั้นที่ก่อให้เกิดโรค BSE ได้ ขณะนี้ กำลังรอผลที่ Spongiform Encephalopathy Advisory Committee (SEAC) ดำเนินการให้ตรวจเนื้อ น้ำนม อวัยวะระบบน้ำเหลืองจาก โคที่เป็น BSE โดยใช้ลูกโคเป็นสัตว์ทดลอง ซึ่งมีความไวกว่าการฉีดสารก่อโรคเข้าหนู mice ถึง 1,000 เท่า รายงานนี้ได้รวบรวมเหตุการณ์สำคัญ ระบาดวิทยา มาตรการควบคุมกำจัดและป้องกันโรค BSE และวิธีการตรวจวินิจฉัยโรคด้วยวิธีต่าง ๆ รวมทั้งแนวความคิดในการรักษา TSES ในอนาคตไว้ด้วย Creutzfeldt-Jakob's Disease (CJD) เป็นโรคเกี่ยวกับระบบประสาทในคนและเป็นโรคหนึ่งในกลุ่ม TSEs พบว่า new variant CJD (nvCJD) มีรอยโรคและอาการเฉพาะต่างไปจาก CJD เมื่อใช้เทคนิค Western …


ความชุกของการติดเชื้อไข้สมองอักเสบในฟาร์มสุกรจากเขตภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย, คณิศักดิ์ อรวีระกุล, สุมิตรา วัฒโนดร, สุพล เลื่องยศลือชากุล, สุมาลี บุญมา Mar 1998

ความชุกของการติดเชื้อไข้สมองอักเสบในฟาร์มสุกรจากเขตภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย, คณิศักดิ์ อรวีระกุล, สุมิตรา วัฒโนดร, สุพล เลื่องยศลือชากุล, สุมาลี บุญมา

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ทำการสำรวจความชุกของการติดเชื้อไวรัสไข้สมองอักเสบโดยการตรวจแอนติบอดี้ต่อเชื้อไวรัสไข้ สมองอักเสบในซีรั่มสุกรพ่อแม่พันธุ์ ลูกสุกร และสุกรขุน ซึ่งสุ่มตรวจจากฟาร์มสุกรในเขตภาคกลางและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยรวมทั้งจังหวัดชลบุรีและประจวบคีรีขันธ์จำนวน 32 ฟาร์ม รวม 967 ตัวอย่างตั้งแต่ช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2538 พบสุกรกลุ่มพ่อแม่พันธุ์ที่มีแอนติบอดี้บ่งบอก อัตราการสัมผัสเชื้อไวรัส หรือความชุกของการติดเชื้อไวรัสดังกล่าวเฉลี่ยในช่วง 4 เดือนของฤดูกาล คือ พฤศจิกายน-กุมภาพันธ์ (ฤดูหนาว) มีนาคม-มิถุนายน ฤดูร้อน) และกรกฎาคม-ตุลาคม ฤดูฝน) เป็น 91.67%, 97.57% และ 99.25% ตามลำดับ ซึ่งระดับฮีแมกลูติเนชั่น-อินฮิบิชั่น แอนติบอดี้มีฐานนิยมอยู่ที่ 640 ใน แต่ละฟาร์มพบอัตราความชุกได้ตั้งแต่ 73.34%-100% โดยมีการกระจายของสุกรที่ตรวจพบแอนติบอดี้ส่วน ใหญ่อยู่ในแม่สุกรหลายท้อง ในกลุ่มลูกสุกรดูดนมและสุกรหลังหย่านม พบสุกรที่ตรวจพบแอนติบอดี้ จำนวน 95.49% และ 63.08% โดยมีฐานนิยมที่ 320 และ 10 ตามลำดับ ข้อมูลดังกล่าวแสดงถึงความชุก ของการติดเชื้อไวรัสไข้สมองอักเสบที่ปรากฎในพื้นที่ที่มีการเลี้ยงสุกรหนาแน่นดังกล่าวในปี พ.ศ. 2538


โรควิบริโอซิส (Vibriosis) ในม้าน้ำ (Hippocampus Kuda) ที่เลี้ยงในห้องปฏิบัติการ, รัตนภรณ์ ศรีวิบูรณ์, สุรพล ฉลาดคิด Mar 1998

โรควิบริโอซิส (Vibriosis) ในม้าน้ำ (Hippocampus Kuda) ที่เลี้ยงในห้องปฏิบัติการ, รัตนภรณ์ ศรีวิบูรณ์, สุรพล ฉลาดคิด

The Thai Journal of Veterinary Medicine

จากการนำม้าน้ำ (Hippocampus kuda) จำนวน 55 ตัวอย่างซึ่งมีอายุตั้งแต่ 3 เดือนถึง 1 ปีที่เลี้ยงใน ห้องปฏิบัติการ มาศึกษาเพื่อหาสาเหตุของโรคที่ทําให้ม้าน้ำป่วยและตาย พบว่าเกิดเนื่องจากแบคทีเรีย แกรมลบในสกุลวิบริโอเป็นส่วนใหญ่ เช่น V. alginolyticus, V. anguillarum, V. fluvialis และ V. vulnificus รวมทั้งเชื้อวิบริโอชนิดอื่น ๆ โดยโรคจากแบคทีเรียในกลุ่มนี้ จะสามารถทําให้ม้าน้ำตายได้อย่างรวดเร็วครั้งละหลายตัว


คลีนิคสำหรับสัตว์น้ำ, รศ.น.สพ.ดร.จิรศักดิ์ ตั้งตรงไพโรจน์, นันทริกา ชันซื่อ รศ.สพ.ญ.ดร. Mar 1998

คลีนิคสำหรับสัตว์น้ำ, รศ.น.สพ.ดร.จิรศักดิ์ ตั้งตรงไพโรจน์, นันทริกา ชันซื่อ รศ.สพ.ญ.ดร.

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


โรคสมองฟ่ามในโค (โรค บี เอส อี), อัจฉริยา ไศละสูต Mar 1998

โรคสมองฟ่ามในโค (โรค บี เอส อี), อัจฉริยา ไศละสูต

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


Ultrasound Diagnosis, Phiwipha Kamonrat Mar 1998

Ultrasound Diagnosis, Phiwipha Kamonrat

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


What Is Your Diagnosis, Pranee Tuntivanich Mar 1998

What Is Your Diagnosis, Pranee Tuntivanich

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


การกระตุ้นรังไข่ในลูกโคด้วยฮอร์โมน เอฟ เอส เอช ซ้ำหลายครั้ง, รังสี อดุลยานุภาพ, มงคล เตชะกำพุ, ชัยณรงค์ โลหชิต Mar 1998

การกระตุ้นรังไข่ในลูกโคด้วยฮอร์โมน เอฟ เอส เอช ซ้ำหลายครั้ง, รังสี อดุลยานุภาพ, มงคล เตชะกำพุ, ชัยณรงค์ โลหชิต

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ทำการกระตุ้นรังไข่ลูกโคพื้นเมืองไทยอายุ 4-6 เดือน จำนวน 10 ตัว ด้วยฮอร์โมน เอฟ เอส เอช ขนาด 192 มก. (NIH-FSH-P1) โดยฉีดเข้ากล้ามทุก 12 ชม. ติดต่อกัน 4 วัน (32/32,24/24,24/24,16/16) ในวัน สุดท้ายของการฉีดกระตุ้น ฉีดฮอร์โมนฮิวแมนคอริโอนิก โกนาโดโทรปิน (เอช ซี จี) ขนาด 500 ไอยู 24 ชม. ต่อมาดูดเก็บโอโอไซต์ด้วยการเปิดผ่าช่องท้องหลังทําให้ลูกโคสลบด้วยไทโอเพนโตน โซเดียม จากนั้นทำการทดลองฉีดฮอร์โมนกระตุ้นซ้ำ ครั้งที่ 2, 3 และ 4 ห่างกันครั้งละ 6-8 สัปดาห์ แบ่งโอโอไซต์ออกเป็น 2 ชนิดคือ โอโอไซต์ที่เจริญพร้อมปฏิสนธิและโอโอไซต์ที่เจริญไม่พร้อมปฏิสนธิ จากการศึกษาพบว่าค่าเฉลี่ยของการ ตอบสนองของรังไข่จากการฉีดกระตุ้นซ้ำ 4 ครั้งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 32.2±3.0 ใบ/ครั้ง/ตัว และมีแนวโน้มลดลง จากการกระตุ้นครั้งแรกจนถึงครั้งที่ 4 (P<0.05) เท่ากับ 46.1±8.8, 28.6±3.6, 26.4±3.5 และ 27.7±5.1ใบ/ครั้ง/ตัว ตามลำดับ จำนวนโอโอไซต์ที่เก็บได้ทั้งหมด เท่ากับ 704 ใบจาก 1,274 ฟอลลิเคิล เฉลี่ย 17.6+1.8 ใบ/ครั้ง/ตัว คิดเป็นอัตราการเก็บโอโอไซต์ เท่ากับ 55.2% โดยมีแนวโน้มลดลงจากการเก็บครั้งแรกจนถึงครั้งที่ 4 (P<0.05) 23±5.0, 16.8±3.0, 15.2±1.5 15.4±3.6 ใบ/ครั้ง/ตัว ตามลำดับ ผลการศึกษาแสดงว่าสามารถฉีดกระตุ้นรังไข่ ลูกโคพื้นเมืองไทยก่อนวัยเจริญพันธุ์ได้ด้วยฮอร์โมนโกนาโดโทรปินได้หลายครั้ง ทั้งสามารถเก็บโอโอไซต์ได้ผลดีโดยวิธีการเปิดผ่าช่องท้อง


Transitional Cell Carcinoma Of The Urinary Bladder In A Dog : A Case Report, Chollada Buranakarl, Phiwipha Kamonrat, Rachod Tantilertcharoen Mar 1998

Transitional Cell Carcinoma Of The Urinary Bladder In A Dog : A Case Report, Chollada Buranakarl, Phiwipha Kamonrat, Rachod Tantilertcharoen

The Thai Journal of Veterinary Medicine

A urinary bladder mass was diagnosed in a 14-year-old uncastrated male mixed breed dog presented to the Small Animal Teaching Hospital, Faculty of Veterinary Science, Chulalongkorn University. The dog had periodic hematuria which had been present for eight months without any abnormalities on complete blood count and all other blood chemistry. Radiographic examination revealed a prostate gland enlargement with evidence of irregular thickening of the urinary bladder mucosa without any cystic calculi. Antibiotics and hemostatic drugs were given and hematuria ceased periodically. With a history of concurrent hematuria and an elevation of both blood urea nitrogen (109 mg%) and creatinine …


รายงานสัตว์ป่วย : การทำศัลยกรรมเยือกแข็งรักษาเนื้องอกของ Meibomian Gland ในสุนัข, ปราณี ตันติวนิช, ทัศริน ศิวเวชช, กัมปนาท สุนทรวิภาต, นลินี ตันติวนิช Mar 1998

รายงานสัตว์ป่วย : การทำศัลยกรรมเยือกแข็งรักษาเนื้องอกของ Meibomian Gland ในสุนัข, ปราณี ตันติวนิช, ทัศริน ศิวเวชช, กัมปนาท สุนทรวิภาต, นลินี ตันติวนิช

The Thai Journal of Veterinary Medicine

รายงานการรักษาโรคเนื้องอกของ meibomian gland ในสุนัขจำนวน 25 ตัว ด้วยวิธี cryosurgery โดยการ freeze และ thaw 2 ครั้ง ๆ ละ 30 วินาที หลังจากการผ่าตัดด้วยการจี้ด้วยความเย็น สุนัขทุกตัวหาย จากโรคโดยไม่พบอาการผิดปกติที่หนังตา และไม่พบกลับเป็นขึ้นมาใหม่อีก แต่ผิวหนังบริเวณนั้นมีสีเปลี่ยนแปลงไป


Development Of A Blocking Enzyme-Linked Immunosorbent Assay For Detection Of Serum Antibodies To O157 Antigen Of Escherichia Coli., W Laegreid, M Hoffman, J Keen, R Elder, J Kwang Mar 1998

Development Of A Blocking Enzyme-Linked Immunosorbent Assay For Detection Of Serum Antibodies To O157 Antigen Of Escherichia Coli., W Laegreid, M Hoffman, J Keen, R Elder, J Kwang

Manuscripts, Articles, Book Chapters and Other Papers

The O157 antigen of Escherichia coli shares structural elements with lipopolysaccharide (LPS) antigens of other bacterial species, notably Brucella abortus and Yersinia enterocolitica 09, a fact that confounds the interpretation of assays for anti-O157 antibodies. To address this problem, a blocking enzyme-linked immunosorbent assay (bELISA) was designed with E. coli O157:H7 LPS as the antigen and a monoclonal antibody specific for E. coli O157, designated 13B3, as the competing antibody. The bELISA had equivalent sensitivity to, and significantly higher specificity than, the indirect ELISA (iELISA), detecting anti-O157 antibodies in sera from cattle experimentally inoculated with O157:H7. Only 13% of sera …


Cloning Of The Canine Β-Glucuronidase Cdna, Mutation Identification In Canine Mps Vii, And Retroviral Vector-Mediated Correction Of Mps Vii Cells, Jharna Ray, Alain Bouvet, Christopher Desanto, John Fyfe, Danbin Xu, John Wolfe, Gustavo Aguirre, Donald Patterson, Mark Haskins, Paula Henthorn Feb 1998

Cloning Of The Canine Β-Glucuronidase Cdna, Mutation Identification In Canine Mps Vii, And Retroviral Vector-Mediated Correction Of Mps Vii Cells, Jharna Ray, Alain Bouvet, Christopher Desanto, John Fyfe, Danbin Xu, John Wolfe, Gustavo Aguirre, Donald Patterson, Mark Haskins, Paula Henthorn

Gustavo D. Aguirre, VMD, PhD

Mucopolysaccharidosis type VII (MPS VII) is an inherited disease resulting from deficient activity of the lysosomal acid hydrolase β-glucuronidase (GUSB) and has been reported in humans, mice, cats, and dogs. To characterize canine MPS VII, we have isolated and sequenced the canine GUSB cDNA from normal and affected animals. A single nucleotide substitution was detected in the GUSB cDNA derived from MPS VII dogs. This guanosine to adenine base change at nucleotide position 559 in the canine cDNA sequence causes an arginine to histidine substitution at amino acid position 166. Introduction of the G to A substitution at position 559 …


Polyadenylation Of Vesicular Stomatitis Virus Mrna Dictates Efficient Transcription Termination At The Intercistronic Gene Junctions, Leroy N. Hwang, Nathan Englund, Asit K. Pattnaik Jan 1998

Polyadenylation Of Vesicular Stomatitis Virus Mrna Dictates Efficient Transcription Termination At The Intercistronic Gene Junctions, Leroy N. Hwang, Nathan Englund, Asit K. Pattnaik

School of Veterinary and Biomedical Sciences: Faculty Publications

The intercistronic gene junctions of vesicular stomatitis virus (VSV) contain conserved sequence elements that are important for polyadenylation and transcription termination of upstream transcript as well as reinitiation of transcription of downstream transcript. To examine the role of the putative polyadenylation signal 3' AUACU75' at the gene junctions in polyadenylation and transcription termination, we constructed plasmids encoding antigenomic minireplicons containing one or two transcription units. In plasmid-transfected cells, analyses of the bicistronic minireplicon containing the wild-type or mutant intercistronic gene junctions for the ability to direct synthesis of polyadenylated upstream, downstream, and readthrough mRNAs showed that the AUACU …


An Overview Of The Methylxanthines And Their Regulation In The Horse, J Daniel Harkins, W. Allen Rees, G. D. Mundy, Scott D. Stanley, Thomas Tobin Jan 1998

An Overview Of The Methylxanthines And Their Regulation In The Horse, J Daniel Harkins, W. Allen Rees, G. D. Mundy, Scott D. Stanley, Thomas Tobin

Maxwell H. Gluck Equine Research Center Faculty Publications

Caffiene, theophylline and theobromine are naturally occurring members of the methylxanthine family;pentoxfylline, dyphylline and enprofylline are structurally related synthetic pharmaceuticals. Caffiene has predominantly central nervous system effects, theophylline, dyphylline and enprofylline have predominantly bronchodilator effects, while theobromine is associated with diuretic responses. Pentoxfylline is thought to increase red cell deformability and facillitate blood flow through capillary beds. The methylxanthines are not highly potent agents; they are typically administered in gram doses and they tend to have relatively long half-lives. They remain detectable in plasma and urine for relatively long periods. Similarly, traces of the naturally occurring members of this family …


The Effects Of Light Colour And Lighthing Regimes On The Quail Growth And Carcass Traits, Musa Sarica Jan 1998

The Effects Of Light Colour And Lighthing Regimes On The Quail Growth And Carcass Traits, Musa Sarica

Turkish Journal of Veterinary & Animal Sciences

This research was carried out to determine the effects of light colours (white florescent, red and green bulb) and lighting regimes (continuous and 2L+2D intermittent lighting) on growth performances and carcass traits of japanese quails. Live weights at the age of fifth week were 151.01, 132.84 and 160.40 (P


A Comparison Between Three Serological Tests Forbrucella Melitensis Infection In Sheep, Nizar Abuharfeil, Mahmoud N. Abo-Shehada Jan 1998

A Comparison Between Three Serological Tests Forbrucella Melitensis Infection In Sheep, Nizar Abuharfeil, Mahmoud N. Abo-Shehada

Turkish Journal of Veterinary & Animal Sciences

A comparative study of the Rose Bengal test (RBT), Enzyme-Linked Immunosorbent Assay (ELISA) and complement fixation test (CFT) was performed to analyze sera of two Awassi flocks. Flock A was composed of 215 ewes, naturally infected with brucellosis. None of the animals were vaccinated. Flock B consisted of 336 non-infected non-vaccinated ewes. These served as nega-tive controls. The two flocks were each divided into 4 groups, and samples were collected from one group every 6 months and subjected to bacteriologic and serologic testing. Samples from any aborted ewes were also collected immediately after abortion and 6 weeks later. During the …


Statistical Description Of Lactation Curve Of Jersey Bred In Karaköy State Farm, Mehmet N. Orman, Fetih Yildirim Jan 1998

Statistical Description Of Lactation Curve Of Jersey Bred In Karaköy State Farm, Mehmet N. Orman, Fetih Yildirim

Turkish Journal of Veterinary & Animal Sciences

In this study, the parameters of the regression models for the lactation curve were estimated. A total of 45 standard milk yield records obtained from the first, the second and the third lactations of Jersey bred in Karaköy State Farm were used in the present study. Milk production records were corrected for the ages of cows ond the numbers of lactation. The parameters were estimated in two stages. In the first stage, the data were applied to the five nonlinear models, developed by different authors. The results out of the five models were discussed in detail. The best fitting model …


An Investigation On The Reproduction Of The Common Carp ( Cyprinus Carpio(Linnaeus, 1758)) From Çildir Lake-Turkey, Sedat Yerli̇, Mustafa Zengi̇n Jan 1998

An Investigation On The Reproduction Of The Common Carp ( Cyprinus Carpio(Linnaeus, 1758)) From Çildir Lake-Turkey, Sedat Yerli̇, Mustafa Zengi̇n

Turkish Journal of Veterinary & Animal Sciences

An investigation was made on the gonadosomatic index (GSI) and egg diameter of the specimens of the Common Carp ( Cyprinus carpio) caugth from Çildir Lake in the period of 1991-93. The most intensive period for the reproduction was recorded in June-August, when water temperatures were 12.9, 19.6°C respectively.


The Relationship Between Parturient Paresis And Fat Cow Syndrome In Dairy Cows, Mutlu Sevi̇nç, Veysi Aslan Jan 1998

The Relationship Between Parturient Paresis And Fat Cow Syndrome In Dairy Cows, Mutlu Sevi̇nç, Veysi Aslan

Turkish Journal of Veterinary & Animal Sciences

This study was conducted to find out the association between parturient parasis and fatty liver. Ionized and normalized calcium concentrations in the plasma and blood pH, HCO 3 , PO 2 , BE various metabolic profiles (P, Mg, Na, K, ALT, fosfolipid, protein, CPK, albumine, cholesterol) in the serum samples were evaluated in order to reach a diagnostic and therapeutic results. All the cows were subjected to clinical and laboratory determinations and percutaneous liver biopsy was provided. The blood pH, HCO 3 , BE, ICa ++ , TCa ++ , P, Mg, ALT and fosfolipid concentrations were significantly (p


Effects Of Praziquantel And Albendazole On Coenurus Cerebralisinexperimentally Infected Lambs, Gülay Biyikoğlu, Ahmet Doğanay Jan 1998

Effects Of Praziquantel And Albendazole On Coenurus Cerebralisinexperimentally Infected Lambs, Gülay Biyikoğlu, Ahmet Doğanay

Turkish Journal of Veterinary & Animal Sciences

In this study, effects of praziquantel and albendazole on Coenurus cerabralis were investigated. For this purpose, 5 dogs aged 2.5-3 months and 21 akkaraman lambs aged 3-4 months were used. Three dogs were infected with Coenurus cerebralis protoscoleces, then the eggs collected from their feces were given to the lambs. Approximately 5500 eggs were given to each lamb. The lambs were divided into three groups consisting of 7 lambs each. The drug administration started at the first day of the occurrence of the semptoms of coenurosis. Praziquantel a dose of 25 mg/kg for 3 days and albendazole a dose of …