Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Art Education Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Theses/Dissertations

2017

Discipline
Institution
Keyword
Publication

Articles 61 - 84 of 84

Full-Text Articles in Art Education

Professional Collaboration: The Value Of Meaningful Conversation For The Studio Art Educator, Christopher L. Bryant Jan 2017

Professional Collaboration: The Value Of Meaningful Conversation For The Studio Art Educator, Christopher L. Bryant

Theses and Dissertations--Art and Visual Studies

This thesis explores the strong support for collaboration in schools’ while synthesizing literature already conducted on the subject. The primary objectives of this thesis is to discuss possible scenarios as to why educators are not collaborating, explore characteristics and implementations of collaboration with three specific groups including colleagues, stakeholders, and practicing professionals, and identify four key benefits of collaboration which include improved health, pedagogy, autonomy, and time. Evidence supports the idea that teachers who work in isolation can hinder growth within their profession. Additional evidence provides conclusive evidence that supports the benefits of collaboration by adding responsibilities to key contributors …


Teaching Strategies For Students With Exceptionalities In The Secondary Art Classroom With A Focus On Students With Autism, Down Syndrome, And Visual Impairment, Cheyanne Maree Fannan Jan 2017

Teaching Strategies For Students With Exceptionalities In The Secondary Art Classroom With A Focus On Students With Autism, Down Syndrome, And Visual Impairment, Cheyanne Maree Fannan

Honors Undergraduate Theses

The intent of this thesis is to discover teaching strategies for students who have exceptionalities with a focus on students who have Autism, Down syndrome, or Visual Impairment and how these teaching strategies can be used to teach students in a mainstreamed secondary art classroom. Since the mainstreaming of the public school system has increased, students with exceptionalities have caused uncertainty among teachers about which teaching strategies to use in the classroom to meet all of their students needs. New teaching strategies need to be brought into the classroom to change the way students are learning. This thesis will include: …


The [E]Motionless Body No Longer: Tracing The Historical Intersections Of Mental Illness And Movement In The American Asylum, Holly Adele Herzfeld Jan 2017

The [E]Motionless Body No Longer: Tracing The Historical Intersections Of Mental Illness And Movement In The American Asylum, Holly Adele Herzfeld

Senior Projects Spring 2017

Senior Project submitted to The Division of Multidisciplinary Studies of Bard College.


Variations On The Theme Of Integration In The "Israeli Democracy", Mais Ali Hriesh Jan 2017

Variations On The Theme Of Integration In The "Israeli Democracy", Mais Ali Hriesh

Senior Projects Spring 2017

Senior Project submitted to The Division of Social Studies of Bard College.


'The Writing Writes Itself': Deleuzian Desire And The Creative Writing Mfa Degree, Ginger Walker Jan 2017

'The Writing Writes Itself': Deleuzian Desire And The Creative Writing Mfa Degree, Ginger Walker

Theses and Dissertations

This post-qualitative inquiry project investigated subjectivity (sense of self) among graduates of creative writing Master of Fine Arts (MFA) programs. The project asked how subjectivity is involved in the creative writing process and how that process fuels further writing after a creative piece (such as the MFA thesis) is completed. A post-qualitative, thinking-with-theory approach was used to explore the role of subjectivity among four anonymous graduates of creative writing MFA programs who provided writing samples describing their creative writing processes. Following the thinking-with-theory approach, the data were analyzed using Deleuze and Guattari’s theory of productive desire. Study findings are presented …


Read-In Arts, An Liu Jan 2017

Read-In Arts, An Liu

Theses and Dissertations

As interior designers, we strive to design everything for our clients, from complex environments to the joinery of a chair. We rarely consider inviting our clients or the users to join us in finishing the space.

Read-In workshop is not a school, but a kind of home, a home belonging to children, which provides the possibilities for children to play, to learn, to occupy, to personalize, and to share. An emotional space that will not limit the user, but keep inspiring them. It helps children notice, think, and grow.

Half of the interior space will be a fixed design, designed …


Synergy: Game Design + Qur'an Memorization, Sultana Jesmine Moulana Jan 2017

Synergy: Game Design + Qur'an Memorization, Sultana Jesmine Moulana

Theses and Dissertations

The rise of digital technology has transformed nearly every part of our daily lives, including the way we learn and memorize. Such transformations raise interesting questions for one of the most long-standing and demanding memorization tasks in the world: the memorization of the Islamic holy book, The Qur’an. For Muslims, The Qur’an is a timeless, sacred text, cradling within its covers many profound images, stories, and parables. Despite rigorous research in the fields of game design and memorization techniques, very little work has been done in combining these two areas of research to create a game-based memorization experience of The …


Examining The Impact Of Art-Based Anchor Charts On Academic Achievement In Language Arts, Kimberly Ivette Fontanez Jan 2017

Examining The Impact Of Art-Based Anchor Charts On Academic Achievement In Language Arts, Kimberly Ivette Fontanez

Walden Dissertations and Doctoral Studies

The students at 2 middle schools in County SD, NHMS and WMS are not scoring on or above grade level on the information text portion of the English Language Arts (ELA) standardized SC Palmetto Assessment of State Standards (SCPASS) test given annually in South Carolina. The teachers developed and implemented art-based anchor charts to help close the achievement gap among the 6th, 7th, and 8th grade students. There has been no formal exploration of the teachers' experiences regarding the use of anchor charts. Using the elements of problem-based learning as the theoretical framework, the purpose of this project study was …


การพัฒนารายวิชาเครื่องแต่งกายละครไทย สำหรับนักศึกษานาฏศิลป์ระดับปริญญาบัณฑิต, ฉัตรชัย เคียรประเสริฐ Jan 2017

การพัฒนารายวิชาเครื่องแต่งกายละครไทย สำหรับนักศึกษานาฏศิลป์ระดับปริญญาบัณฑิต, ฉัตรชัย เคียรประเสริฐ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารายวิชาเครื่องแต่งกายละครไทยสำหรับนักศึกษานาฏศิลป์ระดับปริญญาบัณฑิตเป็นการวิจัยและพัฒนา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยโดย สุ่มแบบเจาะจงประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญในการสร้างสรรค์เครื่องแต่งกายละครไทย 5 ท่าน ผู้เชี่ยวชาญในการสอนการสร้างสรรค์เครื่องแต่งกายละครไทย 3 ท่านและนักศึกษานาฏศิลป์ระดับปริญญาบัณฑิต จำนวน 92 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถามความคาดหวัง ผู้วิจัยเก็บข้อมูลเพื่อมาวิเคราะห์ด้านเนื้อหา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และนำเสนอในรูปแบบความเรียง จากการสอบถามความคาดหวังนักศึกษานาฏศิลป์ระดับปริญญาบัณฑิต สรุปว่า ควรบูรณาการร่วมกับศาสตร์วิชาอื่น ผู้เรียนชอบลงมือปฏิบัติงานจริงและนำความรู้หลังการเรียนไปต่อยอดสร้างอาชีพได้ จากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญในการสร้างสรรค์เครื่องแต่งกายละครไทยและผู้เชี่ยวชาญในการสอน การพัฒนารายวิชาเครื่องแต่งกายละครไทยสำหรับนักศึกษานาฏศิลป์ระดับปริญญาบัณฑิตประกอบด้วย 6 ด้านได้แก่ 1) จุดมุ่งหมายการสอน เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ เห็นคุณค่าและสามารถถ่ายทอดความรู้ทางด้านการสร้างสรรค์เครื่องแต่งกายละคร 2) เนื้อหาสาระ ศึกษาประวัติศาสตร์การสร้างสรรค์เครื่องแต่งกายละครไทยและกระบวนการสร้างสรรค์เครื่องแต่งกายละครไทย 3) กิจกรรมการเรียนการสอน การจัดการศึกษานอกสถานที่เพื่อสัมผัสกับประสบการณ์ตรง 4) วิธีการสอน จัดกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียนเพื่อสัมผัสกับประสบการณ์ตรง 5) การประเมินผล คือประเมินตามสภาพจริงตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ 6) แหล่งอ้างอิง ศิลปินที่สืบทอดงานสร้างสรรค์เครื่องแต่งกายละครไทย งานวิจัย โบราณวัตถุ สื่อเทคโนโลยีการเรียนการสอน รายวิชาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยอาศัยรูปแบบการจัดการเรียนการสอน คือ 1) การเรียนรู้แบบกำกับตนเอง 2) การเรียนรู้แบบนำตนเอง 3) การเรียนรู้แบบร่วมมือ 4) การเรียนรู้แบบร่วมกันเพื่อพัฒนาทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ 1) ทักษะการเรียนรู้และการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทักษะการคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ทักษะการสื่อสารและการประสานความร่วมมือกัน 2) ทักษะทางสารสนเทศและสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ 3) ทักษะการใช้ชีวิตและการประกอบอาชีพ เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถและพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพในการอนุรักษ์เพื่อสืบทอดศิลปะแต่โบราณและเป็นแนวทางสร้างสรรค์ รู้จักประยุกต์ใช้ เพื่อสนองต่อความต้องการของสังคมสมัยใหม่ ผลจากการประเมินและรับรองรายวิชาโดยผู้ทรงคุณวุฒิพบว่ารายวิชามีความเหมาะสม และสามารถนำไปใช้ได้โดยมีค่าเฉลี่ยรวมระดับความเห็นด้วยในระดับมากที่สุด ผลจากการนำกิจกรรมจากรายวิชาไปทดลองใช้ จากการสัมภาษณ์นิสิตมีความพึงพอใจในการทำกิจกรรมเนื่องจากเนื้อหาที่จัดการเรียนการสอนสามารถนำความรู้ไปใช้ในด้านการแสดงศิลปนิพนธ์และสามารถประกอบอาชีพได้


การพัฒนาโปรแกรมกิจกรรมศิลปะโดยใช้ทีมเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมการเห็นคุณค่าในตนเองของเด็กและเยาวชนในสถานสงเคราะห์, ณิชาบูล ลำพูน Jan 2017

การพัฒนาโปรแกรมกิจกรรมศิลปะโดยใช้ทีมเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมการเห็นคุณค่าในตนเองของเด็กและเยาวชนในสถานสงเคราะห์, ณิชาบูล ลำพูน

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. พัฒนาโปรแกรมกิจกรรมศิลปะ เพื่อส่งเสริมการเห็นคุณค่าในตนเองของเด็กและเยาวชนในสถานสงเคราะห์ 2. ศึกษาผลการจัดโปรแกรมกิจกรรมศิลปะโดยใช้ทีมเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมการเห็นคุณค่าในตนเองของเด็กและเยาวชนในสถานสงเคราะห์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลอง คือ เด็กหญิงอายุในช่วง 11-15 ปี ในบ้านอุปถัมภ์ มูลนิธิสร้างสรรค์เด็ก จำนวน 16 คน ทำการทดลองสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ครั้งละ 2 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 8 ครั้ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมกิจกรรมศิลปะโดยใช้ทีมเป็นฐาน ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แผนการจัดกิจกรรม แบบประเมินความรู้ แบบประเมินการเห็นคุณค่าในตนเอง แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานของทีม แบบประเมินตนเองหลังเข้าร่วมกิจกรรม 2) แบบประเมินความพึงพอใจ 3) แบบสอบถามความคิดเห็น 4) แบบสัมภาษณ์ผู้ดูแลเด็กและเยาวชนในสถานสงเคราะห์ ลักษณะโปรแกรมเน้นการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเองผ่านการศึกษาความรู้และทักษะการทำงานศิลปะ โดยใช้กลยุทธ์ทีมเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการเห็นคุณค่าในตนเองทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านความสำคัญ ด้านความเป็นผู้นำ ด้านคุณธรรม และด้านความสามารถ ซึ่งแบ่งขั้นตอนการจัดกิจกรรมเป็น 3 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นเตรียมความพร้อม ขั้นทดสอบความรู้ และขั้นประยุกต์ใช้ความรู้ โดยองค์ประกอบโปรแกรมประกอบด้วย 1) วัตถุประสงค์: เน้นการเห็นคุณค่าในตนเอง 2) เนื้อหาการเรียนรู้: เน้นการทำงานศิลปะ การทำงานประดิษฐ์ การออกแบบที่สอดแทรกคุณธรรม 3) กระบวนการจัดการเรียนรู้: เน้นการศึกษาความรู้ด้วยตนเอง ทำแบบทดสอบ 4) การวัดและประเมินผล: เน้นการสังเกตพฤติกรรมและประเมินการเห็นคุณค่าในตนเอง ซึ่งผลการทดลองโดยใช้โปรแกรมพบว่าเด็กและเยาวชนในสถานสงเคราะห์มีการเห็นคุณค่าในตนเองสูงขึ้นกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05


การพัฒนาแบบฝึกการวาดลวดลายกระหนกสำหรับนักศึกษาศิลปะระดับปริญญาตรี, ธัฐบดินทร์ บุญเนื่อง Jan 2017

การพัฒนาแบบฝึกการวาดลวดลายกระหนกสำหรับนักศึกษาศิลปะระดับปริญญาตรี, ธัฐบดินทร์ บุญเนื่อง

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.วิเคราะห์ปัญหาในการวาดลวดลายกระหนกของนักศึกษาศิลปะระดับปริญญาตรี 2.เพื่อพัฒนาแบบฝึกการวาดลวดลายกระหนกจากความเห็นของอาจารย์ผู้สอนจิตรกรรมไทยลวดลายกระหนกและผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนและผลิตสื่อการสอน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ 1. นักศึกษาระดับปริญญาตรี ที่ศึกษาวิชาจิตรกรรมไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาลัยเพาะช่าง แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1.1 นักศึกษาที่กำลังศึกษาชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 20 คน 1.2 นักศึกษาที่กำลังศึกษาในปีที่ 1-4 ปีการศึกษา 2559 ชั้นปีละ 5 คน 2. อาจารย์ผู้สอนจิตรกรรมไทยลวดลายกระหนก จำนวน 5 ท่าน 3. ผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนและผลิตสื่อการสอน จำนวน 5 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบวิเคราะห์ผลงานของผู้เรียน แบบสัมภาษณ์เพื่อการวิจัยสำหรับนักศึกษา แบบสอบถามการวิจัยสำหรับอาจารย์ผู้สอนจิตรกรรมไทย แบบสังเกตการเรียนการสอน แบบสัมภาษณ์เพื่อการวิจัยสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนและผลิตสื่อการสอนและแบบประเมินแบบฝึกลวดลายกระหนกสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนและผลิตสื่อการสอน ผลการวิจัยพบว่า 1.ผู้เรียนประสบปัญหาด้านทักษะและความเข้าใจในรายละเอียดและสัดส่วนของตัวลายเป็นส่วนมาก 2.การพัฒนาแบบฝึกการวาดลวดลายกระหนกจากข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนและผลิตสื่อการสอน มีเนื้อหาด้านรายละเอียดเป็นไปตามลำดับขั้นตอน อธิบายขั้นตอนการวาด โครงสร้าง องค์ประกอบย่อยและสัดส่วนของลวดลายกระหนกได้ชัดเจน โดยแสดงขั้นตอนการวาดที่สอดคล้องต่อเนื่องกัน ง่ายต่อการทำความเข้าใจ และสามารถฝึกทบทวนได้ด้วยตนเองได้ 3.การประเมินของผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนและผลิตสื่อการสอน ให้ความเห็นในระดับมากที่สุด ในด้านคุณลักษณะแบบฝึกที่ดีและด้านเนื้อหาการเรียนและโครงสร้างแบบฝึกที่ดี


การพัฒนากิจกรรมศิลปะเพื่อส่งเสริมการเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์ในงานศิลปหัตถกรรมภาคใต้สำหรับเยาวชน, ธีติ พฤกษ์อุดม Jan 2017

การพัฒนากิจกรรมศิลปะเพื่อส่งเสริมการเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์ในงานศิลปหัตถกรรมภาคใต้สำหรับเยาวชน, ธีติ พฤกษ์อุดม

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์รูปแบบของอัตลักษณ์ในงานศิลปหัตถกรรมภาคใต้ 2) เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมศิลปะเพื่อส่งเสริมการเห็นคุณค่าเรื่องอัตลักษณ์ในงานศิลปหัตถกรรมภาคใต้ กลุ่มเป้าหมายคือ กลุ่มเยาวชนในจังหวัดสงขลาที่มีอายุ 15-25 เป็นอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการและยินดีให้ข้อมูลในการทดลองกิจกรรม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยเครื่องมือ 2 ชุด ชุดที่ 1 เครื่องมือสำหรับเก็บข้อมูล เพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับอัตลักษณ์ของศิลปหัตถกรรมภาคใต้ และเพื่อพัฒนากิจกรรมศิลปะเพื่อส่งเสริมการเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์ในงานศิลปหัตถกรรมภาคใต้สำหรับเยาวชน ประกอบด้วย 1) แบบสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญในการจัดกิจกรรม BestPractice 2) แบบสัมภาษณ์ปราชญ์ชาวบ้านที่มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับงานศิลปหัตถกรรมภาคใต้ 3) แบบสังเกตการจัดกิจกรรมที่มีแนวปฏิบัติที่ดี ชุดที่ 2 เครื่องมือวัดคุณภาพของกิจกรรมศิลปะเพื่อส่งเสริมการเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์ในงานศิลปหัตถกรรมภาคใต้สำหรับเยาวชนประกอบด้วย 1) แบบประเมินเรื่องการเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์ในงานศิลปหัตถกรรมภาคใต้สำหรับเยาวชน 2) แบบสัมภาษณ์ผู้เข้าร่วมทำกิจกรรมศิลปะเพื่อส่งเสริมการเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์ในงานศิลปหัตถกรรมภาคใต้สำหรับเยาวชน 3) แบบประเมินพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมต่อกิจกรรมศิลปะเพื่อส่งเสริมการเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์ในงานศิลปหัตถกรรมภาคใต้สำหรับเยาวชน 4) แบบสังเกตพฤติกรรมผู้ร่วมกิจกรรมศิลปะเพื่อส่งเสริมการเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์ในงานศิลปหัตถกรรมภาคใต้สำหรับเยาวชน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ ด้วยสถิติ t-test dependent และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบของอัตลักษณ์ที่สำคัญคือ มีการใช้วัสดุธรรมชาติที่มีในท้องถิ่นภาคใต้ สีสันที่ใช้มีความสดใสเป็นพิเศษเน้นสีที่มีลักษณะตัดกันอย่างชัดเจนและมีการตกแต่งด้วยลวดลาย ที่ได้แรงบันดาลมาจากธรรมชาติในท้องถิ่น 2) ชุดของกิจกรรมศิลปะที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์ในงานศิลปหัตถกรรมภาคใต้จำนวน 6 กิจกรรม 1) กิจกรรมเข็มกลัดจากหนังตะลุง 2) กิจกรรมผ้ายกกระดาษ 3) กิจกรรมตกแต่งหม้อสทิงหม้อ4) กิจกรรมสมุดสวยด้วยลายว่าวเบอร์อามัส 5) ตกแต่งแหวนด้วยวิธีการทำเครื่องถมเมืองนคร 6) กิจกรรมด้ามจับปากกาสานย่านลิเภา ใช้เวลาในการปฏิบัติจำนวน 2 ชั่วโมงต่อกิจกรรม 3) ผลจากการนำกิจกรรมที่พัฒนาขึ้นไปทดลองใช้ พบว่าเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมศิลปะเพื่อส่งเสริมการเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์ในงานศิลปหัตถกรรมภาคใต้สำหรับเยาวชน มีระดับการเห็นคุณค่าหลังการทำกิจกรรม (x̄=51.93) สูงกว่าก่อนทำกิจกรรม (x̄= 41.37) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05


Young Chicanx On The Move: Folklórico Dance Education As A Mechanism Of Self-Assertion And Social Empowerment, Maya Salas Jan 2017

Young Chicanx On The Move: Folklórico Dance Education As A Mechanism Of Self-Assertion And Social Empowerment, Maya Salas

Scripps Senior Theses

In the context of Chicanx experiences in the United States, where varying generations of Chicanxs experience bicultural realities, this study shows how embodied knowledge performed through the body’s movements in folklórico dance by Chicanx youth from multiple generations, acts as a mechanism for reconnecting youth to cultural ties, reevaluating educational practices, and emplacing within youth, the ability to foster the confidence to express and create imagined futures. Data collection incorporated a series of interviews with eight Chicanx youth and adults who have either taught or danced folklórico in the Phoenix, Los Angeles, or Coachella Valley areas. Interview participants revealed a …


Recovery From Design, Cassandra J. Ellison Jan 2017

Recovery From Design, Cassandra J. Ellison

Theses and Dissertations

Through research, inquiry, and an evaluation of Recovery By Design, a ‘design therapy’ program that serves people with mental illness, substance use disorders, and developmental disabilities, it is my assertion that the practice of design has therapeutic potential and can aid in the process of recovery. To the novice, the practices of conception, shaping form, and praxis have empowering benefit especially when guided by Conditional and Transformation Design methods together with an emphasis on materiality and vernacular form.


Defining Civic Mindedness: A Study Of The Butler Community Arts School, Emma Edick Jan 2017

Defining Civic Mindedness: A Study Of The Butler Community Arts School, Emma Edick

Undergraduate Honors Thesis Collection

The term “civic-mindedness” is broad, but it relates to specific experiences and behaviors we, as citizens and members of communities across the country, live out in our daily lives. But what does the term’s definition boil down to? I conducted a study to complete my thesis for the Butler University Honors Program, starting with the question: how is “civic-mindedness” defined in our culture and in what ways do the arts, specifically, impact an individual’s development of civic-mindedness? To answer this question, I focused on the dual mission statement of the Butler Community Arts School (BCAS), which reads, “…providing quality arts …


Latino/A Artist Educators (Laes) And Their Role In Creating And Sustaining Alternative Democratic Spaces In Miami, Deborah Therese Woeckner Saavedra Jan 2017

Latino/A Artist Educators (Laes) And Their Role In Creating And Sustaining Alternative Democratic Spaces In Miami, Deborah Therese Woeckner Saavedra

Legacy Theses & Dissertations (2009 - 2024)

This exploratory study utilizes a qualitative, ethnographic approach to locate and contextualize Latino/a Artist Educators (LAEs) in Miami, Florida. Foundational and cutting-edge, it brings together many distinct perspectives to illuminate the power and promise of a newly imagined yet group of individuals to build and sustain alternative democratic spaces. Building on critical educators Paolo Freire, bell hooks, Henry Giroux and Howard Zinn, as well as extending the framework of critical theorists Gloria Anzaldúa, Cornel West and others, this research begins to sketch the influence of the LAEs interviewed in Miami from 2003-2013. As a sociocultural ethnographic study positioned at the …


Examining Adolescent Student Photography And Related Processes To Inform Day Treatment School Curricula And Behavioral Interventions, Jason Edward Gorbel Jan 2017

Examining Adolescent Student Photography And Related Processes To Inform Day Treatment School Curricula And Behavioral Interventions, Jason Edward Gorbel

Walden Dissertations and Doctoral Studies

Adolescent students with psychiatric disorders who are educated in day treatment school classrooms manifest cognitive limitations, maladaptive behaviors, and social functioning deficits that often lead to academic failure, impeding their productivity when they become adults and causing them to run afoul of the criminal justice system. Informed by their students' interests and perspectives, day treatment schoolteachers can individualize existing curricular and behavioral interventions, or develop alternatives so that unwanted classroom behaviors decrease and academic performance improves. This qualitative case study used Roland Barthes' (1981, 1985) theory of semiotics as a conceptual framework for answering how an analysis of photographs taken …


แนวทางการจัดการเรียนการสอนศิลปะที่ส่งเสริมการเห็นคุณค่าในพหุวัฒนธรรมระดับประถมศึกษาในโรงเรียนนานาชาติ, ณัฐชนา มณีพฤกษ์ Jan 2017

แนวทางการจัดการเรียนการสอนศิลปะที่ส่งเสริมการเห็นคุณค่าในพหุวัฒนธรรมระดับประถมศึกษาในโรงเรียนนานาชาติ, ณัฐชนา มณีพฤกษ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนศิลปะที่ส่งเสริมการเห็นคุณค่าในพหุวัฒนธรรมระดับประถมศึกษาในโรงเรียนนานาชาติ และ 2) นำเสนอแนวทางการจัดการเรียนการสอนศิลปะที่ส่งเสริมการเห็นคุณค่าในพหุวัฒนธรรมในระดับประถมศึกษาในโรงเรียนนานาชาติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครูศิลปะ 5 คน และนักเรียน 80 คน จากโรงเรียนนานาชาติที่มีการจัดการศึกษาศิลปะแบบพหุวัฒนธรรมจากระบบการศึกษาหลักของโรงเรียนนานาชาติในประเทศไทย จำนวน 4 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบบันทึกหลักสูตรศิลปศึกษา 2) แบบสังเกตการจัดการเรียนการสอนในวิชาศิลปศึกษา 3) แบบสัมภาษณ์ครูผู้สอนวิชาศิลปศึกษา 4) แบบสัมภาษณ์นักเรียน และ 5) แบบประเมินแนวทางการจัดการเรียนการสอน ซึ่งวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัชฌิมเลขคณิตหรือค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพของหลักสูตรศิลปศึกษาในโรงเรียนนานาชาติมีการกำหนดขอบเขตเนื้อหาสาระที่แสดงถึงวัฒนธรรม มีการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ส่งเสริมความเข้าใจในพหุวัฒนธรรม บูรณาการระหว่างเนื้อหาทางศิลปะและวัฒนธรรม สื่อการสอนนำเสนอวัฒนธรรมได้ดี ไม่ก่อให้เกิดอคติ มีกระบวนการในการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย 2) แนวทางการจัดการเรียนการเรียนการสอนศิลปะที่ส่งเสริมการเห็นคุณค่าในพหุวัฒนธรรมระดับประถมศึกษาในโรงเรียนนานาชาติ สรุปได้ดังนี้ หลักสูตรควรเอื้อต่อความหลากหลายทางวัฒนธรรม มีการกำหนดเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับบริบททางสังคม วันสำคัญ เทศกาล วัฒนธรรมและประเพณี เน้นการจัดการเรียนการสอนให้เข้าใจแนวคิดหลัก และสามารถแสดงออกในรูปแบบของตนเอง เป็นการพัฒนาทักษะวิธีการทางศิลปะควบคู่ไปกับการสร้างประสบการณ์ทางวัฒนธรรมและเจตคติที่ดีและจำเป็นต่อการอยู่อาศัยในสังคมที่มีความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม ซึ่งจะพัฒนานักเรียนตามแนวคิดการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรมสูงกว่าระดับการเห็นคุณค่าและยอมรับวัฒนธรรมตนเอง ประเมินผลด้วยวิธีที่หลากหลายทั้งผลงานศิลปะ การอธิบายผลงานที่แสดงการประยุกต์วัฒนธรรม การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน และการวิพากษ์วิจารณ์งานศิลปะ ผลจากการประเมินและรับรองแนวทางการจัดการเรียนการสอนศิลปะที่ส่งเสริมการเห็นคุณค่าในพหุวัฒนธรรมระดับประถมศึกษาในโรงเรียนนานาชาติโดยผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า แนวทางการสอนมีความเหมาะสมและสามารถนำไปใช้ได้ โดยมีค่าเฉลี่ยรวมระดับความเห็นด้วยในระดับมากที่สุด


การนำเสนอรูปแบบการสอนวิชาเครื่องเคลือบดินเผาในระดับปริญญาตรีที่สนองต่อบริบทและลักษณะของห้องปฏิบัติการ, ธัญชนก เนตรนวนิล Jan 2017

การนำเสนอรูปแบบการสอนวิชาเครื่องเคลือบดินเผาในระดับปริญญาตรีที่สนองต่อบริบทและลักษณะของห้องปฏิบัติการ, ธัญชนก เนตรนวนิล

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการสอนและการใช้ห้องปฏิบัติการเครื่องเคลือบดินเผาในหลักสูตรปริญญาตรี 3 หลักสูตร คือ 1) หลักสูตรผลิตครูศิลปะ 2) หลักสูตรผลิตศิลปินเครื่องเคลือบดินเผา และ 3) หลักสูตรผลิตนักออกแบบอุตสาหกรรม และเพื่อนำเสนอรูปแบบการสอนที่สนองต่อบริบทและลักษณะของห้องปฏิบัติการ ด้วยวิธีดำเนินการวิจัยโดยการวิจัยแบบผสมผสาน ดังนี้ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยสัมภาษณ์อาจารย์ผู้สอน 3 หลักสูตร และผู้เชี่ยวชาญด้านเครื่องเคลือบดินเผา เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยเครื่องมือแบบสัมภาษณ์ จากนั้นนำข้อมูลมาจำแนกและจัดข้อมูลเป็นหมวดหมู่ แล้วเปรียบเทียบหารูปแบบการสอนที่สำคัญของแต่ละหลักสูตร 2) การวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ อาจารย์ผู้สอนวิชาเครื่องเคลือบดินเผาระดับปริญญาตรี และนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 - 4 เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม พร้อมการสังเกตลักษณะและการใช้ห้องปฏิบัติการ แล้ววิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า วิธีการสอนของอาจารย์ผู้สอนหลักสูตรผลิตครูศิลปะส่วนใหญ่ให้ความสำคัญคือคำนึงถึงการเป็นต้นแบบการสอนที่ดี การตั้งคำถามและจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการคิดอย่างสร้างสรรค์ ส่วนหลักสูตรผลิตศิลปินเครื่องเคลือบดินเผา พบว่าอาจารย์ผู้สอนส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับการสอนเทคนิคต่างๆจากตัวอย่างงานหลากหลายเพื่อให้ผู้เรียนนำมาประยุกต์ใช้อย่างสร้างสรรค์ และในหลักสูตรการผลิตนักออกแบบอุตสาหกรรม พบว่าอาจารย์ผู้สอนส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับการสร้างแนวคิด (Concept) หรือโจทย์แก่ผู้เรียนนำไปแก้ปัญหาในการออกแบบ
รูปแบบการสอนเครื่องเคลือบดินเผา 3 หลักสูตรสรุปได้ดังนี้ 1) หลักสูตรผลิตครูศิลปะ เรียนรู้กระบวนการผลิตเครื่องเคลือบดินเผาที่เน้นการสำรวจประสบการณ์ที่ครอบคลุมในกระบวนการสร้างสรรค์ กิจกรรมการสอนเน้นปลูกฝังคุณค่าของการเป็นครูต้นแบบ และการออกแบบแผนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนนำความรู้และทักษะทางเครื่องเคลือบดินเผาไปใช้สอนได้จริง วัดและประเมินผลจากความเข้าใจในกระบวนการผลิตงาน และกระบวนการคิดในการออกแบบแผนการสอน 2) หลักสูตรผลิตศิลปินเครื่องเคลือบดินเผา เรียนรู้กระบวนผลิตชิ้นงานทั้งในทางทฤษฎีและปฏิบัติ กิจกรรมการสอนเน้นคุณค่าของความคิดสร้างสรรค์ หลักการทางสุนทรียภาพ อารมณ์ความรู้สึกของชิ้นงาน รวมถึงการเรียนรู้เทคนิคทางเครื่องเคลือบดินเผาที่หลากหลายผ่านตัวอย่างงานของศิลปิน ซึ่งหลักสูตรนี้จะวัดและประเมินผลจากพัฒนาการด้านทักษะ ความคิดสร้างสรรค์และความเป็นอัตลักษณ์ของตนเอง 3) หลักสูตรผลิตนักออกแบบอุตสาหกรรม เรียนรู้หลักการออกแบบที่คำนึงถึงความงามหน้าที่ใช้สอย และกระบวนผลิตชิ้นงานทั้งในทางทฤษฎีและปฏิบัติในเชิงอุตสาหกรรม นอกจากนี้กิจกรรมการสอนเน้นการแก้ปัญหาทางการออกแบบโดยคำนึงถึงความต้องการของตลาดเป็นสำคัญ ซึ่งหลักสูตรนี้จะวัดและประเมินผลจากกระบวนการคิดและการออกแบบ


รูปแบบการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณในการเรียนรู้ศิลปะสมัยใหม่และร่วมสมัยของไทยในพิพิธภัณฑ์ศิลปะ, ปทุมมา บำเพ็ญทาน Jan 2017

รูปแบบการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณในการเรียนรู้ศิลปะสมัยใหม่และร่วมสมัยของไทยในพิพิธภัณฑ์ศิลปะ, ปทุมมา บำเพ็ญทาน

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานสำหรับการพัฒนารูปแบบการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณในการเรียนรู้ศิลปะสมัยใหม่และร่วมสมัยของไทยในพิพิธภัณฑ์ศิลปะ 2) พัฒนารูปแบบการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณในการเรียนรู้ศิลปะในพิพิธภัณฑ์ และ 3) ศึกษาผลการใช้และนำเสนอรูปแบบการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณในการเรียนรู้ศิลปะในพิพิธภัณฑ์ การดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ 1) การศึกษาข้อมูลพื้นฐานสำหรับการพัฒนารูปแบบ ประกอบด้วย การศึกษาเอกสาร การวิจัยเชิงสำรวจด้วยแบบสอบถามสำหรับครูทัศนศิลป์ การวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์บุคลากรในพิพิธภัณฑ์ศิลปะ การวิจัยภาคสนามในพิพิธภัณฑ์ศิลปะ และการศึกษาแนวทางการจัดการศึกษาและรูปแบบที่ควรจะเป็นจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ 2) การพัฒนารูปแบบโดยสังเคราะห์ข้อมูลการวิจัยระยะที่ 1 ทดลองใช้ร่างรูปแบบ และการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบจากกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ และ 3) การใช้รูปแบบกับตัวอย่าง 2 กลุ่ม กลุ่มละ 50 คน ในนิทรรศการที่มีเนื้อหาแตกต่างกัน ด้วยแผนการทดลอง 2 กลุ่ม วัดผลหลังกิจกรรม และนำเสนอรูปแบบ เครื่องมือการทดลองประกอบด้วย คู่มือการจัดกิจกรรม ใบงาน คู่มือการเรียนรู้ แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แบบสัมภาษณ์ครูและนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม และแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบที่พัฒนาขึ้นเป็นกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณในการเรียนรู้ศิลปะในพิพิธภัณฑ์ศิลปะประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือ 1) รวบรวมข้อมูล 2) พิจารณารายละเอียดข้อมูล 3) วิเคราะห์และจำแนกข้อมูล 4) สรุปและตีความโดยใช้เหตุผล และ 5) ประเมินและตัดสินใจโดยใช้เหตุผล เชื่อมโยงกับมิติการคิด 3 ด้าน คือ ด้านองค์ประกอบศิลป์ มโนทัศน์ และประวัติศาสตร์ศิลปะ ผ่านกระบวนการทำความเข้าใจศิลปะ อภิปรายแสดงความคิดเห็น และสร้างงานศิลปะ โดยเน้นพฤติกรรมการแสดงออก 6 ข้อ คือ อธิบาย ตีความผลงาน เปรียบเทียบผลงาน แสดงมุมมองของตนเอง เข้าใจมุมมองของผู้อื่น และสร้างงานศิลปะ โดยมีปัจจัยสนับสนุนคือ วิทยากร ครูผู้สอน นักเรียน สื่อ และบรรยากาศการเรียนรู้ ซึ่งกลไกสนับสนุนประกอบด้วย การพัฒนาการเข้าถึง การพัฒนาความรับผิดชอบ และการพัฒนาความร่วมมือ ผลการใช้รูปแบบสรุปได้ว่า …


การพัฒนาชุดการสอนศิลปะตามแนวคิดสะตีมศึกษาเพื่อส่งเสริมกระบวนการสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 5, บุญยนุช สิทธาจารย์ Jan 2017

การพัฒนาชุดการสอนศิลปะตามแนวคิดสะตีมศึกษาเพื่อส่งเสริมกระบวนการสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 5, บุญยนุช สิทธาจารย์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดสะตีมศึกษาและพัฒนาชุดการสอนศิลปะตามแนวคิดสะตีมศึกษาเพื่อส่งเสริมกระบวนการสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ 1) ผู้เชี่ยวชาญด้านสะเต็มศึกษา-สะตีมศึกษา 3 คน 2) ครูด้านสะเต็มศึกษา-สะตีมศึกษา จำนวน 3 คน 3) ครูที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีด้านการสอนศิลปะแบบบูรณาการ จำนวน 3 คน 4) ครูศิลปะในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 394 คน 5) นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 37 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต แบบสอบถาม แบบประเมินชุดการสอน และแบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรม รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. แนวคิดสะตีมศึกษาเป็นการนำความรู้ ทักษะ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ ศิลปะ และคณิตศาสตร์มาใช้ในการสร้างชิ้นงานผ่านการคิดวางแผนและปฏิบัติงานอย่างเป็นขั้นตอน ในการจัดการเรียนการสอนครูควรกระตุ้นความสนใจด้วยสื่อที่หลากหลาย ตั้งคำถามเพื่อให้นักเรียนร่วมอภิปรายและแสดงความคิดเห็นเพื่อนำสู่เรื่องที่สอน สาธิตวิธีการสร้างสรรค์ผลงาน มอบหมายงานให้นักเรียนปฏิบัติโดยให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้า วางแผน ออกแบบ และลงปฏิบัติมือตามที่ออกแบบไว้ นำเสนอผลงาน สะท้อนความคิด แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสรุปสิ่งที่ได้จากการทำกิจกรรม 2. ชุดการสอนศิลปะตามแนวคิดสะตีมศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียนคิดอย่างเป็นองค์รวมโดยการนำความรู้ 5 ศาสตร์มาใช้ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานผ่านการคิดวางแผนและปฏิบัติงานอย่างเป็นขั้นตอน มีหลักการสำคัญ 3 ส่วน ประกอบด้วย การบูรณาการ 5 ศาสตร์ การทำงานเป็นทีม และกระบวนการสร้างสรรค์ มีการออกแบบกิจกรรมโดยคำนึงถึงหลักสูตรแกนกลางของแต่ละวิชาและสอดแทรกเนื้อหาความเป็นไทยผ่าน 5 หน่วยการเรียนรู้ ประกอบด้วย 1) ตะลุงหลากสี 2) ดนตรีสื่อสาร 3) นิทานสัตว์หรรษา 4) นาวาลูกโป่ง และ 5) บ้านสามมิติ 3. ผลการตรวจชุดการสอนโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน พบว่า ชุดการสอนมีคุณภาพในระดับดี (ค่าเฉลี่ย = 4.36) 4. ผลจากการนำชุดการสอนไปทำการทดลองกับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 …


Korean Popular Music (K-Pop), Youth Fan Culture, And Art Education Curriculum, Aelim Kim Jan 2017

Korean Popular Music (K-Pop), Youth Fan Culture, And Art Education Curriculum, Aelim Kim

Theses and Dissertations

The advent of digital technologies has allowed the multi-directional distribution of cultural products and blurred boundaries between national popular cultures. This sociocultural condition opens up a global public sphere for youth so that they can actively participate as part of a transcultural audience of popular culture and communicate with their peers from all over the world. K-Pop (Korean popular music) is an example of popular content that has reached across the globe and attained a worldwide fandom through digital media platforms. The K-Pop industry proactively applied various strategies to utilize this media condition and target global youth. Considering the cultural …


Papelitos: The Visual Testimonios Of Undocumented College Students, Olivia Munoz Jan 2017

Papelitos: The Visual Testimonios Of Undocumented College Students, Olivia Munoz

Doctoral Dissertations

This study investigated the role art played in the lives of nine undocumented college students at different universities in Northern California. The purpose of this qualitative inquiry was to examine how undocumented college students use art as a mechanism of resistance and activation of the political self related to their immigration status. This scholarship comes at the heels of the first year in office of the 45th president of the United States, who ran on a platform, in part, of anti-immigrant rhetoric. Much of the activism around undocumented immigrant rights has used art as a mechanism for collective action, allyship, …


Primary Students’ Engagement With The Visual Arts And Their Transition Into Year 7, Zoe Wittber Jan 2017

Primary Students’ Engagement With The Visual Arts And Their Transition Into Year 7, Zoe Wittber

Theses: Doctorates and Masters

Visual Arts education is fundamental to an effective school curriculum for primary and secondary students. It provides students with opportunities for expression and personal growth, essential to a holistic education. Recently, in Perth, Western Australia (WA) several secondary Visual Arts educators expressed what they saw as a significant deficit in the outcomes of Making and Responding in Visual Arts, evidenced in their Year 7 students who had recently graduated from primary school. Consequently, this research investigated the extent of Year 7 students’ prior Visual Arts experiences upon entry into secondary school.

The research engaged a qualitative research approach to gather …