Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Arts and Humanities Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Theatre and Performance Studies

PDF

2018

Institution
Keyword
Publication
Publication Type

Articles 601 - 628 of 628

Full-Text Articles in Arts and Humanities

Memory, Metatheater, And Intertextuality In "La Madrugada" By Juan Tovar, Brian T. Chandler Jan 2018

Memory, Metatheater, And Intertextuality In "La Madrugada" By Juan Tovar, Brian T. Chandler

The Coastal Review: An Online Peer-reviewed Journal

This work explores the concepts of temporality, memory and history in the play La madrugada by Juan Tovar presented through the use of metatheatricality and intertextuality with works such as Pedro Páramo and various historical corridos. The processes through which official history is constructed are shown in contrast with collective memory that endures in the corrido, the “authentic” voice of the people, suggesting that the only possibility for redemption is found in memory, a space where one can learn from history to rectify the mistakes of the past whose impact in politics and society is felt to this …


นาฏกรรมในรัชกาลที่ 3, ธรรมจักร พรหมพ้วย Jan 2018

นาฏกรรมในรัชกาลที่ 3, ธรรมจักร พรหมพ้วย

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษาสถานภาพของงานนาฏกรรมในรัชกาลที่ 3 เป็นการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ที่มุ่งศึกษาปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงงานนาฏกรรม โดยมุ่งที่จะศึกษาประวัติศาสตร์นาฏกรรมในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ระหว่าง พ.ศ. 2367 - 2394 โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยผสมผสาน ที่ได้รวบรวมและค้นคว้าเอกสารชั้นต้นและชั้นรอง และหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี ประเภทจิตรกรรมและประติมากรรม ผลการวิจัยพบว่างานนาฏกรรมในรัชกาลที่ 3 ยังคงปรากฏอยู่ในราชสำนักและนอกราชสำนัก มีหน้าที่ตอบสนองความต้องการของสังคมในเชิงพิธีกรรมและความบันเทิง แม้ว่าพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมิได้ใส่พระราชหฤทัยและให้ความสำคัญเรื่องงานนาฏกรรมมากนัก แต่กลับทำให้รูปแบบนาฏกรรมของหลวงเผยแพร่ไปสู่วังของเจ้านายและเรือนของขุนนาง จนทำให้มีการละเมิดธรรมเนียมราชสำนักเรื่องการมีละครหรือมโหรีผู้หญิงประดับเกียรติยศ นอกจากนี้ปัจจัยจากสภาพสังคม เช่น ระบบเศรษฐกิจ ระบบไพร่ การขยายตัวของพระนคร ความหลากหลายทางเชื้อชาติและศาสนา เป็นผลให้นาฏกรรมกระจายตัวโดยแพร่หลาย ประชากรมีรายได้เพิ่มมากขึ้นจนสามารถใช้จ่ายเพื่อความบันเทิงและการพนันได้ ปรากฏพิกัดการกระจายตัวของนาฏกรรมทั่วไปในพระนคร เมืองประเทศราชและหัวเมืองสำคัญ โดยเฉพาะวัดที่สร้างและปฏิสังขรณ์ในรัชกาลที่ 3 มากกว่า 53 วัด เป็นแหล่งที่ต้องใช้นาฏกรรมเป็นมหรสพสมโภชเมื่อเฉลิมฉลองและวันสำคัญทางศาสนา รูปแบบและวิธีแสดงนาฏกรรมที่ประกอบด้วยบริบทต่าง ๆ ยังคงแสดงตามแบบจารีตดั้งเดิม แต่ส่วนที่แปรเปลี่ยนจากเดิมคือกลุ่มนายทุน กลุ่มการจัดการ กลุ่มนักแสดง และกลุ่มผู้ชม การที่นาฏกรรมยังคงมีกลุ่มผู้จัดแสดงอย่างต่อเนื่องทำให้ งานนาฏกรรมได้รับการสืบทอดจวบจนปัจจุบัน นาฏกรรมในรัชกาลที่ 3 จึงเป็นวิถีทางหนึ่งที่ช่วยอนุรักษ์งานนาฏกรรมให้มีการต่อยอดและสร้างสรรค์งานที่หลากหลายได้เพิ่มมากขึ้นอย่างมีคุณภาพตราบจนทุกวันนี้


The Direction Of Why Torture Is Wrong, And The People Who Love Them, Donald Hart Jan 2018

The Direction Of Why Torture Is Wrong, And The People Who Love Them, Donald Hart

All Graduate Theses, Dissertations, and Other Capstone Projects

Hart, Donald C., M.F.A. Thesis. The Direction of Why Torture is Wrong, and the People Who Love Them. Mankato: Minnesota State University, Mankato, 2018.

This is a thesis submitted in partial fulfillment for the Master of Fine Arts degree in theatre. It is a detailed account of Donald C. Hart's artistic process in directing Why Torture is Wrong, and the People Who Love Them in the fall of 2017 for Minnesota State University, Mankato's department of Theatre and Dance. The paper chronicles the director's artistic process from pre-production through performance in five chapters: a pre-production analysis, a historical and critical …


The Costume Design Of Little Women The Musical, Emily Kimball Jan 2018

The Costume Design Of Little Women The Musical, Emily Kimball

All Graduate Theses, Dissertations, and Other Capstone Projects

This document is a thesis submitted in partial fulfillment for the Master of Fine Arts degree in theatre. It is an account of the author Emily Kimball's artistic process in creating and executing the design for Minnesota State University, Mankato's production of Little Women the Musical in the fall of 2017. The thesis chronicles the designer's process from early production through construction and performance in a total of five chapters: an early production analysis, a historical and critical perspective, a journal, a post-production analysis and a process development analysis. Appendices and works cited are included.


"I Felt That I Could Be Whatever I Wanted": Pre-Service Drama Teachers' Prior Experiences And Beliefs About Teaching Drama, Christina C. Gray, Robin Pascoe, Peter Wright Jan 2018

"I Felt That I Could Be Whatever I Wanted": Pre-Service Drama Teachers' Prior Experiences And Beliefs About Teaching Drama, Christina C. Gray, Robin Pascoe, Peter Wright

Research outputs 2014 to 2021

Pre-service drama teachers enter teacher training with established ideas and beliefs about teaching. These beliefs, based on experience, are informed by many hours spent in schools, and the pedagogies – both effective and ineffective – utilised by their teachers. This research explores the influence of some of these prior experiences on pre-service drama teachers’ beliefs about teaching drama, this being important in the way that not only shapes their practicum experiences, but also what will then influence their own teaching of drama. Individual interviews with four pre-service drama teachers revealed the complexity and dynamics of these participants’ lived experience with …


Collaborative Storytelling With Different Artistic Mediums, Andrew Martin Jan 2018

Collaborative Storytelling With Different Artistic Mediums, Andrew Martin

Honors Theses

I play a card game called Magic: The Gathering. The tasks of the art director of the cards and the creative process they utilize is fascinating to me. Through researching my favorite card game and through the creation and design of Painting the Roses Red, a theatre production at Ouachita Baptist University that took place in February of 2018, I have found several similarities between the art direction of Magic and the direction of Painting the Roses Red. In the following, I will compare the two artistic mediums, and describe my design process for the Cheshire Cat puppet for Painting …


การขึ้นลอยในการแสดงโขน, เฉลิมชัย ภิรมย์รักษ์ Jan 2018

การขึ้นลอยในการแสดงโขน, เฉลิมชัย ภิรมย์รักษ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเล่าเรื่องเชิงปฏิสัมพันธ์ในเกมวิชวลโนเวลประเภทเกมจีบหนุ่มบนสมาร์ตโฟน พฤติกรรมการเล่นเกม การสืบค้นข้อมูลและการสื่อสารบนสื่ออินเทอร์เน็ตของผู้เล่นเกมวิชวลโนเวลประเภทเกมจีบหนุ่มบนสมาร์ตโฟน โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการเก็บข้อมูลด้วยวิธี การวิเคราะห์เรื่องเล่า การวิเคราะห์ตัวบท การสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม ผลการวิจัยพบว่า เกมจีบหนุ่มบนสมาร์ตโฟนมีลักษณะเนื้อเรื่องไม่ซับซ้อน และใช้วิธีการเล่าเรื่องเหมือนกับนิยายประเภทรักโรแมนติกโดยทั่วไป แต่มีการใช้คุณสมบัติของความเป็นเกมและการนำเสนอผ่านสื่อสมาร์ตโฟนมาเป็นองค์ประกอบเสริมเพื่อให้ผู้เล่นรู้สึกเหมือนกับว่าตัวเองได้สวมบทบาทเป็นตัวละครนางเอกของเรื่อง ได้แก่ การตั้งชื่อตัวละครเพื่อแทนตัวผู้เล่น การเล่าเรื่องโดยใช้มุมมองบุคคลที่ 1 เพื่อให้ผู้เล่นรู้สึกเหมือนอยู่ในสถานการณ์ที่อยู่ในเกม และใช้การตัดสินใจเลือกตัวเลือกของผู้เล่นเพื่อกำหนดแนวทางของเนื้อเรื่องในเกม องค์ประกอบดังกล่าวทำให้ผู้เล่นรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งกับเนื้อเรื่อง และรู้สึกได้ว่าตัวเองมีบทบาทในการสร้างเนื้อเรื่องภายในเกม ด้านพฤติกรรมขณะเล่น ผู้เล่นทุกคนมองว่าตัวละครเป้าหมายเป็นเพียงตัวละครตัวหนึ่งในเนื้อเรื่องของเกมเท่านั้น ไม่มีตัวตนจริงและไม่สามารถสามารถทดแทนคนรักในชีวิตจริงได้ ด้านพฤติกรรมการใช้สื่อออนไลน์ ผู้เล่นโดยทั่วไปนิยมเล่นเกมเพียงอย่างเดียวโดยที่ไม่เข้าไปมีปฏิสัมพันธ์บนสื่อสังคมออนไลน์อื่นๆ นอกจากช่องทางของผู้ผลิตเกม เนื่องจากเกมจีบหนุ่มเป็นเกมที่สามารถเล่นคนเดียวได้โดยไม่จำเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากผู้เล่นคนอื่น แต่ก็พบว่าบนสื่อสังคมออนไลน์ยังคงมีช่องทางสำหรับพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันระหว่างผู้เล่น


ความเป็นตลาดในละครรำ, เฉลิมศักดิ์ เย็นสำราญ Jan 2018

ความเป็นตลาดในละครรำ, เฉลิมศักดิ์ เย็นสำราญ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบของตัวละครที่แสดงความเป็นตลาดในการแสดงละครรำ และกลวิธีการแสดงความเป็นตลาดในการแสดงละครรำ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงผสมผสาน (Mixed Method Research) (มุ่งเน้นการวิเคราะห์ข้อมูลเอกสารทางวิชาการ ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ ภาพถ่ายและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การสังเกตการณ์ การฝึกปฏิบัติ การสนทนากลุ่มย่อย ประกอบประสบการของผู้วิจัย) สรุปผลการวิจัยด้วยรูปแบบพรรณนาวิเคราะห์ โดยศึกษาเฉพาะตัวละครที่มีบทบาทความเป็นตลาดในการแสดงละครรำในรายการศรีสุขนาฎกรรมของกรมศิลปากร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2518-พ.ศ. 2559 (30 กันยายน 2559) ผลการวิจัย พบว่า ความเป็นตลาดเป็นการแสดงพฤติกรรมไม่สำรวมด้วยอารมณ์ความรู้สึกนึกคิด คำพูดและกิริยาท่าทางของตัวละครที่เป็นตัวแทนมนุษย์ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่มีอยู่ในทุกตัวละคร องค์ประกอบของตัวละครที่แสดงความเป็นตลาดประกอบด้วย 4 ปัจจัยได้แก่ 1) ความขัดแย้งของตัวละคร 2) พื้นฐานของตัวละคร 3) สถานการณ์ของตัวละคร และ 4) เพลงที่แสดงความเป็นตลาดของตัวละคร กลวิธีการแสดงความเป็นตลาด มี 2 กลวิธีได้แก่ 1) การสวมวิญญาณความเป็นตลาดในการแสดงละครรำ 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตีความบทบาทและอารมณ์ของตัวละคร และขั้นตีบทประกอบลีลาท่ารำและอารมณ์ความรู้สึกของตัวละคร 2) กลวิธีการแสดงความเป็นตลาดในการแสดงละครรำ มี 2 กลวิธีได้แก่ กลวิธีได้แก่ กลวิธีการแสดงความเป็นตลาดตามขนบละครรำของกรมศิลปากร (จารีตละครหลวง) 2 รูปแบบ คือ รูปแบบละครจารีตและรูปแบบละครตลาด และกลวิธีการแสดงความเป็นตลาดนอกขนบละครรำของกรมศิลปากร (นอกจารีตละครหลวง) ที่ปรากฎเฉพาะในการแสดงละครนอก 2 ประเภท คือ การเพิ่มเติมและการเปลี่ยนแปลงกระบวนการแสดงความเป็นตลาด ความเป็นตลาดเป็นสิ่งที่มีอยู่ในอุปนิสัยของมนุษย์ทุกระดับชั้น โดยมีกรอบมารยาททางสังคมเป็นแบบแผนให้ยึดถือปฏิบัติหรือเป็นเครื่องกลั่นกรอง หากมีสถานการณ์มากดดันอารมณ์ให้เกิดความรู้สึกรัก โลภ โกรธ หลง ก็จะส่งผลให้มนุษย์มีปฏิกิริยาทางอารมณ์และแสดงพฤติกรรมโต้ตอบอย่างหนึ่งอย่างใด แต่เมื่อความเป็นตลาดปรากฏเป็นบุคลิกลักษณะ อารมณ์และความรู้สึกนึกคิดของตัวละคร ตัวละครก็ย่อมแสดงพฤติกรรมเช่นเดียวกับมนุษย์ หากแต่แสดงให้เป็นไปตามระเบียบแบบแผนทางการแสดงละครแต่ละประเภทอย่างเคร่งครัด ความเป็นตลาดในละครรำเป็นงานวิจัยที่ค้นพบองค์ความรู้ใหม่หรืองานวิจัยเริ่มแรก (Original research) ที่ยังไม่มีผู้ใดได้ทำการศึกษาไว้ก่อนแล้ว (Knowledge gaps) ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อวงวิชาการและวิชาชีพนาฏยศิลป์ไทย โดยเฉพาะการ แสดงละครรำและประยุกต์ใช้กับละครประเภทอื่น ๆ ด้วย


แนวคิดและการสร้างสรรค์การแสดงในพิธีเปิดการแข่งขันกีฬา, เอกรัตน์ รุ่งสว่าง Jan 2018

แนวคิดและการสร้างสรรค์การแสดงในพิธีเปิดการแข่งขันกีฬา, เอกรัตน์ รุ่งสว่าง

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การแสดงในพิธีเปิดการแข่งขันกีฬา คือ การแสดงที่เป็นส่วนหนึ่งของพิธีการซึ่งมีรูปแบบสวยงามตระการตา มีเนื้อหาสื่อถึงอัตลักษณ์ของเจ้าภาพด้วยศิลปะ วัฒนธรรม เทคโนโลยี โดยมุ่งเน้นสันติภาพของมนุษยชาติ งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวคิดและรูปแบบการแสดงในพิธีเปิดการแข่งขันกีฬา และเพื่อศึกษาแนวคิดการสร้างสรรค์การแสดงในพิธีเปิดการแข่งขันกีฬา โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน ผลการวิจัยพบว่า การแสดงในพิธีเปิดการแข่งขันกีฬามีขึ้นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2439 ในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสมัยใหม่และพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีแนวคิดและรูปแบบการแสดงแบ่งได้เป็น 3 ระยะ คือ ระยะเริ่มต้น เป็นระยะที่มีนำนาฏกรรมที่มีอยู่เดิมร่วมแสดงกับกีฬา ระยะพัฒนา เป็นระยะที่มีการออกแบบการแสดงเป็นสัญลักษณ์ทางกีฬาและการแสดงออกทางวัฒนธรรมและ ระยะเทคนิคและความบันเทิง เป็นระยะที่นำเสนอการแสดงที่หลากหลาย เน้นการเล่าเรื่องราวที่สำคัญต่อโลก การแสดงอัตลักษณ์ นวัตกรรม และเทคโนโลยีขั้นสูง ผ่านรูปแบบการแสดงทั้งที่เป็นแบบจารีตประเพณีและสร้างสรรค์ขึ้นใหม่ตามแบบนาฏกรรมแห่งยุคสมัย โดยแนวคิดดังกล่าวถือเป็นต้นแบบให้กับการแสดงในพิธีเปิดกีฬาเอเชียนเกมส์ กีฬาซีเกมส์ กีฬาแห่งชาติและกีฬาโรงเรียนของไทยอย่างชัดเจน ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแนวคิดการสร้างสรรค์การแสดงในพิธีเปิดการแข่งขันกีฬา คือ นโยบาย ระบบการบริหารจัดการ วิสัยทัศน์ ศักยภาพ ประสบการณ์สุนทรียะของผู้ออกแบบ การคัดเลือกสิ่งสนับสนุนการแสดง นวัตกรรม เทคโนโลยี และสื่อ สะท้อนให้เห็นถึงลักษณะของกีฬาที่ปรากฏออกมาในรูปแบบของนาฏกรรม การแสดงในพิธีเปิดการแข่งขันกีฬาได้เปลี่ยนแปลงไปตามบริบทสังคมโลก อีกทั้งเป็นส่วนสำคัญในการแสดงความเป็นชาติหรือชุมชนที่สื่อถึงเกียรติภูมิ เสรีภาพ อัตลักษณ์ รวมถึงสะท้อนมิตรภาพและภราดรภาพ เพื่อจรรโลงสันติภาพของโลก


บทบาทของการแสดงความตลกในรายการโทรทัศน์ไทย, ปวริส มินา Jan 2018

บทบาทของการแสดงความตลกในรายการโทรทัศน์ไทย, ปวริส มินา

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการของการแสดงความตลกในนาฏกรรมไทย โดยมุ่งเน้นนาฏกรรมที่ปรากฏในสมัยรัตนโกสินทร์ และศึกษากลวิธีการสร้างสรรค์ความตลกในรายการโทรทัศน์ไทย ผ่านการศึกษารายการประเภทต่าง ๆ ที่ออกอากาศ ในช่วงปี พ.ศ. 2560 การศึกษาครั้งนี้เป็น การวิจัยเชิงคุณภาพในรูปแบบการวิเคราะห์สาระและการพรรณนาวิเคราะห์ ผ่านกระบวนการเก็บข้อมูล จากเอกสารต่าง ๆ การสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ การสร้างสรรค์ความตลกในนาฏกรรมไทย นอกจากนี้ผู้ศึกษาได้ดำเนินการศึกษาผ่านการสนทนากลุ่ม (Focus Group) นักศึกษาสาขาวิชาการแสดงศึกษา จำนวน 40 คน ผลการศึกษาพัฒนาการของการแสดงความตลกในนาฏกรรมไทยในสมัยรัตนโกสินทร์พบว่าบทบาทการแสดงความตลกสะท้อนให้เห็นผ่านการแสดงประเภทต่าง ๆ ได้แก่ การสวดพระ การสวดคฤหัสถ์ เพลงออกภาษา การแสดงละครนอก การแสดงจำอวด ละครเสภา ละครชาตรี ละครพันทาง ละครสังคีต การแสดงตลกโขน ระบำตลก การแสดงลิเก ละครพูดชวนหัว การแสดงละครย่อย (การเล่นหน้าม่าน) ตลกคาเฟ่ และละครตลกสถานการณ์ทางโทรทัศน์ นอกจากนี้ยังปรากฏผ่านวรรณกรรมเช่น บทละครนอก บทละครเรื่องระเด่นลันได และบทละครสุขนาฏกรรมในสมัยรัชกาลที่ 6 ในปัจจุบันจะพบว่ารายการโทรทัศน์ประเภทต่าง ๆ มักนำความตลกเข้าไปเป็นตัวขับเคลื่อนรายการเพื่อให้เกิดความสนุกสนานและการได้รับ ความนิยมจากสังคม ผลการศึกษากลวิธีการสร้างสรรค์ความตลกในรายการโทรทัศน์ไทย จำนวน 8 รายการ ตามกลวิธีที่ได้สร้างขึ้นนั้น พบว่ารายการที่อิงจากความจริง ประเภทข่าว นิยมสร้างอารมณ์ขันผ่านกลวิธีการล้อเลียนเสียดสีมากที่สุด ส่วนรายการประเภทอิงจากความจริง ประเภทสารคดีบันเทิง รายการให้ความบันเทิง ประเภทประกวดแข่งขัน รายการให้ความบันเทิง ประเภทสนทนา นิยมใช้กลวิธีการสร้างความตลกด้วยกลวิธีการเล่นตลกกับภาษามากที่สุด ทั้งนี้การนำความตลกมาเป็นองค์ประกอบสำคัญในรายการ มีวัตถุประสงค์ที่หลากหลาย อาทิ เพื่อสะท้อนทัศนคติ มุมมองเชิงความคิด และที่สำคัญคือเพื่อขับเคลื่อนรายการให้น่าสนใจและต้องกับรสนิยมของคนไทยที่นิยมความสนุกสนานรื่นเริงและนิยมการลดระดับสิ่งที่เป็นความจริงจัง


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับการสืบสานและพัฒนานาฏกรรม, พันพัสสา ธูปเทียน Jan 2018

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับการสืบสานและพัฒนานาฏกรรม, พันพัสสา ธูปเทียน

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาพัฒนาการของการฝึกฝนนาฏกรรม และวิเคราะห์สถานภาพของการฝึกฝนและสร้างสรรค์นาฏกรรมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยได้เริ่มจากศึกษาหลักสูตรนาฏกรรมของนานาชาติ ได้แก่ประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ จีน และ การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านนาฏกรรมตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงพ.ศ.2561 กับการศึกษาสถานภาพและทิศทางของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่มีต่อนาฏกรรมตั้งแต่ก่อตั้งจนถึง พ.ศ. 2561 จากการวิจัยพบว่า การฝึกฝนนาฏกรรมของประเทศต่าง ๆ ได้พยายามปรับตัวให้เข้ากับโลกในศตวรรษที่ 21 เน้นการสร้างทักษะตามแบบของเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เน้นการบูรณาการข้ามศาสตร์ และทักษะการเป็นผู้ประกอบการ โดยมีจุดร่วมหลายประการที่สถาบันอุดมศึกษาด้านนาฏกรรมของไทยสามารถนำมาปรับใช้ได้เป็นอย่างดี การฝึกฝนนาฏกรรมสมัยกรุงศรีอยุธยามาจนถึงระบบอุดมศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยนั้น มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง จากระบบอุปถัมภ์ ซึ่งเป็นระบบการเรียนแบบดั้งเดิม มาถึงระบบการศึกษาในสถาบันที่ดำเนินไปตามหลักสูตรแบบเน้นกระบวนการคิด โดยผู้วิจัยสามารถแบ่งยุคทางด้านนาฏกรรมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยออกเป็น 6 ยุค ได้แก่ ยุคบุกเบิก ยุคกิจกรรมงานละครวันปิดภาค ยุคนาฏกรรมในระบบการเรียนการสอนและละครประจำปีของแต่ละคณะ ยุคฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรม และยุคนิเวศนวัตกรรม ผลการวิจัยแสดงว่า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นเสมือนต้นแบบที่สำคัญ 4 ประการด้วยกัน เป็นจุดเชื่อมระบบการถ่ายทอดนาฏกรรมแบบดั้งเดิมสู่ระบบการศึกษาแบบสถาบัน เป็นจุดผสานระหว่างวัฒนธรรมไทยและตะวันตก เป็นแหล่งเผยแพร่แนวคิดทางนาฏกรรมที่หลากหลาย และเป็นแบบอย่างของการฝึกฝนและพัฒนานาฏกรรมในประเทศไทย และในสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยก็ได้สร้างแนวคิดการบูรณาการข้ามศาสตร์ด้านนาฏกรรมขึ้นเป็นแห่งแรกในประเทศไทย อันเป็นวิถีที่เคยเกิดขึ้นมาแล้วในอดีต ด้วยรูปแบบการสร้างนาฏกรรมร่วมกันของนิสิตและคณาจารย์ทุกคณะซึ่งประสบผลสำเร็จเป็นอย่างมาก จึงกล่าวได้ว่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งบ่มเพาะทางนาฏกรรมของชาติโดยแท้จริง


บทบาทนางโชว์ในโรงละครคาบาเรต์, วิชัย สวัสดิ์จีน Jan 2018

บทบาทนางโชว์ในโรงละครคาบาเรต์, วิชัย สวัสดิ์จีน

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสถานภาพชายผู้เป็นนางโชว์ และ ความสำคัญของ นางโชว์ที่มีต่อการแสดงคาบาเรต์ ในโรงละคร เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการค้นคว้า เอกสาร การลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูล โดยเน้นศึกษานางโชว์ในโรงละครคาบาเรต์ ของเมืองพัทยา ได้แก่ บริษัท ทิฟฟานี่โชว์ พัทยา จำกัด บริษัทอัลคาซาร์ จํากัด และ บริษัทโคลอสเซี่ยมโชว์ พัทยา จำกัด โดยการสัมภาษณ์ และการสังเกตการณ์ และการตรวจสอบข้อมูลด้วยการจัดสัมมนากลุ่ม และนำเสนอข้อมูลด้วยการพรรณนาวิเคราะห์ ตามวัตถุประสงค์ในการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า การแต่งกายข้ามเพศของบุคคลเพศชายในนาฏกรรม เป็นปรากฏการณ์ ที่เกิดขึ้นทั่วโลก ทั้งในประเทศแถบตะวันตก เอเชีย เอเชียตะวันออกฉียงใต้ และในประเทศไทย จนกระทั่งเกิดเป็นอาชีพนางโชว์ในโรงละครคาบาเรต์ โดยระยะเริ่มแรกเกิดขึ้นประมาณพ.ศ. 2515-2520 และพัฒนามาถึงปัจจุบัน ส่วนเส้นทางของการเข้าสู่อาชีพนางโชว์ แบ่งออกเป็น 2 ช่วง ช่วงแรกเริ่มตั้งแต่ช่วงวัยรุ่น (12-18 ปี) เป็นการเรียนรู้ทักษะด้านการแสดง และการเปลี่ยนแปลงร่างกายด้วยฮอร์โมนเพศหญิง ผ่านสังคมโรงเรียน และกลุ่มกะเทยในชุมชน จากนั้นเมื่อเข้าสู่อาชีพนางโชว์สามารถแบ่งสถานภาพของนางโชว์ออก เป็น 5 ระดับ เริ่มตั้งแต่งนางโชว์ทดลองงาน นางโชว์พนักงานประจำ นางโชว์ลูกคู่พิเศษ นางโชว์ตัวร้อง และนางโชว์ดาวเด่น ความสำคัญของนางโชว์แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่ 1) การสร้างอาชีพและรายได้ภายในองค์กร 2) การกระจายรายได้สู่ชุมชนเมืองพัทยา 3) การสร้างรายได้และผลประโยชน์ต่อธุรกิจที่เกี่ยข้อง 4) การเป็นภาพลักษณ์ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี และประเทศไทย อีกทั้งเป็นอีกหนึ่งกระบอกเสียงที่แสดงให้เห็นถึงศักยภาพของบุคคลในกลุ่ม ความหลากหลายทางเพศ เพื่อการเป็นที่ยอมรับของสังคมในวงกว้าง นางโชว์ระดับดาวเด่นเปรียบเสมือนนางพญาผึ้ง โรงละครเปรียบดั่งรังผึ้ง องค์ประกอบต่าง ๆ ในการแสดงคือผึ้งงานที่ร่วมกันทำงานผสานกับนางพญาผึ้ง การที่นางโชว์จะเป็นศูนย์กลางเชื่อมโยง ทุกอย่างเข้าด้วยกัน จำเป็นต้องใช้หลักการเจริญปัญญา สมาธิ เพื่อพัฒนาทักษะด้านการแสดงให้เหนือกว่านางโชว์ทั้งปวงของโรงละคร เพื่อให้เกิดอานุภาพผ่านการแสดงในโรงละครคาบาเรต์ ซึ่งเมืองพัทยาประกอบโรงละครคาบาเรต์ 3 แห่ง ที่มีความหลากหลายของรูปแบบการแสดง เปรียบดั่งรสชาติของน้ำผึ้งแต่ละรังที่แตกต่างกันไป แต่พันธกิจหลักของโรงละครคาบาเรต์มีความสำคัญในการขับเคลื่อนระบบอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เปรียบดั่งรังผึ้งที่มีส่วนสำคัญในการสร้างความบริบูรณ์ให้เกิดในวัฏจักรทางธรรมชาติ


Cognitive Imagery Training In A Dancer’S Deliberate Practice: Skills Development, Confidence And Creativity, Sasha Brampton Jan 2018

Cognitive Imagery Training In A Dancer’S Deliberate Practice: Skills Development, Confidence And Creativity, Sasha Brampton

Theses : Honours

Cognitive imagery training is an effective tool in improving skill learning, technique, confidence, anxiety and arousal management, recovery, rehabilitation, and performance in dancers. Multiple studies (Abbott & Collins 2004; Hall 2009; and Nordin and Cumming 2006, 2011) have established the positive influence imagery can have on dance and sport, and numerous researchers in these fields promote the incorporation of cognitive imagery training into ‘deliberate’ practice. Cognitive imagery, in relation to dance, is the detailed imaging of the execution/performance of movement in the mind. This thesis will outline imagery use: such as the types of imagery and how it can be …


Creative Awareness At Link Dance Company 2017, Lauren Ebony Sherlock Jan 2018

Creative Awareness At Link Dance Company 2017, Lauren Ebony Sherlock

Theses : Honours

LINK Dance Company at the Western Australian Academy of Performing Arts (WAAPA) offers postgraduate students the opportunity to bridge the gap between graduate level studies in dance and professional practice. Students gain company experience whilst being able to further their research interests in dance throughout their pre-professional year. LINK Dance Company also encourages students to contribute to the choreographic process where possible to enhance professional practice. Using the Company in 2017 for an exploratory case study, the aim of this research was to investigate the presence of creative awareness in the choreographic process between choreographers and dancers. The research methodology …


The Interaction Between Postminimalist Music And Contemporary Dance, Azariah Felton Jan 2018

The Interaction Between Postminimalist Music And Contemporary Dance, Azariah Felton

Theses : Honours

This dissertation examines the manner in which postminimalist compositional techniques such as phasing, polymeter, etc., can be used to aid the creation of music for dance. Music presented with dance generally serves at least two crucial roles: providing the dancers with a framework and impetus to aid movement; and reflecting the concept and meaning, where applicable, of the choreography. Many composers writing for dance must find ways to unite these goals in a way that best suits the total work, and find a balance between supporting the concept and assisting the dancers. This dissertation discusses the relationship between choreography and …


Ua1c6/7 Entertainment Photos, Wku Archives Jan 2018

Ua1c6/7 Entertainment Photos, Wku Archives

WKU Archives Collection Inventories

Images of entertainment events.


Ua68/17 What's Happening With Dance On The Hill, Wku Theatre & Dance Jan 2018

Ua68/17 What's Happening With Dance On The Hill, Wku Theatre & Dance

WKU Archives Records

Newsletter created by and about WKU Dance.


Radical Black Drama-As-Theory: The Black Feminist Dramatic On The Protracted Event-Horizon, Jaye Austin Williams Jan 2018

Radical Black Drama-As-Theory: The Black Feminist Dramatic On The Protracted Event-Horizon, Jaye Austin Williams

Faculty Journal Articles

In this essay, I elaborate my present project, grounded in what I call drama theory, the critical theoretical dimensions of dramatic writing, and address the deeply troubling intramural tensions across Black Studies, between those who read blackness, and black cultural production, through largely futurist, celebratory lenses; and those who apply a structural analysis to blackness as the site against, upon, and through which the world coheres its soci(et)al apparatuses and machinations. I situate myself within the latter constellation, and sample here two plays by Suzan-Lori Parks to demonstrate how I translate the analyses of antiblack violence by black feminist …


Splitting Hair: Reviving The American Tribal Love-Rock Musical In The 1970s, Bryan M. Vandevender Jan 2018

Splitting Hair: Reviving The American Tribal Love-Rock Musical In The 1970s, Bryan M. Vandevender

Faculty Journal Articles

When Hair premiered on Broadway in 1968, the musical garnered attention

for its reflection the current cultural moment. Critics acknowledged

this congruence of form, content, and zeitgeist as the production’s greatest

asset. This alignment with the Vietnam era proved a liability nine

years later when Hair received its first Broadway revival, particularly

when the musical’s authors replaced many of the libretto’s cultural references

with allusions to the 1970s, further illuminating the musical’s

inherently time-bound qualities.


I Am Here Now: A Play – And – Polyvocality, The Unhomely, And The Methods Of Mike Leigh In Playwriting: An Exegesis, Michael Mccall Jan 2018

I Am Here Now: A Play – And – Polyvocality, The Unhomely, And The Methods Of Mike Leigh In Playwriting: An Exegesis, Michael Mccall

Theses: Doctorates and Masters

The aim of the research was to investigate how the devising methods of theatre and film director Mike Leigh might generate material for a new play text and what the implications were in regards to authorship. Central to the research was an exploration of the collaborative devising processes of Leigh as a point of origin and how this might lead to an intended and deliberate case for a plurality of voices in a written play text. It was conducted with a focus on utilising many voices. In this instance the ‘voices’ were young participants from Perth’s African Australian community. The …


Mountain Dance: A Transdisciplinary Exploration Of Environmental Dance As An Autopoietic Expression Of Ecological Connectivity And Synthesis, Dianne Eno Jan 2018

Mountain Dance: A Transdisciplinary Exploration Of Environmental Dance As An Autopoietic Expression Of Ecological Connectivity And Synthesis, Dianne Eno

Antioch University Dissertations & Theses

This research explores the complexity of the human-nature relationship through the emergent arts-based lens of environmental dance. The work is guided by a transdisciplinary mission—to actively create bridges and connections between and among disciplines typically thought to be independent bodies of knowledge in their own right: here they merge and become synergistic partners, producing a new way of knowing that is greater than the sum of two independently-partnered disciplines. A transdisciplinary approach opens us to know a multiverse where a holistic perspective expands the traditionally singular viewpoint of the existing predominant Cartesian paradigm. The study allows space for “environmental dance” …


Struggling Toward An American National Theatre, Rebecca Ann Soderna Jan 2018

Struggling Toward An American National Theatre, Rebecca Ann Soderna

Dissertations, Master's Theses and Master's Reports

The United States is conspicuously lacking in a large-scale government subsidy program for the arts and has never established a National Theatre. This makes us unique among most developed nations in the world as well as among many developing countries that established national theatres early in their burgeoning histories, and it begs the question: why has government support of the cultural life of the nation never been a priority in the U.S.? One notable exception to this can be found in considering the work accomplished by the Federal Arts Projects created under the auspices of the Work Progress Administration (WPA) …


Broad City Scrambles The Formula, Robert Leston Jan 2018

Broad City Scrambles The Formula, Robert Leston

Publications and Research

Robert Leston explores how Broad City breaks the sitcom mold, eschewing the conservative and cyclical narrative structure of the traditional sitcom and thereby offering a "willingness to explore controversy and to cross identity, class, race, and gender boundaries."


The Lion, The Witch And The Wardrobe, Dawn A. Schluetz, Tim Phipps, Rebekah Priebe, Diane C. Merchant, Rebecca M. Baker Jan 2018

The Lion, The Witch And The Wardrobe, Dawn A. Schluetz, Tim Phipps, Rebekah Priebe, Diane C. Merchant, Rebecca M. Baker

Theatre Productions

C.S. Lewis’ heroic tale of love, faith, courage, and giving; the life and death struggle for control of Narnia; and the grandeur of the triumph of good over evil has been faithfully captured for the stage by acclaimed playwright Joseph Robinette. Robinette is one of the most produced playwrights for family audiences in the world. He has dramatized the exciting story of three children who join the fight against the White Witch, with the Lion Aslan as their leader and protector. This production will delight audiences of all ages, true to the original Chronicles of Narnia books. Fans of Lewis’ …


Walking Upright: An Actor's Blueprint Of Process And Character Development In Exit, Pursued By A Bear By Lauren Gunderson, Imani R. Berry Jan 2018

Walking Upright: An Actor's Blueprint Of Process And Character Development In Exit, Pursued By A Bear By Lauren Gunderson, Imani R. Berry

Graduate Theses, Dissertations, and Problem Reports

There has been an increased emphasis for college instruction to incorporate more active and collaborative involvement of students in the learning process. These views have been asserted by The Association of American Colleges (AAC), the National Science Foundation (NSF), and The National Research Counsel (NRC), which are advocating for the modification of traditional instructional techniques to allow students the opportunity to be more cooperative (Task Group on General Education, 1988). This has guided educators and facilitators into shifting teaching paradigms from a teacher centered to a more student-centered curriculum. The present study investigated achievement outcomes and attitudes of learners in …


A Test Of Perseverance: Creating The Scenic Design For The Three Musketeers, Lindsay Maiorano Jan 2018

A Test Of Perseverance: Creating The Scenic Design For The Three Musketeers, Lindsay Maiorano

Graduate Theses, Dissertations, and Problem Reports

This document is an account of the scenic design process for the West Virginia University School of Theatre & Dance's 2018 production of The Three Musketeers by Catherine Bush. It details the entire scenic design process, including script analysis, research, and design meetings, as well as the processes of construction, scenic art, and technical rehearsals. It illustrates the transformation of a series of renderings and models, which ultimately evolved to the finalized version of the scenic design.


Staging International Communism: British And Australian Radical Theatre Connections, Lisa Milner, Cathy Brigden Dec 2017

Staging International Communism: British And Australian Radical Theatre Connections, Lisa Milner, Cathy Brigden

Dr Lisa Milner

Encouraged by Communist parties and left-wing trade unions, radical, or working-class, theatre groups of the twentieth century were crucial in the development of a long-lasting left-wing cultural activist impulse in a number of nations. The branches of the Unity Theatre in UK and the New Theatre in Australia had a highly conscious democratic and explicit working class orientation, and presented various combinations of mainstream and radical dra-matic genres and plays. Drawing on oral histories and archival research, this chapter explores the politics of popular culture by focusing on the degrees of mobility of ideas, dramatic texts and people and politics …


The Dancer's Paradox: Dance In Egyptian Film, Roberta L. Dougherty Dec 2017

The Dancer's Paradox: Dance In Egyptian Film, Roberta L. Dougherty

Roberta L. Dougherty

Egyptian films have presented us with many portrayls of the dancer, but what role did she play in our collective consciousness? And how did audiences perceive her?