Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Digital Commons Network

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Chemical Engineering

PDF

Chulalongkorn University

2018

Articles 31 - 60 of 98

Full-Text Articles in Entire DC Network

Computational Fluid Dynamics Modeling Of The Climate Inside A Chicken House, Nuttaphon Kanjanaudomsuk Jan 2018

Computational Fluid Dynamics Modeling Of The Climate Inside A Chicken House, Nuttaphon Kanjanaudomsuk

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Nowadays, most of chicken products are from a closed house system. Climate inside such chicken house can significantly affect chicken welfare and its productivity. Moreover, Thailand is in a tropical region where thermal stress is easily occurred. Suitable operating condition and chicken house design can help improve interior climate which can be evaluated by computational fluid dynamics (CFD) modeling technique. In this study, realizable k-ε model, energy conservation and species transport equations were applied to simulate the air velocity, temperature and relative humidity, respectively, inside the chicken house. The model was validated with measured air velocity, temperature and relative humidity …


Effect Of Metal Oxides On Zirconia For Ketonic Decarboxylation Of Methyl Stearate, Pawaphat Sartsri Jan 2018

Effect Of Metal Oxides On Zirconia For Ketonic Decarboxylation Of Methyl Stearate, Pawaphat Sartsri

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

In this research, the effect of characteristics of zirconia and metal oxide modified zirconia catalysts on the catalytic performance were investigated by ketonic decarboxylation of methyl stearate to desired ketone product at the optimal condition (400°C and 1 bar). Zirconia and metal oxide modified zirconia catalysts were characterized by using X-ray diffraction (XRD), Scanning electron microscope (SEM), N2-physissorption, X-ray photoelectron spectroscopy (XPS), and IR spectra of pyridine adsorption (Pyridine-IR). The results indicated that the transition metal oxide group modified zirconia catalysts have higher contents of total Lewis acid site and oxygen vacancies site, and lower content of total Brønsted acid …


Effects Of Immobilization Of Methylalumoxane On Cellulose Support On Ethylene Polymerization Behaviors., Praonapa Tumawong Jan 2018

Effects Of Immobilization Of Methylalumoxane On Cellulose Support On Ethylene Polymerization Behaviors., Praonapa Tumawong

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The way to improve the physical properties of polyethylene is done by adding nano-sized filler during the synthetic process. These can be commonly achieved by in situ polymerization. These studies are divided into two parts in this research. Firstly, it investigated the effect of types and amounts of cocatalyst and scavenger of zirconocene catalyst on ethylene polymerization behaviors. In fact, methylalumoxane (MAO) and triethylaluminum (TEA) were used as cocatalyst and scavenger, respectively. The ratios of [Al]MAO/[Zr]cat and [Al]TEA/[Zr]cat were varied during the in situ polymerization of ethylene. The polymerization was performed in a semi-batch autoclave reactor under adiabatic operation at …


Development Of Suture Pad From Silk-Reinforced Polydimethylsiloxane Composite, Radhitya Banuaji Prastowo Jan 2018

Development Of Suture Pad From Silk-Reinforced Polydimethylsiloxane Composite, Radhitya Banuaji Prastowo

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The aim of this research is to investigate the mechanical properties of polydimethylsiloxane reinforced with short silk fibers for suture pad application. The effect of aspect ratio and fibers content of the polydimethylsiloxane reinforced with silk fibers on the properties was evaluated. From the results, tensile modulus and tensile strength of polydimethylsiloxane reinforced with different aspect ratio were increased with increasing aspect ratio and fibers content. The composite with the addition of silk fiber produces higher tear resistance with suture thread compared with pure polydimethylsiloxane. Furthermore, the hardness of polydimethylsiloxane reinforced with short silk fibers was improved with the addition …


Design Of Solid Oxide Fuel Cell-Molten Carbonate Fuel Cell Combined System For Power Generation And Carbon Dioxide Emission Reduction, Prathak Jienkulsawad Jan 2018

Design Of Solid Oxide Fuel Cell-Molten Carbonate Fuel Cell Combined System For Power Generation And Carbon Dioxide Emission Reduction, Prathak Jienkulsawad

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

This research concentrates on the design and performance analysis of a solid oxide fuel cell (SOFC) and a molten carbonate fuel cell (MCFC) integrated system with using methane as fuel. Because SOFCs cannot completely use their fuel, there is remaining fuel leaving the system. In addition, the exhaust gas from an SOFC can be directly fed into an MCFC. The integrated fuel cell system shows an electrical efficiency of 55.22%, which is higher than a single fuel cell system. Fuel utilization of both fuel cells, SOFC temperature dramatically affect the performance of the integrated system. Four configurations were next proposed …


Effect Of Calcination Conditions Of P25-Tio2 On Photocatalytic Selective Hydrogenation Of 3-Nitrostyrene, Saknarin Chaitaworn Jan 2018

Effect Of Calcination Conditions Of P25-Tio2 On Photocatalytic Selective Hydrogenation Of 3-Nitrostyrene, Saknarin Chaitaworn

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

In this work, we investigated the effect of calcination of nanocrystalline commercial titanium dioxide catalyst (P25) on photocatalytic selective hydrogenation of 3-nitrostyrene. TiO2 supports were calcined under air, hydrogen and nitrogen atmosphere at various temperatures around 600 to 900°C for 5 hours. In order to investigate characteristic and catalytic properties of TiO2 after treatment, treated-TiO2 were analyzed by using X-ray diffraction (XRD), N2-physisorption, X-ray photoelectron spectroscopy (XPS), UV-Vis spectroscopy (UV-Vis), photoluminescence spectroscopy (PL), thermogravimetric analysis (TGA), scanning electron microscope (SEM). Photocatalytic hydrogenation performance of treated-TiO2 were tested under UV light irradiation. The 3-nitrostyrene consumption was linearly related to the photoluminescence …


Synthesis Of Black Titanium Dioxide And Effect Of Calcination Conditions And Reducing Agent On Photocatalytic Degradation Of Methyl Orange, Saran Saensook Jan 2018

Synthesis Of Black Titanium Dioxide And Effect Of Calcination Conditions And Reducing Agent On Photocatalytic Degradation Of Methyl Orange, Saran Saensook

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

This research studied the synthesis and application of black titanium dioxide in the photocatalytic degradation of methyl orange (MO). First, titanium dioxide was prepared via a sol-gel method. Then sodium borohydride was used as the reducing agent in order to synthesize black titanium dioxide. Thus, a 2x2x3 factorial experimental design was employed to assess the significance of the following three factors: (A) calcination temperature (400 and 500 °C); (B) calcination time (5 and 10 h); and (C) the molar ratio of NaBH4 to TiO2 used (0:1, 0.5:1, and 1:1). The removal of MO under UV and visible light were the …


Application Of Amine-Functionalized Titanium Dioxide Wrapped In Reduced Graphene Oxide In Photocatalytic Degradation Of Methylene Blue, Sirinya Kanjanapanasont Jan 2018

Application Of Amine-Functionalized Titanium Dioxide Wrapped In Reduced Graphene Oxide In Photocatalytic Degradation Of Methylene Blue, Sirinya Kanjanapanasont

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

This research investigated the effect of reduced graphene oxide (rGO) addition to amine-functionalized titanium dioxide (APTMS-TiO2). The loading amount of rGO was varied from 0 to 0.05 %wt. Also, the effect of the amount of 3-aminopropyltrimethoxysilane (APTMS) was studied. To synthesize TiO2/rGO catalysts, the amount of APTMS was varied at 2.21 and 22.1 mmol. TiO2 catalyst was synthesized via a sol-gel method. Next, the surface of TiO2 was modified with APTMS by refluxing. Then graphene oxide was wrapped around APTMS-TiO2 and was reduced to rGO using hydrazine and ammonia. In the experiment, the catalyst was dispersed in methylene blue solution …


Effect Of Ceo2 And La2o3 Promoters On Ni/Al2o3 Oxygen Carrier Performance In Chemical Looping Steam Reforming Of Ethanol For Hydrogen Production, Supalak Isarapakdeetham Jan 2018

Effect Of Ceo2 And La2o3 Promoters On Ni/Al2o3 Oxygen Carrier Performance In Chemical Looping Steam Reforming Of Ethanol For Hydrogen Production, Supalak Isarapakdeetham

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The effects of Ce and/or La on NiO/Al2O3 were studied in chemical looping steam reforming of ethanol. Oxygen carriers (OCs) were prepared by wet impregnation method and characterized by various techniques. The redox test was performed by alternating between fuel feed (FFS) and air feed step (AFS) at 500oC. It was found that Ce- and La-doped improved the OCs' properties. A suitable amount of Ce- and La-doping helped increase carbon tolerance due to oxygen storage capacity and mobility. The solubility limit was found at 50 mol% La in solid solution. At higher La-doping, La2O3 dispersed on the surface and adsorbed …


Lactic Acid Production From Glucose By Using Divalent Transition Metal Oxide Catalyst On Magnesium Oxide Support Without Alkaline Solution, Tanyatorn Udomcharoensab Jan 2018

Lactic Acid Production From Glucose By Using Divalent Transition Metal Oxide Catalyst On Magnesium Oxide Support Without Alkaline Solution, Tanyatorn Udomcharoensab

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

This research was studied the effects of the type of divalent metal oxide (Cu, Co, Ni, and Zn) supported on magnesium oxide catalyst using the hexadecyltrimethylammonium bromide (CTAB) as the capping agent with metal loading at 1.5, 5, and 10 mmol/gram-catalyst on lactic acid production from glucose. To achieve the lactic acid production of lower reactor corrosion rate and being environmentally friendly, the reaction was performed in an alkali additive-free environment. The catalysts were synthesized by hydrothermal method and characterized by various techniques. The XRD pattern of spent CuCTAB/MgO and CoCTAB/MgO catalyst showed the reduced metal species indicated the used …


The Surface Modification Of Zeolite Y In Composite Selective Layer Of Hollow Fiber Membrane For Separation Of Co2/Ch4 Mixture, Thakorn Wichaidit Jan 2018

The Surface Modification Of Zeolite Y In Composite Selective Layer Of Hollow Fiber Membrane For Separation Of Co2/Ch4 Mixture, Thakorn Wichaidit

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

This work focused on the fabrication and evaluation of composing hollow fiber mixed matrix membranes (MMMs) incorporated by zeolite Y for CO2/CH4 separation. The effects of surface modification of zeolite Y to improve compatibility of filler and polymer dispersibility of the filler in the polymer matrix on properties and separation performance of the membrane were investigated. A polysulfone (PSF) was used as a support hollow fiber and a selective layer composing of polyether-block-amide (Pebax) and zeolite Y (ZeY) and surface modification of zeolite Y (mo-ZeY) was coated on support. A [3-(2-Aminoethylamino)propyl]trimethoxysilane (AEAPTMS) was used to grafted on surface of pristine …


Parametric Study Of Copper Zinc Tin Sulfide Thin Films By Convective Deposition Method, Thanawat Anantamongkolchai Jan 2018

Parametric Study Of Copper Zinc Tin Sulfide Thin Films By Convective Deposition Method, Thanawat Anantamongkolchai

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Nowadays, most of the energy production is from fossil fuel-resources, which is a major source of greenhouse gases. Therefore, several researchers have been looking for the alternative energy that is clean and renewable energy. One of the outstanding alternatives is to utilize solar energy for conversion into electricity. Recently, CZTS (copper zinc tin sulfide, Cu2ZnSnS4) thin film solar cells have received numerous interest because of its decent energy band gap of about 1.4 - 1.6 eV, which matches with the solar spectrum, and its high absorption coefficient. Nevertheless, the manufacture of CZTS solar cells has used sophisticated methods for fabrication …


Effects Of Monovalent Ions On Low Salinity Waterflooding In Shaly-Sandstone Reservoir, Ativish Yomchan Jan 2018

Effects Of Monovalent Ions On Low Salinity Waterflooding In Shaly-Sandstone Reservoir, Ativish Yomchan

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Multi-component Ion Exchange (MIE) was proved to be a major mechanism occurred during Low Salinity Waterflooding (LSWF). Reduction of both total salinity and concentration of divalent ions of injected water together with a presence of monovalent ion results in dissolution of divalent ions linking between rock surface and oil. As a consequence, oil is liberated from rock surface. This study aims to study effects of monovalent ions in MIE mechanism. Stirring test is performed and results show that ion with less hydration radius tends to be more active in MIE; hence, potassium ion and cesium ion illustrate potential in oil …


Evaluation Of Wax Deposition Prevention For Crude Oil Production From Mae Soon Oil Field, Htet Myat Min Jan 2018

Evaluation Of Wax Deposition Prevention For Crude Oil Production From Mae Soon Oil Field, Htet Myat Min

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Waxy crude oils are normally found in petroleum reservoirs. Crude oil with the wax formation is one of the crucial problems for flow assurance of pipeline transportation in oil and gas production. This issue can commonly cause wax deposition problem and it has made a huge amount of economic losses such as production, time and maintenance cost. Therefore, it is a critical aspect to deal with wax deposition for crude oil flow assurance, especially at the surface region in cold climate. In this study, n-heptane and poly (maleic anhydride-alt-1-octadecane) or MA as the inhibitors with different concentrations will be measured …


Utilization Of Biochar Coupled With Coal Combustion Products For Degraded Soil Amendment, Thidphavanh Sengsingkham Jan 2018

Utilization Of Biochar Coupled With Coal Combustion Products For Degraded Soil Amendment, Thidphavanh Sengsingkham

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Low Salinity Waterflooding (LSWF) has been intensively studied worldwide as it is a low-cost technique. By injecting water with very low salinity compared to formation water in the reservoir, the method changes equilibrium between rock surface, oil and surrounding water, causing wettability alteration through Multi-component Ion Exchange (MIE) mechanism. In this study, ammonium ion is added into low salinity water to facilitate the MIE mechanism in shaly-sandstones reservoir. Experiments are performed with shaly-sandstone rock as it contains both calcium and magnesium ions as part of clays and ammonium ion can express its potential by triggering MIE mechanism. Stirring test, spontaneous …


Ore Reserves Estimation Of The Nam Nga Coal Deposit, Lao Pdr, Using Geostatistical Method, Tongvang Bliachongvang Jan 2018

Ore Reserves Estimation Of The Nam Nga Coal Deposit, Lao Pdr, Using Geostatistical Method, Tongvang Bliachongvang

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

This research study focuses on estimating the coal deposit quantity and qualities as CV and AC at Nam Nga coal deposit, Lao PDR using OK and SGS geostatistical methods. A total of 295 assays data from 51 exploration drill holes collected from LID Company were used. The results reveal that OK produces geological resource of 2.2 MT with an average CV of 3,733 kcal/kg and an average AC of 48.68 %. The mineable reserve computed from OK's ultimate pit design and pit adjustment are 0.55 MT. The OK method produces 9.32 MT of wastes, yielding a stripping ratio of 10.4:1. …


เส้นใยเหล็กเพื่อเป็นตัวรับกระแสบนขั้วแอโนดสำหรับแบตเตอรี่สังกะสี-นิกเกิลแบบทุติยภูมิ, กฤษดา จิรสัตยาภรณ์ Jan 2018

เส้นใยเหล็กเพื่อเป็นตัวรับกระแสบนขั้วแอโนดสำหรับแบตเตอรี่สังกะสี-นิกเกิลแบบทุติยภูมิ, กฤษดา จิรสัตยาภรณ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ปัจจุบันแบตเตอรี่สังกะสี-นิกเกิลกลับมาได้รับความสนใจอีกครั้ง ข้อจำกัดของแอโนดสังกะสีคือ สังกะสีมีความสามารถในการประจุกลับต่ำ โฟมนิกเกิลมักถูกใช้เป็นตัวรับกระแสฝั่งแอโนด เพราะว่ามีพื้นที่ผิวสูงและมีเสถียรภาพที่ดี แต่ด้วยต้นทุนที่สูงส่งผลให้ไม่มีการนำไปใช้งานอย่างกว้างขวาง เส้นใยเหล็กเป็นอีกทางเลือกหนึ่งเพราะมีพื้นที่ผิวสูง ต้นทุนต่ำและมีความปลอดภัย ในงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเส้นใยเหล็กเพื่อเป็นตัวรับกระแสฝั่งแอโนดสำหรับแบตเตอรี่สังกะสี-นิกเกิลแบบทุติยภูมิ ขั้วอิเล็กโทรดเส้นใยเหล็กถูกเตรียมด้วยการติดเส้นใยเหล็กบนแผ่นทองแดงด้วยกราไฟต์/พีวีดีเอฟที่เป็นตัวเชื่อมประสาน (อัตราส่วนน้ำหนักกราไฟต์ต่อพีวีพีเอฟเท่ากับ 85:15) สารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ 6 โมลาร์ถูกใช้เป็นอิเล็กโทรไลต์ สมบัติทางไฟฟ้าเคมีของสังกะสีบนเส้นใยเหล็กถูกศึกษาด้วยเทคนิคไซคลิกโวลแทมเมตทรี และเทคนิคอิมพีแดนซ์ นอกจากนี้ยังศึกษาผลของซิงค์ออกไซด์ และโซเดียมโดเดซิลซัลเฟตที่เติมลงในสารละลายอิเล็กโทรไลต์และทดสอบด้วยโครโนแอมเพอโรเมตทรีในช่วงศักย์ไฟฟ้าจาก -1.45 ถึง -1.60 โวลต์เทียบกับปรอท/ปรอทออกไซด์ นอกจากนั้นสัญฐานวิทยาของสังกะสีบนเส้นใยเหล็กจากสารละลายอิเล็กโทรไลต์ซิงค์เคทมีลักษณะคล้ายฟองน้ำ ก้อนหกเหลี่ยม และเดรนไดรต์ ยิ่งไปกว่านั้นประสิทธิภาพของสังกะสีบนเส้นใยเหล็กเป็นตัวรับกระแสถูกศึกษาในระบบแบตเตอรี่สังกะสี-อากาศ ผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่าในแบตเตอรี่สังกะสี-อากาศ ประสิทธิภาพการอัด-คายประจุ และประสิทธิภาพการกักเก็บพลังงานต่อรอบที่ความหนาแน่นกระแสไฟฟ้า 10 มิลลิแอมป์ต่อตารางเซนติเมตร เท่ากับร้อยละ 80.99 และ 39.73 ตามลำดับ นอกจากนี้แบตเตอรี่สังกะสี-นิกเกิลแสดงค่าการคายประจุสูงสุดเท่ากับ 174.85 มิลลิแอมป์ชั่วโมงต่อกรัม ประสิทธิภาพการอัด-คายประจุ และในแบตเตอรี่สังกะสี-นิกเกิล ประสิทธิภาพการกักเก็บพลังงานต่อรอบที่ความหนาแน่นกระแสไฟฟ้าเท่ากับ 10 มิลลิแอมป์ต่อตารางเซนติเมตร เท่ากับร้อยละ 92.36 และ 82.99 ตามลำดับ โดยภาพรวมเส้นใยเหล็กเป็นวัสดุที่ให้ผลที่ดีในการใช้งานเป็นตัวรับกรแสสำหรับแบตเตอรี่สังกะสี-นิกเกิล


การพัฒนาไบเจลสำหรับนำส่งเรตินิลปาล์มมิเตทในการประยุกต์ใช้ทางเครื่องสำอาง, เพชรรัตน์ สมพรมมา Jan 2018

การพัฒนาไบเจลสำหรับนำส่งเรตินิลปาล์มมิเตทในการประยุกต์ใช้ทางเครื่องสำอาง, เพชรรัตน์ สมพรมมา

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้มีเพื่อพัฒนาตำรับไบเจลของการนำส่งเรตินิลปาล์มมิเตท เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ทางเครื่องสำอาง ไฮโดรเจลถูกเตรียมจากการผสมคาร์โบพอล 940 กับน้ำ ในขณะที่ออร์กาโนเจลเตรียมด้วยการผสมซิลิกาไดเมทิลซิลิเลทและน้ำมันแร่ ปัจจัยต่างๆ ได้แก่ อุณหภูมิการผสม อัตราเฉือน ความเข้มข้นของสารก่อเจลในออร์กาโนเจลและสัดส่วนของออร์-กาโนเจลต่อไฮโดรเจล(OG:HG) ได้ถูกศึกษาเพื่อทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพเคมีต่างๆ ของไบเจล สภาวะที่เหมาะสมสำหรับเตรียม ไบเจลที่มีความหนืดสูงสุดและมีขนาดอนุภาคของวัฏภาคภายในเล็กที่สุดคือ อุณหภูมิ 30°C และอัตราเฉือน 1200 รอบต่อนาที ต่อมา ตำรับไบเจล 9 สูตรตำรับ จากการแปรผันความเข้มข้นสารก่อเจลในออร์กาโนเจลและสัดส่วน OG:HG ได้ถูกเตรียมขึ้นและทดสอบ พบว่าความเข้มข้นของสาร ก่อเจลในออร์กาโนเจลและสัดส่วนของ OG:HG ส่งผลต่อความหนืดของทุกตำรับอย่างมีนัยสำคัญ ผลจากการศึกษาโครงสร้างจุลภาคพบว่า ขนาดอนุภาคเฉลี่ยของวัฏภาคภายในอยู่ช่วงจาก 16.59 ไมโครเมตร ถึง 32.85 ไมโครเมตร การทดสอบ stress relaxation พบว่าไบเจลแสดงคุณสมบัติหยุ่นหนืด คุณสมบัติทางเนื้อสัมผัสถูกเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญจากการปรับสัดส่วนของ OG:HG ตำรับไบเจลมีพฤติกรรมการไหลแบบเชียร์-ทินนิ่ง ผลจากสเปคตรัมของ FTIR ของไบเจลแสดงพีคที่มาจากทั้งไฮโดรเจลและออร์กาโนเจล คุณสมบัติความร้อนวิเคราะห์ด้วยเครื่องวัดค่าความต่างความร้อนของสาร (DSC) พบว่าพีคการหลอมเหลวของไบเจลปรากฎในช่วงอุณหภูมิ 120.2-134.3°C ตำรับไบเจลพื้นแสดงความคงตัวทางกายภาพที่ดีจากการเก็บทดสอบทั้งในสภาวะเร่งและการเก็บในอุณหภูมิแวดล้อมหลังจากระยะ เวลา 3 เดือน เมื่อบรรจุเรตินิลปาล์มมิเตท 1% โดยน้ำหนักลงในไบเจลที่ถูกคัดเลือก ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยต่อความหนืดและpH เมื่อเปรียบเทียบกับตำรับไบเจลพื้น โดยตำรับไบเจลที่มีเรตินิลปาล์มมิเตทแสดงความคงตัวทางกายภาพที่ดีและยังคงเหลือปริมาณเรตินิลปาล์มมิเตทใกล้เคียงกับปริมาณในตำรับน้ำมันแร่ หลังจากเก็บในสภาวะพ้นแสงที่อุณหภูมิแวดล้อม เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ นอกจากนี้ การทดสอบการระคายเคืองด้วยวิธีการแตกตัวของเซลล์เลือดแดงแบบภายนอกกาย ได้แสดงผลว่า ตำรับไบเจลที่มีเรตินิลปาล์มมิเตทมีการระคายเคืองต่ำ และเปอร์เซ็นต์การปลดปล่อยยาแบบสะสมของเรตินิลปาล์มมิเตทจากตำรับไบเจลและตำรับ สารละลายตัวกลางใน 24 ชั่วโมง มีค่าเท่ากับ 25.84-34.84% และ 86.28% ตามลำดับ ซึ่งรูปแบบการปลดปล่อยของเรตินิลปาล์มมิเตทจากไบเจลแสดงการปลดปล่อยแบบทยอยและปลดปล่อยในปริมาณน้อยกว่าเมื่อเทียบกับตำรับสารละลาย โดยแบบจำลองจลนศาสตร์การปลดปล่อยอธิบายได้ด้วยแบบจำลองของ Korsmeyer-Peppas ซึ่งกลไกการปลดปล่อยถูกควบคุมด้วยการแพร่และการคลายตัวของเมตริกซ์ไบเจล


คาร์บอนรูพรุนจากเปลือกข้าวโพดเป็นวัสดุแคโทดสำหรับแบตเตอรี่ไอออนอะลูมิเนียมประจุไฟซ้ำได้, กัณทิมา ขำศรีทรง Jan 2018

คาร์บอนรูพรุนจากเปลือกข้าวโพดเป็นวัสดุแคโทดสำหรับแบตเตอรี่ไอออนอะลูมิเนียมประจุไฟซ้ำได้, กัณทิมา ขำศรีทรง

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ในปัจจุบันแบตเตอรี่ไอออนอะลูมิเนียมซึ่งอัดประจุซ้ำได้ ได้รับความสนใจมากขึ้นเนื่องจากแบตเตอรี่ชนิดนี้มีต้นทุนต่ำ อัตราการคาย/อัดประจุสูง และปลอดภัย แบตเตอรี่ประเภทนี้ใช้ขั้วแอโนดอะลูมิเนียมซึ่งต้นทุนต่ำและใช้วัสดุคาร์บอนในกลุ่มกราไฟต์เป็นขั้วแคโทดแบบแทรกตัว โดยกราไฟต์ธรรมชาติเป็นขั้วแคโทดซึ่งให้สมรรถนะสูง แม้ว่ากราไฟต์ธรรมชาติจะราคาต่ำแต่กราไฟต์ธรรมชาติเป็นทรัพยากรที่ไม่สามารถทดแทนได้ การสังเคราะห์วัสดุคาร์บอนกราไฟต์ซึ่งมีรูพรุนจากการคาร์บอไนซ์ชีวมวลจึงมีศักยภาพสูงในการนำมาใช้เป็นวัสดุแคโทดทางเลือก ในงานวิจัยนี้เปลือกข้าวโพดถูกใช้เพื่อเตรียมวัสดุคาร์บอนรูพรุนโดยกระบวนการคาร์บอไนซ์ในบรรยากาศไนโตรเจนที่อุณหภูมิ 550-850 องศาเซลเซียส ด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาเฟอร์ริกไนเตรต ในที่นี้การจำแนกสมบัติของคาร์บอนรูพรุนที่ได้แสดงให้เห็นกราไฟต์ที่มีรูพรุนในช่วงมีโซพอร์และไมโครพอร์ ซึ่งวัสดุดังกล่าวสามารถใช้เป็นวัสดุเจ้าภาพสำหรับแบตเตอรี่ไอออนอะลูมิเนียมได้ นอกจากนั้นผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าวัสดุคาร์บอนที่มีโครงสร้างที่มีความพรุนขนาดเล็กและขนาดกลางนั้นส่งผลกระทบต่อการถ่ายโอนไอออน วัสดุคาร์บอนที่มีรูพรุนถูกใช้เป็นวัสดุแคโทดและประยุกต์ใช้ในเซลล์แบตเตอรี่ CR2032 แบตเตอรี่ซึ่งใช้วัสดุคาร์บอนซึ่งเตรียมจากเปลือกข้าวโพดแสดงความจุไฟฟ้าจำเพาะสูงสุด 52 มิลลิแอมป์ชั่วโมงต่อกรัมกราไฟต์ที่ความหนาแน่นกระแส 50 มิลลิแอมป์ต่อกรัมกราไฟต์ ในขณะที่แบตเตอรี่ซึ่งใช้กราไฟต์เชิงการค้าแสดงความจุไฟฟ้าจำเพาะสูงสุด 65 มิลลิแอมป์ชั่วโมงต่อกรัม กราไฟต์ที่ความหนาแน่นกระแสเดียวกันและที่อุณหภูมิ 25-30 องศาเซลเซียส


ผลของความเข้มข้น So2 ต่อความสามารถในการทำปฏิกิริยาของตัวเร่งปฏิกิริยา V2o5-Mgo/Tio2 ในการกำจัด No ร่วมกับโทลูอีนในแก๊สปล่อยทิ้ง, ณัฐชยาภัคตร์ สร้อยแสง Jan 2018

ผลของความเข้มข้น So2 ต่อความสามารถในการทำปฏิกิริยาของตัวเร่งปฏิกิริยา V2o5-Mgo/Tio2 ในการกำจัด No ร่วมกับโทลูอีนในแก๊สปล่อยทิ้ง, ณัฐชยาภัคตร์ สร้อยแสง

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้ศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา V2O5-MgO/TiO2 ที่ออกแบบมาสำหรับแก๊สปล่อยทิ้งที่มีความเข้มข้นของ SO2 30 ppm และ O2 15%vol. ในการกำจัดโทลูอีนร่วมกับ NO โดยปฏิกิริยารีดักชันแบบเลือกเกิด เพื่อนำมาใช้กับแก๊สปล่อยทิ้งที่มีความเข้มข้นของ SO2 ที่สูงขึ้นและความเข้มข้นของ O2 ที่ต่ำลง โดยพบว่า ก่อนการรวมระบบ ในส่วนของ %Toluene conversion %CO2 selectivity และ %NO conversion ที่มีความเข้มข้นของ SO2 ที่เพิ่มขึ้น ไม่ส่งผลมากต่อสามค่าที่กล่าว แต่การที่ O2 มีความเข้มข้นที่ลดลงจะส่งผลให้ทั้งสามค่าที่กล่าวมามีค่าที่ลดลง โดย %Toluene conversion จะลดลงแตกต่างอย่างเห็นได้ชัดที่อุณหภูมิ 250°C แสดงให้เห็นว่าสามารถนำตัวเร่งปฏิกิริยาตัวนี้ไปใช้กับแก๊สปล่อยทิ้งที่มีความเข้มข้นของ SO2 ในช่วง 30-150 ppm และ O2 15 vol.% เพื่อการกำจัดโทลูอีนและ NO ในเวลาเดียวกัน หลังจากการรวมระบบ ทั้งระบบที่มี O2 15 และ 5 vol.% ในส่วนของ %Toluene conversion และ %CO2 selectivity พบว่ามีค่าเพิ่มขึ้นจากเดิมเล็กน้อย แต่ในส่วนของ %NO conversion ที่ O2 5% ไม่ได้แตกต่างจากระบบก่อนรวม แต่ในระบบที่ O2 15 vol.% ค่า%NO conversion ลดลงจากก่อนรวมระบบอย่างเห็นได้ชัด เนื่องจากการที่มีโทลูอีนอยู่ในระบบปฏิกิริยารีดักชันแบบเลือกเกิด จะมีโทลูอีนและกรดเบนโซอิกที่แย่งการดูดซับบนพื้นผิวจึงทำให้โอกาสที่ NH3 จะถูกดูดซับบนพื้นผิวลดลง ส่งผลให้การเกิดปฏิกิริยารีดักชันแบบเลือกเกิดลดต่ำลง จึงมองเห็น %NO conversion มีค่าลดลง ภาพโดยรวมคือตัวเร่งปฏิกิริยาที่ศึกษาในงานวิจัยนี้สามารถทำงานได้ในระบบแก๊สปล่อยทิ้งที่มีความเข้มข้นของ SO2 สูงขึ้นและความเข้มข้นของ O2 ต่ำ


การวิเคราะห์สมรรถนะของเซลล์เชื้อเพลิงชนิดออกไซด์ของแข็งที่ใช้ก๊าซที่ระบายออกจากระบบสำหรับการผลิตไฟฟ้า, จุฑามาศ ไชยชาญสกุล Jan 2018

การวิเคราะห์สมรรถนะของเซลล์เชื้อเพลิงชนิดออกไซด์ของแข็งที่ใช้ก๊าซที่ระบายออกจากระบบสำหรับการผลิตไฟฟ้า, จุฑามาศ ไชยชาญสกุล

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ก๊าซที่ถูกปล่อยออกมาจากหอเผาทิ้งในกระบวนการผลิตปิโตรเลียมและปิโตรเคมีส่วนใหญ่มีองค์ประกอบที่เป็นก๊าซเรือนกระจก ปัจจุบันได้มีการศึกษาเพื่อลดปริมาณการปลดปล่อยก๊าซจากหอเผาทิ้ง ซึ่งจะช่วยลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกและการสูญเสียพลังงานจากการเผาไหม้ก๊าซในหอเผาทิ้งอีกด้วย งานวิจัยนี้ได้ศึกษาการนำก๊าซทิ้งที่ระบายออกจากกระบวนการผลิตที่ผ่านกระบวนการรีฟอร์มมิงกลับมาใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตพลังงานไฟฟ้าโดยใช้เซลล์เชื้อเพลิงชนิดออกไซด์แข็ง แบบจำลองระบบเซลล์เชื้อเพลิงที่ใช้ก๊าซทิ้งจากกระบวนการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม ซึ่งมีก๊าซ ไฮโดรเจน และสารประกอบไฮโดรคาร์บอนอื่น ๆ เป็นองค์ประกอบหลัก ถูกพัฒนาขึ้นโดยใช้โปรแกรมจำลองกระบวนการ แอสเพน พลัส แบบจำลองระบบเซลล์เชื้อเพลิงที่ได้ถูกนำมาใช้ในการศึกษาผลของสภาวะการดำเนินงานของระบบเซลล์เชื้อเพลิง ที่มีต่อประสิทธิภาพการใช้เชื้อเพลิงในก๊าซทิ้ง การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์เชื้อเพลิง และความสามารถในการลดปริมาณก๊าซทิ้งที่ระบายออกจากกระบวนการผลิตที่จะส่งไปยังหอเผาทิ้ง จากการวิจัยพบว่ากระบวนการรีฟอร์มมิงด้วยไอน้ำที่มีค่าสัดส่วนคาร์บอนต่อไอน้ำเป็น 2.5 สารมารถเปลี่ยนรูปก๊าซทิ้งที่ระบายอออกจากกระบวนการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียมเป็นก๊าซไฮโดรเจนได้สูงกว่ากระบวนการอื่น ซึ่งมีประสิทธิภาพในการผลิตคือร้อยละ 27.37 ที่อุณหภูมิ 700 องศาเซลเซียส ในขณะที่กระบวนการรีฟอร์มมิงด้วยไอน้ำที่อุณหภูมิต่ำที่มีค่าสัดส่วนไอน้ำต่อคาร์บอนเป็น 0.7 และกระบวนการรีฟอร์มมิงด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เหมาะสำหรับการเปลี่ยนรูปก๊าซทิ้งจากกระบวนการกลั่นน้ำมันให้เป็นก๊าซมีเทน ซึ่งมีประสิทธิภาพในการผลิตคือร้อยละ 69.02 และ 59.99 ที่อุณหภูมิ 300 และ 760 องศาเซลเซียสตามลำดับ ก๊าซทิ้งจากกระบวนการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียมที่ผ่านกระบวนการรีฟอร์มมิงด้วยไอน้ำที่อุณหภูมิต่ำสามารถผลิตพลังงานงานไฟฟ้าได้ดีที่สุด (1472.68 kW) และมีประสิทธิภาพทางไฟฟ้าของเซลล์เชื้อเพลิงคือร้อยละ 32.30 โดยการป้อนก๊าซทิ้งจากกระบวนการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียมปริมาณ 435 กิโลกรัมต่อชั่วโมง เข้าไปในกระบวนการและสามารถลดการการปลดปล่อยปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการเผาไหม้ของหอเผาทิ้งได้สูงถึงร้อยละ 76.76 และ 76.38 ตามลำดับ


ผลของ So2 ต่อความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยา V2o5/Tio2 ที่ได้รับการปรับสภาพด้วยกรดกำมะถันในการกำจัด No และโทลูอีนร่วมกัน, ลิ้นจี่ พอสูงเนิน Jan 2018

ผลของ So2 ต่อความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยา V2o5/Tio2 ที่ได้รับการปรับสภาพด้วยกรดกำมะถันในการกำจัด No และโทลูอีนร่วมกัน, ลิ้นจี่ พอสูงเนิน

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้ศึกษาความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยา V2O5/TiO2 ที่ได้รับการปรับสภาพด้วยกรดกำมะถันในการกำจัด NO และโทลูอีนร่วมกัน การศึกษาแยกออกเป็น 3 ระบบ ได้แก่ 2 ระบบปฏิกิริยาเดี่ยวคือ ระบบการกำจัดโทลูอีน ระบบการกำจัด NO และระบบปฏิกิริยาร่วมคือ ระบบการกำจัด NO ร่วมกับการกำจัดโทลูอีน โดยทั้ง 3 ระบบ ใช้ SO2 ที่ 30, 90 หรือ150 ppm และใช้ O2 ที่ 5% หรือ 15% ในช่วงอุณหภูมิ 120-450°C พบว่า ในระบบการกำจัดโทลูอีน ความเข้มข้น SO2 ไม่ส่งผลต่อความสามารถของตัวเร่งปฏิกิริยาในการกำจัดโทลูอีน แต่ส่งผลในทางลบเล็กน้อยต่อการเลือกเกิดของโทลูอีนไปเป็น CO2 และความเข้มข้น O2 ที่เพิ่มขึ้นส่งผลต่อการกำจัดโทลูอีนและการเลือกเกิดของโทลูอีนไปเป็น CO2 เพิ่มขึ้น ในระบบการกำจัด NO ตัวเร่งปฏิกิริยามีความสามารถกำจัด NO ได้สูงที่อุณหภูมิ 300°C ความเข้มข้นของ SO2 และ O2 มีผลต่อการกำจัดเล็กน้อย ในระบบปฏิกิริยาร่วม ความเข้มข้น SO2 ไม่ส่งผลต่อความสามารถของตัวเร่งปฏิกิริยาในการกำจัดโทลูอีน แต่ส่งผลทางลบต่อการเลือกเกิดของโทลูอีนให้กลายเป็น CO2 และการกำจัด NO ความเข้มข้น O2 ที่เพิ่มขึ้นส่งผลต่อการกำจัดโทลูอีนและการเลือกเกิดของโทลูอีนไปเป็น CO2 และยังทำให้การกำจัด NO เพิ่มขึ้นด้วย เมื่อเปรียบเทียบความสามารถในการกำจัดโทลูอีน การกำจัด NO การเลือกเกิดของโทลูอีนไปเป็น CO2 ทั้งในระบบปฏิกิริยาเดี่ยวและระบบปฏิกิริยาร่วม พบว่า การกำจัดโทลูอีน การเลือกเกิดของโทลูอีนไปเป็น CO2 ในระบบปฏิกิริยาเดี่ยวสามารถกำจัดได้ดีกว่า ส่วนการกำจัด NO ในระบบปฏิกิริยารวมสามารถกำจัดได้ดีกว่า


การดูดซับสารพาราควอตโดยไบโอชาร์ที่มีสมบัติแม่เหล็กซึ่งได้จากเปลือกข้าวโพด, สกลสุภา ดำดิบ Jan 2018

การดูดซับสารพาราควอตโดยไบโอชาร์ที่มีสมบัติแม่เหล็กซึ่งได้จากเปลือกข้าวโพด, สกลสุภา ดำดิบ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ในงานวิจัยนี้ศึกษาการนำเปลือกข้าวโพดมาใช้เป็นวัสดุคาร์บอนตั้งต้นในการสังเคราะห์เป็นตัวดูดซับไบโอชาร์ที่มีสมบัติแม่เหล็กเพื่อใช้ในการกำจัดสารละลายพาราควอต ออกจากน้ำปนเปื้อน ไบโอชาร์ที่มีสมบัติแม่เหล็กถูกสังเคราะห์โดยนำสารละลายเฟอร์ริก (III) ไนเตรตความเข้มข้น 0.10 M มาตรึงรูปบนเปลือกข้าวโพด และนำมาผ่านกระบวนการคาร์บอนไนเซชัน โดยวัสดุดูดซับที่สังเคราะห์ได้จะถูกทดสอบคุณลักษณะด้วยวิธีต่างๆ เช่น การดูดซับและการคายซับไนโตรเจน กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด การวิเคราะห์ทางความร้อน เอกซ์เรยดิฟแฟรกชัน และไวเบรทติ้งแซมเปิลแมกนีโตมิเตอร์ เปลือกข้าวโพดที่ถูกตรึงรูปด้วยสารละลายเฟอร์ริก (III) ไนเตรตแสดงคุณสมบัติทางแม่เหล็กที่ดีเยี่ยมทำให้สามารถแยกออกจากสารละลายตัวกลางได้ง่าย การมีอยู่ของสารละลายเฟอร์ริก (III) ไนเตรตสนับสนุนการเกิดรูพรุนไมโครพอร์ (Vmeso = 0.30 cm3/g) มีพื้นที่ผิวจำเพาะที่มีค่าสูง (275 m2/g) ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการดูดซับมีค่าสูงสุดเท่ากับ 34.22 mg/g และมีร้อยละการกำจัดมากกว่า 90% (ในช่วงความเข้มข้นเท่ากับ 5-20 ppm) ที่ปริมาณคาร์บอนเท่ากับ 2.0 g/L ภายใต้ pH ที่เป็นกลาง เมื่อทำการศึกษาแบบจำลองการดูดซับพบว่าไบโอชาร์ที่มีสมบัติแม่เหล็กสอดคล้องกับแบบจำลองไอโซเทอมของ Langmuir และ Temkin และแบบจำลองทางจลน์พลศาสตร์แบบ PSO นอกจากนี้การศึกษาแบบจำลองทางเทอร์โมไดนามิกส์พบว่ากระบวนเป็นแบบดูดความร้อน สามารถเกิดขึ้นได้เอง และกลไกการดูดซับเป็นแบบเคมี


การพัฒนาพอลิอิเล็กโทรไลต์ฐานพอลิไวนิลแอลกอฮอลล์สำหรับแบตเตอรี่สังกะสี-อากาศทุติยภูมิ, อัสมา แวหะยี Jan 2018

การพัฒนาพอลิอิเล็กโทรไลต์ฐานพอลิไวนิลแอลกอฮอลล์สำหรับแบตเตอรี่สังกะสี-อากาศทุติยภูมิ, อัสมา แวหะยี

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

แบตเตอรี่สังกะสี-อากาศ ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางในการนำมาใช้เป็นระบบกักเก็บ พลังงาน เนื่องด้วยแบตเตอรี่มีพลังงานจำเพาะสูงแต่ต้นทุนต่ำ โดยในปัจจุบันการพัฒนาอิเล็กโทรไลต์ เป็นพอลิอิเล็กโทรไลต์แทนการใช้สารละลายอิเล็กโทรไลต์ ได้รับความสนใจอย่างมากเพื่อเพิ่ม สมรรถภาพของแบตเตอรี่สังกะสี-อากาศ งานวิจัยมุ่งเน้นการพัฒนาพอลิอิเล็กโทรไลต์ที่เตรียมได้จาก พอลิไวนิลแอลกอฮอลล์ คาร์โบพอล 940 และโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ โดยศึกษาผลของการเติมคาร์ โบพอล 940 และคุณสมบัติของพอลิอิเล็กโทรไลต์ ที่มีการเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนของพอลิไวนิลแอลกอ ฮอลล์ต่อคาร์โบพอล 940 เท่ากับ 1:0, 1:0.3, 1:0.5 และ 1:0.75 พอลิอิเล็กโทรไลต์ถูกขึน้ รูปโดยวิธีการ หล่อ ซึ่งทำการผสมพอลิไวนิลแอลกอฮอลล์ คาร์โบพอล 940 และโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ แล้วหล่อ ลงบนกระดาษกรองที่ใช้เป็นแผ่นกั้น ปล่อยให้แห้งที่อุณหภูมิห้อง จากนั้น นำแผ่นพอลิอิเล็กโทรไลต์ที แห้งไปแช่ในสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้น 8 โมลาร์ เป็นเวลานาน 24 ชั่วโมง และ นำไปทดสอบต่อไป ค่าการนำไอออนที่อุณหภูมิห้องของพอลิเล็กโทรไลต์จะอยู่ในช่วง 0.127 ถึง 0.318 ซีเมนต่อเซนติเมตร ซึ่งค่าการนำไอออนจะเพิ่มขึ้น ตามปริมาณของคาร์โบพอล 940 ที่ถูกเติมเข้าไป เทคนิคไซคลิกโวลแทมเมตทรีโดยเซลล์ สังกะสี/พอลิอิเล็กโทรไลต์/สังกะสี ถูกใช้เพื่อทดสอบ เสถียรภาพ และศึกษาพฤติกรรมของพอลิอิเล็กโทรไลต์ พบว่า พอลิอิเล็กโทรไลต์ที่อัตราส่วนของพอลิ ไวนิลแอลกอฮอลล์ต่อคาร์โบพอล940 เท่ากับ 1:0.75 จะมีเสถียรภาพดีที่สุด การทดสอบที่เกี่ยวข้องกับ สมรรถนะของแบตเตอรี่สังกะสี-อากาศที่ใช้พอลิอิเล็กโทรไลต์ ได้แก่ การทดสอบการคายประจุไฟฟ้า ด้วยกระแสคงที่ที่ 10 มิลลิแอมป์ และ การทดสอบการวนรอบการคายประจุและการประจุไฟฟ้าที่ 10 และ 25 มิลลิแอมป์ พบว่า พอลิไวนิลแอลกอฮอลล์ต่อคาร์โบพอล940 เท่ากับ 1:0.75 มีประสิทธิภาพ ในการคายประจุไฟฟ้า และความสามารถในการวนรอบสูงที่สุด


ผลของชนิดพอลิออลต่อพฤติกรรมการสลายตัวทางความร้อนของพอลิเบนซอกซาซีนยูริเทนอัลลอย, อำนาจ กลิ่นชั้น Jan 2018

ผลของชนิดพอลิออลต่อพฤติกรรมการสลายตัวทางความร้อนของพอลิเบนซอกซาซีนยูริเทนอัลลอย, อำนาจ กลิ่นชั้น

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้ได้ศึกษาการสลายตัวทางความร้อนของพอลิเบนซอกซาซีนยูริเทนอัลลอย ที่ได้จากการผสมของพอลิเบนซอกซาซีนและพอลิยูริเทน ที่อัตราส่วนโดยโมล 1.5:1 โดยศึกษาถึงผลของชนิดของพอลิออลต่อพฤติกรรมการสลายตัวทางความร้อนและจลนพลศาสตร์ทางความร้อนของพอลิเบนซอกซาซีนยูริเทนอัลลอย ได้ศึกษาพอลิออล 3 ชนิด คือ พอลิโพรไพลีนไกลคอล, วอรานอลพอลิอีเทอร์ และ พอลิเอทิลีนอดิเปตไกลคอล โดยสัดส่วนที่สนใจศึกษาของพอลิเบนซอกซาซีนยูริเทนอัลลอย คือ 100:0, 90:10, 80:20, 70:30 และ 60:40 ซึ่งนำสัดส่วนที่สนใจศึกษา ไปทำการทดสอบการสลายตัวทางความร้อนผ่านเครื่องวิเคราะห์การสลายตัวทางความร้อน (Thermogravimetric Analysis: TGA) โดยเพิ่มอัตราการให้ความร้อน 3 ระดับ คือ 15,20 และ 25 องศาเซลเซียสต่อนาที ผลการทดลองพบว่า สัดส่วนที่ดีที่สุดคือ 70:30 โดยเป็นสัดส่วนที่ให้ค่าการสลายตัวทางความร้อนสูงสุดในทุกๆ อัตราการให้ความร้อน จากนั้นนำสัดส่วนที่ดีที่สุดไปศึกษาการสลายตัวทางจลนพลศาสตร์ทางความร้อนของพอลิเบนซอกซาซีนยูริเทนอัลลอย โดยใช้โมเดลของ Advanced isoconversional method พบว่า พอลิออลทั้ง 3 ชนิดมีค่าพลังงานก่อกัมมันต์ของการสลายตัวทั้งหมด 5 ขั้นตอน ดังนี้ พอลิโพรไพลีนไกลคอล คือ 61,93,103,56 และ 70 กิโลจูลต่อโมล วอรานอลพอลิอีเทอร์ คือ 120,144,372,354 และ 397 กิโลจูลต่อโมลตามลำดับ และพอลิเอทิลีนอดิเปตไกลคอล คือ 68,358,187,204 และ 135 กิโลจูลต่อโมลตามลำดับ โดยค่าพลังงานก่อกัมมันต์ที่ได้ จะเห็นว่าพอลิออลชนิดวอรานอลพอลิอีเทอร์ จะให้ค่าพลังงานก่อกัมมันต์สูงกว่าพอลิออลชนิดอื่นๆ ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมต่อไป


แบบจำลองพลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณสำหรับพลังงานที่ใช้ในถังปั่นกวนที่ขนาดไม่เป็นไปตามมาตรฐาน, อาทร เด่นดี Jan 2018

แบบจำลองพลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณสำหรับพลังงานที่ใช้ในถังปั่นกวนที่ขนาดไม่เป็นไปตามมาตรฐาน, อาทร เด่นดี

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษาการไหลภายในถังกวนผสมรวมถึงการคำนวณค่า Power Number (Np) ซึ่งเป็นตัวแปรสำคัญในการออกแบบถังกวนผสม สามารถทำได้โดยใช้พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณซึ่งในงานวิจัยนี้ใช้แบบจำลองความปั่นป่วน SST k-omega ร่วมกับแบบจำลองการหมุน Sliding Mesh โดยค่า Np ในการไหลแบบราบเรียบจะแปรผกผันกับ Reynolds Number (Re) โดย Np = KL/Re แต่ในย่านการไหลแบบปั่นกวนค่า Np จะเป็นค่าคงที่ โดย Np = KT โดยในงานวิจัยนี้แบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลักคือ ส่วนที่ 1 เป็นการสอบเทียบความเร็วที่เกิดจากการหมุนของใบปั่นกวนชนิด Rushton Turbine กับผลการทดลองจากเอกสารอ้างอิงและสอบเทียบค่า Np ของใบปั่นกวนชนิด Rushton Turbine, 45° Pitched blade Turbine และ Retreat Curve ที่ติดตั้งกับถังกวนผสมที่ขนาดเป็นไปตามมาตรฐาน โดยผลการสอบเทียบความเร็วนั้นให้แนวโน้มและค่าที่สอดคล้องกับผลการทดลอง นอกจากนี้ค่า Np ที่คำนวณของย่านการไหลแบบราบเรียบและปั่นป่วนนั้นมีร้อยละความแตกต่างกับผลการทดลองไม่เกินร้อยละ 10 รวมไปถึงลักษณะการไหลที่เกิดจากการคำนวณนั้นแสดงให้เห็นถึงลักษณะการไหลเฉพาะที่เกิดจากใบปั่นกวนที่นำมาสอบเทียบ สำหรับส่วนที่ 2 จะเป็นการคำนวณหาค่า Np ในระบบถังกวนผสมที่ขนาดไม่เป็นไปตามมาตรฐาน 2 ชนิด ชนิดที่ 1 เป็นระบบถังปั่นกวนที่ติดตั้งระบบใบปั่นกวนประกอบด้วย ใบปั่นกวนชนิด 45° Pitched blade Disk Turbine 2 ใบที่ส่วนบนและส่วนกลางของถังปั่นกวน และ ใบปั่นกวนชนิด Retreat Curve ที่ด้านล่างของถังปั่นกวน โดยผลการคำนวณค่า KL และ KT ของระบบใบปั่นกวนมีค่าเท่ากับ 251 และ 7.21 นอกจากนี้ยังพบว่าลักษณะการไหลที่เกิดขึ้นเป็นลักษณะการไหลในแนวดิ่งที่เกิดจากการเสริมกันของใบปั่นกวนทั้ง 3 ใบ ชนิดที่ 2 เป็นระบบถังปั่นกวนที่อ้างอิงจากถังหมักที่ติดตั้งใบปั่นกวนชนิด Rushton Turbine 2 ใบ รวมถึงเครื่องมือวัด เช่น เครื่องมือวัดการละลายของออกซิเจนในถังหมัก เป็นต้น …


The Effect Of Mcm-41 Addition To Pva/Pan/Pvp Polymer Electrolyte For Zinc-Air Batteries, Sirinuch Nanthapong Jan 2018

The Effect Of Mcm-41 Addition To Pva/Pan/Pvp Polymer Electrolyte For Zinc-Air Batteries, Sirinuch Nanthapong

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

A membrane separator is one of the main components in zinc-air batteries playing an important role in controlling the mass transfer for the electrochemical reaction in the battery which determines the battery performance. This work aimed to develop a new membrane separator for the zinc-air battery. Polyvinyl alcohol (PVA), polyacrylonitrile (PAN), polyvinylpyrrolidone (PVP), and their blends were used for the fabrication of separator in this work. In addition, an inorganic nanoparticle with high hydroxide content such as MCM-41 was also applied as the filler for the polymers. The results revealed that the addition of PAN in PVA enhanced the electrolyte …


The Effect Of Mcm-41 Addition To Pva/Pan/Pvp Polymer Electrolyte For Zinc-Air Batteries, Sirinuch Nanthapong Jan 2018

The Effect Of Mcm-41 Addition To Pva/Pan/Pvp Polymer Electrolyte For Zinc-Air Batteries, Sirinuch Nanthapong

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

A membrane separator is one of the main components in zinc-air batteries playing an important role in controlling the mass transfer for the electrochemical reaction in the battery which determines the battery performance. This work aimed to develop a new membrane separator for the zinc-air battery. Polyvinyl alcohol (PVA), polyacrylonitrile (PAN), polyvinylpyrrolidone (PVP), and their blends were used for the fabrication of separator in this work. In addition, an inorganic nanoparticle with high hydroxide content such as MCM-41 was also applied as the filler for the polymers. The results revealed that the addition of PAN in PVA enhanced the electrolyte …


Methane And Carbon Dioxide Adsorption On Al-Based And Zr-Based Mofs: Effects Of Amino-Functionalization, Orawee Lamoonkit Jan 2018

Methane And Carbon Dioxide Adsorption On Al-Based And Zr-Based Mofs: Effects Of Amino-Functionalization, Orawee Lamoonkit

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

For natural gas storage, adsorbed natural gas (ANG) technology has attracted great attention. There is a wide range of porous materials for ANG, but the most promising porous adsorbents for natural gas are metal organic frameworks (MOFs). This study examined adsorption of carbon dioxide and methane gases on aluminium (Al) based MOFs and zirconium (Zr) based MOFs including MIL-53(Al), MIL-53(Al)-NH₂, UiO-66, UiO-66-NH₂ 25%, UiO-66-NH₂ 50%, UiO-66-NH₂ 75%, and UiO-66-NH₂. Experiments were carried out in a static system at 33°C and pressures up to 100 psi. Characterization and structural analysis of the adsorbents were investigated by Fourier transform infrared spectroscopy (FTIR), …


The Combined Material Flow Analysis And Life Cycle Assessment For Integrated End-Of-Life Of Mercury Contaminated Petroleum Waste Management, Putthita Chongchongprasert Jan 2018

The Combined Material Flow Analysis And Life Cycle Assessment For Integrated End-Of-Life Of Mercury Contaminated Petroleum Waste Management, Putthita Chongchongprasert

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Now a day, the waste management generated by offshore petroleum operation (including drilling and production) located in the Gulf of Thailand seem to be a great challenge. Because of their unique characteristic in terms of hazardous properties, petroleum waste requires particular treatments to reduce potential impacts to the environment and human life. This study, the petroleum waste by their disposal code, and waste code was sorted. The Hg-contaminated petroleum waste flow starting from waste generation towards to final disposal was conducted by Material Flow Analysis (STAN, 2.6.601) and Life Cycle Assessment (SimaPro 8.3.0.0) was conducted as tools for evaluating the …