Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Social and Behavioral Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Articles 91 - 118 of 118

Full-Text Articles in Social and Behavioral Sciences

International Retirement Migration And Cultural Assimilation: A Study Of Western Retirees In Thailand, Kanokwan Tangchitnusorn, Patcharawalai Wongboonsin Jan 2018

International Retirement Migration And Cultural Assimilation: A Study Of Western Retirees In Thailand, Kanokwan Tangchitnusorn, Patcharawalai Wongboonsin

Asian Review

No abstract provided.


บทบรรณาธิการ Jan 2018

บทบรรณาธิการ

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


สัมภาษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร. วีระศักด์ิ เครือเทพ ความพร้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทยสู่การเป็นเมืองแห่งอนาคต : Smart City, วีระศักด์ิ เครือเทพ Jan 2018

สัมภาษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร. วีระศักด์ิ เครือเทพ ความพร้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทยสู่การเป็นเมืองแห่งอนาคต : Smart City, วีระศักด์ิ เครือเทพ

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


"รอบตัวเรา" เมืองอัจฉริยะ, ทวีวงศ์ ศรีบุรี Jan 2018

"รอบตัวเรา" เมืองอัจฉริยะ, ทวีวงศ์ ศรีบุรี

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


ข่าวและกิจกรรม รอบรั้วโครงการ Jan 2018

ข่าวและกิจกรรม รอบรั้วโครงการ

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


กิจกรรม Unisearch Jan 2018

กิจกรรม Unisearch

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


สัมภาษณ์ เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์กับการพัฒนาประเทศไทย ดร. กมลินทร์ พินิจภูวดล, กมลินทร์ พินิจภูวดล Jan 2018

สัมภาษณ์ เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์กับการพัฒนาประเทศไทย ดร. กมลินทร์ พินิจภูวดล, กมลินทร์ พินิจภูวดล

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


"รอบตัวเรา" เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ ในประเทศไทย, ทวีวงศ์ ศรีบุรี Jan 2018

"รอบตัวเรา" เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ ในประเทศไทย, ทวีวงศ์ ศรีบุรี

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


แนะนำโครงการ โครงการยกระดับความสามารถของอุตสาหกรรมขนาดกลางด้านงานวิจัยพัฒนาและอุตสาหกรรม Jan 2018

แนะนำโครงการ โครงการยกระดับความสามารถของอุตสาหกรรมขนาดกลางด้านงานวิจัยพัฒนาและอุตสาหกรรม

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


ข่าวและกิจกรรม รอบรั้วโครงการ Jan 2018

ข่าวและกิจกรรม รอบรั้วโครงการ

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


กิจกรรม Unisearch Jan 2018

กิจกรรม Unisearch

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


บทบรรณาธิการ Jan 2018

บทบรรณาธิการ

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


แนะนำโครงการ การทดสอบการกัดกร่อนตามมาตรฐานสากล Astm F1875 ระหว่างผิวสัมผัสระหว่างจุดต่อของข้อสะโพกเทียมชนิด Unipolar Hip Prosthesis, ไพรัช ตั้งพรประเสริฐ, ชัญญาพันธ์ วิรุฬห์ศรี Jan 2018

แนะนำโครงการ การทดสอบการกัดกร่อนตามมาตรฐานสากล Astm F1875 ระหว่างผิวสัมผัสระหว่างจุดต่อของข้อสะโพกเทียมชนิด Unipolar Hip Prosthesis, ไพรัช ตั้งพรประเสริฐ, ชัญญาพันธ์ วิรุฬห์ศรี

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


Prevention Of Trafficking In Persons For Forced Sea Fishery Work In Thailand, Wicha Jampawan Jan 2018

Prevention Of Trafficking In Persons For Forced Sea Fishery Work In Thailand, Wicha Jampawan

Asian Review

No abstract provided.


การปฏิวัติที่ถูกตัดตอน: ชาวนา นักศึกษา กฎหมาย และความรุนแรงในภาคเหนือของไทย Jan 2018

การปฏิวัติที่ถูกตัดตอน: ชาวนา นักศึกษา กฎหมาย และความรุนแรงในภาคเหนือของไทย

Journal of Social Sciences

No abstract provided.


ข่าวและกิจกรรม รอบรั้วโครงการ Jan 2018

ข่าวและกิจกรรม รอบรั้วโครงการ

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


"รอบตัวเรา" วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาประเทศ, ทวีวงศ์ ศรีบุรี Jan 2018

"รอบตัวเรา" วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาประเทศ, ทวีวงศ์ ศรีบุรี

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


ระบบนิเวศเมือง : องค์ประกอบภูมิทัศน์กับการบริการเชิงนิเวศ, ดนัย ทายตะคุ, มิ่งขวัญ นันทวิสัย, ภาวดี อังศุสิงห์ Jan 2018

ระบบนิเวศเมือง : องค์ประกอบภูมิทัศน์กับการบริการเชิงนิเวศ, ดนัย ทายตะคุ, มิ่งขวัญ นันทวิสัย, ภาวดี อังศุสิงห์

UNISEARCH (Unisearch Journal)

ระบบนิเวศเมือง (urban ecology) มีความหลากหลายขององค์ประกอบภูมิทัศน์ ซึ่งเกิดจากการรวมกลุ่มกันขององค์ประกอบทางธรรมชาติและองค์ประกอบที่มนุษย์สร้างขึ้นดังจะเห็นได้จากสิ่งปกคลุมดิน (land cover)ในพื้นที่เมือง ทั้งอาคาร พื้นดาดแข็ง พืชพรรณ และน้ำ ประกอบกันเป็นผืนโมเสก (mosaic) หรือผืนภูมิทัศน์ขององค์ประกอบที่หลากหลาย (Forman, 1986) ดังนั้น การทำความเข้าใจองค์ประกอบภูมิทัศน์ของเมืองโดยการจำแนกสิ่งปกคลุมดินจึงมีความสำคัญ เพื่อให้สามารถเข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างและรูปแบบขององค์ประกอบภูมิทัศน์ (landscape element) กับบทบาทเชิงนิเวศ (landscape function)และการบริการเชิงนิเวศ (ecosystem services) ของแต่ละองค์ประกอบได้ ซึ่งจะสามารถนำมาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อช่วยในการวางแผนและออกแบบระบบนิเวศเมืองให้เหมาะสมและสอดคล้องกับกระบวนการเชิงนิเวศซึ่งจะส่งผลดีต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ และคุณภาพชีวิตที่ดีต่อคนในพื้นที่เมืองต่อไป


แนะนำโครงการ Good Walk เมืองเดินได้-เมืองเดินดี การศึกษาศักยภาพการเข้าถึงสาธารณูปการที่ส่งเสริมการเดินเท้าและดัชนีศักยภาพการเดินเท้า, นิรมล กุลศรีสมบัติ, พรสรร วิเชียรประดิษฐ์, อดิศักดิ์ กันทะเมืองลี้ Jan 2018

แนะนำโครงการ Good Walk เมืองเดินได้-เมืองเดินดี การศึกษาศักยภาพการเข้าถึงสาธารณูปการที่ส่งเสริมการเดินเท้าและดัชนีศักยภาพการเดินเท้า, นิรมล กุลศรีสมบัติ, พรสรร วิเชียรประดิษฐ์, อดิศักดิ์ กันทะเมืองลี้

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


บทบรรณาธิการ Jan 2018

บทบรรณาธิการ

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


การออกแบบพัฒนากังหันพลังน้ำเพื่อเศรษฐกิจแบบพอเพียง หมู่บ้านโป่งลึก-บ้านบางกลอย, สุพรรณี บุญเพ็ง Jan 2018

การออกแบบพัฒนากังหันพลังน้ำเพื่อเศรษฐกิจแบบพอเพียง หมู่บ้านโป่งลึก-บ้านบางกลอย, สุพรรณี บุญเพ็ง

UNISEARCH (Unisearch Journal)

บ้านโป่งลก (หมู่ที่ 2) และบ้านบางกลอย (หมู่ที่ 1) อยู่ในตำบลห้วยแม่เพรียง อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ห่างจากที่ทำการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานประมาณ 50 กิโลเมตร บริเวณที่ตั้งของหมู่บ้านติดอยู่กับแม่นํ้าเพชรบุรีตอนต้น พื้นที่มีความสูงจากระดับนํ้าทะเลปานกลางประมาณ 150 เมตร (กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์พืช, 2560) ประชาชนที่อาศัยอยู่ในทั้งสองหมู่บ้านเป็นชาวปกาเกอะญอที่ย้ายลงมาจากบางกลอยบน (หรือกเรียกว่า ใจแผ่นดิน) มีชวิตความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีความเชื่อในเรื่องผีสาง นางไม้ เจ้าที่เจ้าทาง เจ้าป่า เจ้าเขา และนับถือศาสนาพุทธและคริสต์ แม่น้ำเพชรบุรี เปรียบเสมือนสายธารแห่งชีวิตของคนในพื้นที่บ้านโป่งลึก-บ้านบางกลอย ปัญหาที่สำคัญมากปัญหาหนึ่ง ของชุมชนบ้านโป่งลึก-บ้านบางกลอย คือ การผันน้ำจากแม่นํ้าเพชรบุรีขึ้นมาใช้ในการอุปโภคบริโภคและเพื่อการเกษตรกรรม เนื่องจากพื่นที่พักอาศัยและพื้นที่ทำกินของชุมชนที่ได้รับสิทธิในการถือครองที่ดินเพื่อการทำกินนั้น (พื่นที่ CN) เป็นพื้นที่ ที่อยู่ในระดับที่สูงกว่าแม่นํ้าเพชรบุรีมาก นอกจากนั้น การที่ไฟฟ้าและน้ำประปายังเข้าไม่ถึง ทำให้การทำเกษตรกรรม สามารถทำได้เฉพาะในฤดูฝน เท่านั้น ส่งผลใหัรายได้ต่อครัวเรือนอยู่ในระดับต่ำ แต่ละครัวเรือนจึงมีฐานะยากจน จึงมีการเข้าไปทำงานรับจ้างใช้แรงงานในเมืองแทนการทำเกษตรกรรมกันเป็นจำนวนมาก แต่อย่างไรก็ตามยังคงมี อีกร้อยกว่าหลังคาเรือนที่ยังคงอาศัยอยู่ในหมู่บ้านและส่วนใหญ่ยังประกอบอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งมีความจำเป็นต้อง ใช้น้ำในการอุปโภคบริโภคและเกษตรกรรม โดยวิธีการผันน้ำ/ดึงน้ำขึ้นไปใช้ โดยการใช้เครื่องปั๊มนํ้าแบบเครื่องยนต์ที่ต้อง ใช้น้ำมันเข้ามาใช้ในหมู่บ้าน ซึ่งมีทั้งที่เป็นของส่วนรวมและมีเพียงไม่กี่เครื่องที่เป็นของส่วนตัว ในปัจจุบัน การสูบนํ้าเพื่อใช้ในระบบประปาหมู่บ้านมีการใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ (solar cell) เป็นหลัก ชึ่งได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งนี้ การใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์เพื่อสูบนํ้าจะขึ้นอยู่กับแสงแดดที่มีในแต่ละวัน หากวันใดเเสงแดดน้อยหรือไม่มีแสงแดดจะไม่สามารถสูบน้ำได้ นอกจากนั้น ปั๊มเครื่องสูบนํ้าชนิดจุ่มหรือปั๊มซับเมอร์ส (submersible pump) ยังพบว่าเกิดปัญหาบ่อย ๆ ระบบการทำงานในช่วงแรกที่ยังไม่เสถียรนัก ทำให้ไม่สามารถสูบน้ำขึ้นมาได้ในปริมาณที่มากพอกับความต้องการใช้น้ำได้ จึงเกิดผลกระทบกับเกษตรกรที่ทำการเพาะปลูกหลังทำนา ซึ่งไม่สามารกทำการเกษตรได้ตลอดปี อีกทั้ง เชลล์ผลิตพลังงานแสงอาทิตย์เป็นอุปกรณ์ที่มีราคาแพงและยากต่อการช่อมบำรุง ด้วยตนเอง ดังนั้น การใช้กังหันพลังน้ำ จึงเป็นทางเลือกอีกทางหนึ่งสำหรับเกษตรกรในพื้นที่


เทคโนโลยีชีวภาพสำหรับการผลิต สารเพิ่มมูลค่าจากชีวมวลพืช ที่พบในประเทศไทย, วิชาณี แบนคีรี, พงศ์ธาริน โล่ห์ตระกูล, หรรษา ปุณณะพยัคฆ์, สีหนาท ประสงค์สุข Jan 2018

เทคโนโลยีชีวภาพสำหรับการผลิต สารเพิ่มมูลค่าจากชีวมวลพืช ที่พบในประเทศไทย, วิชาณี แบนคีรี, พงศ์ธาริน โล่ห์ตระกูล, หรรษา ปุณณะพยัคฆ์, สีหนาท ประสงค์สุข

UNISEARCH (Unisearch Journal)

การพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์จากชีวมวลพืช เป็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญประการหนึ่งต่อการพัฒนาประเทศในปัจจุบัน เนื่องจากประเทศไทยมีพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมเกษตรทำให้มีของเสียรอกำจัดหลังการแปรรูปจำนวนมาก ซึ่งระบบการจัดการส่วนใหญ่นิยม เผาเพื่อทำลายหรือให้ได้พลังงานกลับมาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมซึ่งสร้างมลภาวะแก่สิ่งแวดล้อม รวมทั้งเป็นการใช้ประโยชน์ อย่างไม่เต็มศักยภาพ เนื่องจากชีวมวลพืชเหล่านี้ประกอบด้วยสารอินทรีย์ที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ จึงเป็นแหล่งวัตถุดิบ ที่สามารถผลิตพลังงานทางเลือกและสารที่มีมูลค่าในเชิงอุตสาหกรรมได้ ดังนั้นทางหน่วยปฏิบัติการวิจัยการใช้ประโยชน์ จากชีวมวลพืช ภาควิชาพฤกษศาสตร์ จึงมุ่งเน้นในการวิจัยถึงศักยภาพของชีวมวลพืชที่พบในประเทศต่อการนำไปใช้ เป็นแหล่งวัตถุดิบ รวมทั้งพัฒนาเทคโนโลยีและกระบวนการผลิตสารมีมูลค่าที่เหมาะสมต่อชีวมวลพืชแต่ละชนิด โดยจุดมุ่งหมายในการวิจัยเพื่อใช้ประโยชน์ชีวมวลพืชอย่างสูงสุดโดยที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุดและคุ้มทุนในการพัฒนาเทคโนโลยีสู่ภาคอุตสาหกรรมต่อไป


ตัวรับรู้ชีวภาพบนพื้นฐานปฏิกิริยาของเอนไซม์สำหรับการตรวจวัดสารเคมีกำจัดศัตรูพืชกลุ่มออร์แกโนฟอสเฟต, บุษยรัตน์ ธรรมพัฒนกิจ, ชลธิชา สาหับ, ธรรมนูญ หนูจักร, ธวัชชัย ตันฑุลานิ Jan 2018

ตัวรับรู้ชีวภาพบนพื้นฐานปฏิกิริยาของเอนไซม์สำหรับการตรวจวัดสารเคมีกำจัดศัตรูพืชกลุ่มออร์แกโนฟอสเฟต, บุษยรัตน์ ธรรมพัฒนกิจ, ชลธิชา สาหับ, ธรรมนูญ หนูจักร, ธวัชชัย ตันฑุลานิ

UNISEARCH (Unisearch Journal)

ปัจจุบันสารเคมีกำจัดศัตรูพืชืถูกนำมาใช้งานอย่างแพร่หลายทำให้ผลผลิติที่ได้มีโอกาสปนเปื้อนสารเคมีเหล่านี้ ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพและความปลอดภัยของผู้บริโภค การตรวจวัดสารเคมีกำจัดศัตรูพืชด้วยเทคนิคที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพในการคัดกรอง จะมีส่วนช่วยลดความเสี่ยงที่ผู้บริโภคจะได้รับจากสารเคมีดังกล่าว ในงานวิจัยนี้คณะผู้วิจัยได้พัฒนาตัวรับรู้ชีวภาพ (biosensor) ในรูปแบบใหม่สำหรับตรวจวัดยาฆ่าแมลงกลุ่มออร์แกโนฟอสเฟต(Organophosphate Pesticides: OPs) อย่างจำเพาะมุ่งเน้นการศึกษากราฟีนควอนตัมดอท (GrapheneQuantum Dots: GQDs) ซึ่งเป็นวัสดุในระดับนาโนที่ให้สัญญาณแสงฟลูออเรสเซนต์สูง เตรียมง่าย ราคาถูกอีกทั้งไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม โดยได้นำเอากลไกการยับยั้ง การทำงานของเอนไซม์ชนิดอะซิติลโคลีนเอสเทอเรส(Acetylcholinesterase: AChE) ซึ่งมีมากในระบบประสาทของสิ่งมีชีวิตมาประยุกต์ใช้ โดยอาศัยบทบาทการทำงานของเอนไซม์ 2 ชนิด คือ อะซิติลโคลีนเอสเทอเรสและโคลีนเอสเทอเรส (Cholinesterase: CHOx) ซึ่งจะผลิตไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) ณ สภาวะปกติ ในขณะเดียวกันการผลิตไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ที่ลดลงเมื่อ มีออร์แกโนฟอสเฟตในระบบ จะส่งผลต่อสัญญาณแสงฟลูออเรสเซนต์ของกราฟีนควอนตัมดอท นำไปสู่การตรวจวัดหาปริมาณของยาฆ่าแมลงกลุ่มออร์แกโนฟอสเฟตได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยความรู้และข้อมูลที่ได้จากงานวิจัยนี้จะมีส่วนสำคัญในการตรวจวัดหาปริมาณยาฆ่าแมลงในอาหาร แหล่งน้ำ และสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ได้ในอนาคต


สัมภาษณ์ ถอดบทเรียน : การพัฒนางานวิจัยสู่การนำไปใช้เพื่อการพัฒนาประเทศ, สุพจน์ วัฒนะพันธ์ศักด์ิ Jan 2018

สัมภาษณ์ ถอดบทเรียน : การพัฒนางานวิจัยสู่การนำไปใช้เพื่อการพัฒนาประเทศ, สุพจน์ วัฒนะพันธ์ศักด์ิ

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


กิจกรรม Unisearch Jan 2018

กิจกรรม Unisearch

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


An Assessment Of Climate Variability On Farmers' Livelihoods Vulnerability In Ayeyarwady Delta Of Myanmar, Naw M. Lar, Nathsuda Pumijumnong, Raywadee Roachanakanan, Noppol Arunrat, Soe Tint Jan 2018

An Assessment Of Climate Variability On Farmers' Livelihoods Vulnerability In Ayeyarwady Delta Of Myanmar, Naw M. Lar, Nathsuda Pumijumnong, Raywadee Roachanakanan, Noppol Arunrat, Soe Tint

Applied Environmental Research

This study assesses the vulnerability of farm households in the Ayeyarwady Region, Myanmar. Fifty-nine farm households were purposively sampled to conduct a questionnaire survey, and secondary data were collected in 2016. In order to assess variability in household vulnerability, the Livelihood Vulnerability Index (LVI), based on five types of 'capital' as identified in the Sustainable Livelihoods Framework, was adopted and modified according to the local context. Vulnerability scores ranged from 0 (low vulnerability) to 1 (highly vulnerable), with an average LVI of 0.442, indicating moderate overall vulnerability across the study area. Regarding the five types of 'capital', households were most …


Evaluation Of Greenhouse Gas Emissions From Municipal Solid Waste (Msw) Management: Case Study Of Lampang Municipality, Thailand, Pantitcha Outapa, Veerapas Na Roi-Et Jan 2018

Evaluation Of Greenhouse Gas Emissions From Municipal Solid Waste (Msw) Management: Case Study Of Lampang Municipality, Thailand, Pantitcha Outapa, Veerapas Na Roi-Et

Applied Environmental Research

The issue of greenhouse gas (GHG) emissions from municipal solid waste (MSW) is important in the context of climate change. Reduction of GHGs from waste disposal systems is one of the management strategies forming part of Thailand's National Economic and Social Development Plan. This project evaluated emissions from a municipal solid waste system covering transportation and disposal in Lampang Municipality, northern Thailand. GHG emissions from transportation were estimated by the Institute for Global Environmental Strategies (IGES) based on the travel distance of the vehicles, using a vehicle emission model and vehicle fuel consumption. GHG emissions during the disposal process were …


Seasonal And Land Use Effects On Amphibian Abundance And Species Richness In The Sakaerat Biosphere Reserve, Thailand, Matthew Crane, Colin Strine, Pongthep Suwanwaree Jan 2018

Seasonal And Land Use Effects On Amphibian Abundance And Species Richness In The Sakaerat Biosphere Reserve, Thailand, Matthew Crane, Colin Strine, Pongthep Suwanwaree

Applied Environmental Research

Habitat destruction and degradation in the tropics have led to a dramatic increase in altered habitats. Understanding the impacts of these disturbed areas on biodiversity will be critical to future conservation efforts. Despite heavy deforestation, Southeast Asia is underrepresented in studies investigating faunal communities in human-modified landscapes. This project assessed the herpetofaunal community in dry dipterocarp forest, secondary disturbed forest, and Eucalyptus plantations in the Sakaerat Biosphere Reserve. In May, June, and September of 2015, we surveyed using 10 passive trapping arrays. Both the Eucalyptus plantations and secondary disturbed forest habitats (224 and 141 individuals, respectively) had higher amphibian abundance …