Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Physical Sciences and Mathematics Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Articles 1 - 30 of 39

Full-Text Articles in Physical Sciences and Mathematics

จากวันนั้นถึงวันนี้ สึนามิกับอุตสาหกรรมโรงแรม, ณัฏฐ์ ลีละวัฒน์, Jing Tang, ณพวัฒน์ โชติวรรณ, ธนวิชญ์ ประกิตเตชะกุล Oct 2018

จากวันนั้นถึงวันนี้ สึนามิกับอุตสาหกรรมโรงแรม, ณัฏฐ์ ลีละวัฒน์, Jing Tang, ณพวัฒน์ โชติวรรณ, ธนวิชญ์ ประกิตเตชะกุล

Environmental Journal

No abstract provided.


ชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่า ต้นหญ้าจึงเป็นบทเรียน, ศูนย์เครือข่ายการเรียนรู้เพื่อภูมิภาค Oct 2018

ชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่า ต้นหญ้าจึงเป็นบทเรียน, ศูนย์เครือข่ายการเรียนรู้เพื่อภูมิภาค

Environmental Journal

No abstract provided.


การดำเนินงานตามแนวพระราชดำริที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเพชรบุรี, พินิจภณ ปิตุยะ Oct 2018

การดำเนินงานตามแนวพระราชดำริที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเพชรบุรี, พินิจภณ ปิตุยะ

Environmental Journal

No abstract provided.


Challenge 6 การอยู่ร่วมกันกับธรรมชาติอย่างกลมกลืน, ลักษณาพรรณ วงศ์โสภา Oct 2018

Challenge 6 การอยู่ร่วมกันกับธรรมชาติอย่างกลมกลืน, ลักษณาพรรณ วงศ์โสภา

Environmental Journal

No abstract provided.


การจัดการป่าชายเลนเพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน, วิภาพรรณ อดุลย์เจริญ, กัลยา สุนทรวงศ์สกุล Oct 2018

การจัดการป่าชายเลนเพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน, วิภาพรรณ อดุลย์เจริญ, กัลยา สุนทรวงศ์สกุล

Environmental Journal

No abstract provided.


การจัดสรรน้ำในเขื่อนลำปาวสำหรับใช้ปลูกข้าวนาปรัง ของจังหวัดกาฬสินธุ์, สุนทร เป้าปิด, ราวินซ์ รพินันตปรีชาญาน, ราโชทัยย์ จันทาทุม Oct 2018

การจัดสรรน้ำในเขื่อนลำปาวสำหรับใช้ปลูกข้าวนาปรัง ของจังหวัดกาฬสินธุ์, สุนทร เป้าปิด, ราวินซ์ รพินันตปรีชาญาน, ราโชทัยย์ จันทาทุม

Environmental Journal

No abstract provided.


ฝุ่น Pm 2.5 ในประเทศไทย, อรุบล โชติพงศ์ Oct 2018

ฝุ่น Pm 2.5 ในประเทศไทย, อรุบล โชติพงศ์

Environmental Journal

No abstract provided.


บี.กริม-เมอร์ค ร่วมพลังปลูกชีวิตให้ป่าชายเลน, พิมพ์วัสสา มกรพงศ์ Oct 2018

บี.กริม-เมอร์ค ร่วมพลังปลูกชีวิตให้ป่าชายเลน, พิมพ์วัสสา มกรพงศ์

Environmental Journal

No abstract provided.


3 ทศวรรษมูลนิธิชัยพัฒนา... ชัยชนะแห่งการพัฒนา, อนุตรา วรรณวิโรจน์ Oct 2018

3 ทศวรรษมูลนิธิชัยพัฒนา... ชัยชนะแห่งการพัฒนา, อนุตรา วรรณวิโรจน์

Environmental Journal

No abstract provided.


นาข้าวลอยน้ำ ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ, ปัณฑิตา ตันวัฒนะ, จันทรา ทองคำเภา, สุทธิรัตน์ กิตติพงษ์วิเศษ, ธัญศิภรณ์ จันทร์หอม, เกษพรรณราย เกาะช้าง Oct 2018

นาข้าวลอยน้ำ ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ, ปัณฑิตา ตันวัฒนะ, จันทรา ทองคำเภา, สุทธิรัตน์ กิตติพงษ์วิเศษ, ธัญศิภรณ์ จันทร์หอม, เกษพรรณราย เกาะช้าง

Environmental Journal

No abstract provided.


ต้นไม้ประดับ "เครื่องฟอกอากาศ" ในอาคาร, มณีรัตน์ องค์วรรณดี Oct 2018

ต้นไม้ประดับ "เครื่องฟอกอากาศ" ในอาคาร, มณีรัตน์ องค์วรรณดี

Environmental Journal

No abstract provided.


สะเต็มศึกษากับการขับเคลื่อนการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมของเด็กไทย, ทรงกฤษณ์ ประภักดี, ภิญญาพัชญ์ อักษราพรพิทักษ์ Oct 2018

สะเต็มศึกษากับการขับเคลื่อนการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมของเด็กไทย, ทรงกฤษณ์ ประภักดี, ภิญญาพัชญ์ อักษราพรพิทักษ์

Environmental Journal

No abstract provided.


ข่าวสิ่งแวดล้อม Recycle+ แนวทางการแยกขยะแบบใหม่ในรั้วจุฬาฯ, ศีลาวุธ ดำรงศิริ, สุจิตรา วาสนาดำรงดี Jul 2018

ข่าวสิ่งแวดล้อม Recycle+ แนวทางการแยกขยะแบบใหม่ในรั้วจุฬาฯ, ศีลาวุธ ดำรงศิริ, สุจิตรา วาสนาดำรงดี

Environmental Journal

No abstract provided.


มาตรการด้านผังเมืองเพื่อลดความเสี่ยงภัยพิบัติและเตรียมรับสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง, ธงชัย โรจนกนันท์ Jul 2018

มาตรการด้านผังเมืองเพื่อลดความเสี่ยงภัยพิบัติและเตรียมรับสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง, ธงชัย โรจนกนันท์

Environmental Journal

No abstract provided.


กระบวนการปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดินแบบมีส่วนร่วม : กรณีศึกษาเกษตรกรรมไร้หมอกควัน จังหวัดน่าน, ปัณฑิตา ตันวัฒนะ, ธัญศิภรณ์ จันทร์หอม, ศุภนิดา ทองปัน, วิรากานต์ หน่อท้าว Jul 2018

กระบวนการปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดินแบบมีส่วนร่วม : กรณีศึกษาเกษตรกรรมไร้หมอกควัน จังหวัดน่าน, ปัณฑิตา ตันวัฒนะ, ธัญศิภรณ์ จันทร์หอม, ศุภนิดา ทองปัน, วิรากานต์ หน่อท้าว

Environmental Journal

No abstract provided.


ความสำคัญของความหมายเชิงวัฒนธรรมของลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ ต่อกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ, ชยา วรรธนะภูติ Jul 2018

ความสำคัญของความหมายเชิงวัฒนธรรมของลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ ต่อกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ, ชยา วรรธนะภูติ

Environmental Journal

No abstract provided.


ผักตบชวากับการบำบัดสารมลพิษในน้ำ, นัยนันทน์ อริยกานนท์ Jul 2018

ผักตบชวากับการบำบัดสารมลพิษในน้ำ, นัยนันทน์ อริยกานนท์

Environmental Journal

การปนเปื้อนของสารมลพิษในแหล่งน้ำจัดว่าเป็นปัญหาทางสิ่งแวดล้อมที่สำคัญของประเทศไทย และในหลายภูมิภาคทั่วโลก เนื่องมาจากการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม การเกษตรกรรมแนวใหม่ และการบริโภควัตถุที่มากเกินความต้องการของประชาชน ส่งผลให้เกิดผลกระทบหลายประการ เช่น แหล่งน้ำเน่าเสียจากภาวะ Eutrophication หรือแหล่งน้ำปนเปื้อนโลหะหนักและสารฆ่าแมลง ทำให้น้ำมีคุณภาพต่ำจนไม่สามารถนำมาใช้ในการอุปโภคบริโภคได้ การบำบัดสารมลพิษในน้ำสามารถทำได้ทั้งวิธีทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ สำหรับวิธีทางกายภาพและเคมี เช่น การแยกสารมลพิษโดยใช้ความร้อน (thermal desorption) การแลกเปลี่ยนไอออน (ion exchange) การกรองแยกผ่านเมมเบรน (membrane separation-filtration) หรือการบำบัดทางสารเคมี (chemical treatment) ล้วนเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพดี ใช้ระยะเวลาสั้น และเหมาะสมในกรณีที่สารมลพิษมีความเข้มข้นสูง แต่เทคนิคดังกล่าวมักจะมีค่าใช้จ่ายสูงทั้งในเรื่องของเครื่องมือและอุปกรณ์ รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาระบบ ดังนั้นนักวิทยาศาสตร์จึงมีแนวความคิดที่จะนำพืชสีเขียวมาใช้บำบัดสารมลพิษ (Phytoremediation) ที่ปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม ซึ่งวิธีนี้จะสามารถบำบัดได้ทั้งสารมลพิษประเภทสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ มีต้นทุนต่ำ และประหยัดพลังงาน ผักตบชวา หรือ water hyacinth มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Eichhornia crassipes (Mart.) Solms จัดอยู่ในวงศ์ Pontederiaceae ผักตบชวาเป็นพืชที่มีการศึกษาวิจัยกันมาอย่างต่อเนื่องทั้งในประเทศ และต่างประเทศในเรื่องความสามารถในการบำบัดสารมลพิษที่ปนเปื้อนในแหล่งน้ำ ในกรณีของสารมลพิษอินทรีย์ พบว่าผักตบชวาสามารถบำบัดอินทรียวัตถุและธาตุอาหาร เช่น ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส รวมทั้งสารฆ่าแมลงบางชนิดด้วย ส่วนสารอนินทรีย์พบว่า ผักตบชวาสามารถสะสมแคดเมียม โครเมียม ทองแดง ปรอท ตะกั่ว ซีเซียม สตรอนเทียม และยูเรเนียมได้ในปริมาณสูง ทั้งนี้กลไกในการบำบัดสารมลพิษแต่ละประเภทที่เกิดขึ้นภายในต้นผักตบชวาน่าจะมีความแตกต่างกัน


การประเมินคุณภาพอากาศในสวนสาธารณะในกรุงเทพมหานครด้วยไลเคน, ชัยวัฒน์ บุญเพ็ง, ชุติมา ศรีวิบูลย์, กัณฑรีย์ บุญประกอบ Jul 2018

การประเมินคุณภาพอากาศในสวนสาธารณะในกรุงเทพมหานครด้วยไลเคน, ชัยวัฒน์ บุญเพ็ง, ชุติมา ศรีวิบูลย์, กัณฑรีย์ บุญประกอบ

Environmental Journal

ไลเคนถูกนำมาใช้เป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพอากาศอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะในยุโรปและอเมริกา การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ไลเคนตรวจวัดและประเมินคุณภาพอากาศในสวนสาธารณะในกรุงเทพมหานคร โดยทำการเก็บตัวอย่างไลเคนชนิด Parmotrema tinctorum จากบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จากนั้นนำไปติดไว้บนต้นไม้ในสวนสาธารณะ 10 แห่ง ในกรุงเทพมหานคร พื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่ควบคุม เป็นระยะเวลา 140 วัน จากนั้นนำตัวอย่างกลับมาวิเคราะห์ปริมาณไนเตรท (NO3-) และซัลเฟต (SO42-) ที่สะสมในไลเคน รวมทั้งวัดค่าทางสรีรวิทยาด้วย พบว่า ปริมาณสารทั้งสองชนิดมีค่าสูงสุดในกรุงเทพมหานคร รองลงมาคือพื้นที่เกษตรกรรม และต่ำสุดที่พื้นที่ควบคุม ส่วนค่าทางสรีรวิทยาพบว่าสวนสาธารณะที่อยู่ในย่านใจกลางเมือง ได้แก่ สวนลุมพินี สวนสันติภาพ และสวนวชิรเบญจทัศ ซึ่งล้อมรอบด้วยการจราจรที่หนาแน่น มีค่าต่ำกว่าสวนอื่น ๆ ที่อยู่รอบนอกอย่างชัดเจน บ่งชี้ว่าไลเคนที่ย้ายปลูกในสวนเหล่านี้ได้รับผลกระทบจากมลพิษทางอากาศมากกว่า การศึกษานี้ยืนยันว่าไลเคนสามารถนำมาใช้เป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพอากาศในประเทศไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ และการวัดค่าทางสรีรวิทยาของไลเคนสามารถใช้เป็นสัญญาณเตือนภัยเบื้องต้นของมลพิษทางอากาศได้


ข่าวสิ่งแวดล้อม World Cleanup Day วันรณรงค์เพื่อโลกสะอาด 15 กันยายน 2561, ทรงกฤษณ์ ประภักดี Jul 2018

ข่าวสิ่งแวดล้อม World Cleanup Day วันรณรงค์เพื่อโลกสะอาด 15 กันยายน 2561, ทรงกฤษณ์ ประภักดี

Environmental Journal

ในปัจจุบัน โลกของเราก้าวเข้าสู่การพัฒนาด้านต่างๆ ที่เร็วในขณะเดียวกัน โลกก็สกปรกอย่างรวดเร็วเช่นกัน ทั้งนี้การดำเนินการป้องกันความสกปรกย่อมง่ายและมีค่าใช้จ่ายที่น้อยกว่าการมาทำความสะอาดภายหลังจากที่มีความสกปรกเกิดขึ้นแล้ว แต่อย่างไรก็ตามเมื่อโลกเกิดความสกปรกแล้ว เราก็ต้องทำความสะอาด เพราะเราอยู่บนโลก และโลกก็คือบ้านของเรา


เรื่องจากปก ป่าต้นน้ำน่าน, ปัณฑิตา ตันวัฒนะ Jul 2018

เรื่องจากปก ป่าต้นน้ำน่าน, ปัณฑิตา ตันวัฒนะ

Environmental Journal

No abstract provided.


ปฏิบัติการ "Waju" หนีน้ำท่วม, ศิญาณี หิรัญสาลี Jul 2018

ปฏิบัติการ "Waju" หนีน้ำท่วม, ศิญาณี หิรัญสาลี

Environmental Journal

No abstract provided.


"ภูมิสังคมทางวิถีชีวิต และคุณค่าของพื้นที่สาธารณะต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ชุ่มน้ำ กรณีศึกษาชุมชนหมู่ที่ 8 ตำบลพันท้ายนรสิงห์ จังหวัดสมุทรสาคร", ศิริพันธ์ นันสุนานนท์, ปิยะพงษ์ จันทร์ใหม่มูล, ริเรืองรอง รัตนวิไลสกุล, วิภาวี เอี่ยมวรเมธ, ภาสนันทน์ อัศวรักษ์ Jul 2018

"ภูมิสังคมทางวิถีชีวิต และคุณค่าของพื้นที่สาธารณะต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ชุ่มน้ำ กรณีศึกษาชุมชนหมู่ที่ 8 ตำบลพันท้ายนรสิงห์ จังหวัดสมุทรสาคร", ศิริพันธ์ นันสุนานนท์, ปิยะพงษ์ จันทร์ใหม่มูล, ริเรืองรอง รัตนวิไลสกุล, วิภาวี เอี่ยมวรเมธ, ภาสนันทน์ อัศวรักษ์

Environmental Journal

No abstract provided.


"ฟอเรสต์ สคูล" (Forest School) โรงเรียนทางเลือกในป่ากว้างสำหรับทุกวัย, พิชญา ปิยจันทร์ Apr 2018

"ฟอเรสต์ สคูล" (Forest School) โรงเรียนทางเลือกในป่ากว้างสำหรับทุกวัย, พิชญา ปิยจันทร์

Environmental Journal

การศึกษาทางเลือก ได้รับความนิยมมากขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากผู้ปกครองส่วนใหญ่เริ่มหันมาให้ความสำคัญกับการเรียนและการพัฒนาแบบองค์รวมของเด็ก ๆ นอกเหนือจากการเรียนเพื่อคะแนน หรือการเรียนกวดวิชา โดยเฉพาะกลุ่มผู้ปกครองชนชั้นกลางและชนชั้นกลางกลุ่มที่มีรายได้ระดับสูง ความนิยมในการศึกษาทางเลือกส่วนหนึ่งเกิดจาก "การศึกษาที่ดีที่สุดในโลก" ของประเทศฟินแลนด์ ที่เด็ก ๆ ใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับการ "เล่น" แต่ยังคงทำคะแนนสอบในโครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (The Programme for International Student Assessment:PISA) ได้ดีเป็นลำดับต้น ๆ ของโลก (Anderson & Wang, 2016) เด็ก ๆ ในประเทศแถบทวีปสแกนดิเนเวียหรือยุโรปเหนือ รวมถึง ประเทศฟินแลนด์จะได้รับการปลูกฝังให้เรียนรู้ด้วยตนเองผ่านการสังเกตและลงมือทำมาตั้งแต่การเรียนในระดับอนุบาล ซึ่ง "ฟอเรสต์ สคูล" (Forest School) หรือโรงเรียนในป่าเป็นส่วนหนึ่งในการเรียนรู้ของเด็ก ๆ (Walker, 2016) นอกจากนี้ ประเทศฟินแลนด์เริ่มหันมาใช้รูปแบบการเรียนที่เน้นการเรียนรู้จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริง เน้นการทำงานเป็นกลุ่มและการลงมือปฏิบัติจริง หรือที่เรียกว่า "Phenomenon-Based Learning" (PBL) (BBC, 2017) ในระดับมัธยมศึกษา ซึ่งเชื่อว่าจะทำให้นักเรียนสามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ได้มากขึ้นและเปิดโอกาสให้นักเรียนมีเสรีภาพในการเรียนรู้ด้วยตนเอง


"Spittelau" จุดบรรจบของศิลปะกับพลังงานไฟฟ้าจากขยะครัวเรือนใจกลางเมืองเวียนนา, วรรณภา ซุมเมอร์เอลเดอร์ สุวรรณรัตน์ Apr 2018

"Spittelau" จุดบรรจบของศิลปะกับพลังงานไฟฟ้าจากขยะครัวเรือนใจกลางเมืองเวียนนา, วรรณภา ซุมเมอร์เอลเดอร์ สุวรรณรัตน์

Environmental Journal

บทความนี้นำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับการจัดการขยะของเมืองเวียนนา เมืองหลวงของประเทศออสเตรีย ทั้งการจัดการขยะในครัวเรือนของชาวเมืองเวียนนา และการนำขยะเหล่านั้นไปผลิตกระแสไฟฟ้า โดยมีโรงไฟฟ้าขยะ "Spittelau" (ฉะปิตเทอะเลา) ซึ่งนอกจากจะเป็นแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้าแล้ว ยังเป็นสิ่งก่อสร้างที่แสดงถึงความงดงามของศิลปกรรมของชาวเวียนนา ผ่านการสร้างสรรค์ศิลปะลงบนตัวอาคารโรงไฟฟ้าโดยศิลปินเอกของเวียนนาที่ชื่อ Friedensreich Hundertwasser ทำให้โรงไฟฟ้าขยะ Spittelau กลายเป็นจุดดึงดูดผู้คนและสร้างความกลมกลืนกับสถาปัตยกรรมของเมืองเวียนนาได้อย่างลงตัว นอกจากชาวเวียนนาจะมีความไว้วางใจในเทคโนโลยีและการจัดการขยะของโรงไฟฟ้าแห่งนี้แล้ว ด้วยรูปลักษณ์ที่เห็นจากภายนอกที่อาจทำให้เชื่อได้ยากว่านี่คือ "โรงไฟฟ้าขยะ" เนื่องจากแลดูเหมือนสถานที่แสดงผลงานศิลปะมากกว่าจะเป็นโรงไฟฟ้า และด้วยลวดลายและสีสันที่สดใสทำให้สถานที่แห่งนี้ดูเป็นมิตรต่อทั้งชาวเมืองเวียนนาที่อาศัยอยู่โดยรอบ และผู้คนที่สัญจรผ่านไปมาในพื้นที่เขต 9 Alsergrund (อัล-เซอร์-กรึน) ซึ่งอยู่ในพื้นที่ชั้นในของเมืองเวียนนา จึงทำให้สามารถแก้ไขปัญหาเรื่องความวิตกกังวลต่อมลภาวะจากกระบวนการผลิตไฟฟ้าได้อีกทางหนึ่ง


ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อสร้างการเฝ้าระวังทางสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมสำหรับประเทศไทย, อุ่นเรือน เล็กน้อย Apr 2018

ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อสร้างการเฝ้าระวังทางสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมสำหรับประเทศไทย, อุ่นเรือน เล็กน้อย

Environmental Journal

จากสถานการณ์ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย ที่ภาพรวมแล้วพบว่า มีความเสื่อมโทรมลง ทั้งคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำในรอบ 10 ปีที่ผ่านมาอยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรมลง สถานการณ์คุณภาพอากาศที่พบ ค่าฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน ครอบคลุมในหลายจังหวัด ทั้งยังพบปัญหาในการจัดการขยะที่มีจำนวนขยะเกินค่ามาตรฐาน และขาดการกำจัดขยะที่ถูกต้อง (กรมควบคุมมลพิษ, 2559) ในขณะที่ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของภาครัฐยังคงมีข้อจำกัดอีกหลายประการ กอปรกับ ภาคประชาชนที่ยังคงได้รับแรงกดดันจากภาคเศรษฐกิจที่ต้องให้ความสำคัญกับเรื่องปากท้องเป็นสำคัญ จึงขาดการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังทางสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติเกิดความเสื่อมโทรมอย่างรวดเร็ว หากสถานการณ์ยังคงเป็นเช่นนี้ต่อไป จึงเป็นที่น่าคิดว่า ในอนาคตฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยจะเป็นอย่างไร บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการสร้างการเฝ้าระวังทางสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมโดยภาคประชาชนสำหรับประเทศไทย เพราะความรับผิดชอบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นของประชาชนทุกคน การปฏิรูปการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม โดยการสร้างกลไกการเฝ้าระวังทางสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วม จึงมีความจำเป็นต่อความสำเร็จของการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน


บทสัมภาษณ์: การพัฒนาเมืองตามอัตลักษณ์และภูมิวัฒนธรรมของเมือง, เสาวนีย์ วิจิตรโกสุม Apr 2018

บทสัมภาษณ์: การพัฒนาเมืองตามอัตลักษณ์และภูมิวัฒนธรรมของเมือง, เสาวนีย์ วิจิตรโกสุม

Environmental Journal

การพัฒนาเมืองในปัจจุบันและแนวโน้มในการพัฒนาเมืองในอนาคต มักมุ่งเน้น ความหรูหรา ความทันสมัย การออกแบบภูมิทัศน์ของเมืองจึงมักเป็นไปในรูปแบบของรูปทรงที่ล้ำสมัย จนทำให้ เมืองแลดูไม่มีชีวิตชีวาและขาดการเชื่อมโยงกับรากเหง้าของชุมชน


เรื่องน่ารู้ : การทำเกษตรกรรมแนวตั้ง (Vertical Farming), เสาวนีย์ วิจิตรโกสุม Apr 2018

เรื่องน่ารู้ : การทำเกษตรกรรมแนวตั้ง (Vertical Farming), เสาวนีย์ วิจิตรโกสุม

Environmental Journal

จากสภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ทั้งปัญหามลภาวะต่าง ๆ ทรัพยากรธรรมชาติร่อยหรอและถูกทำลาย และปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ไม่เหมาะสม ประกอบกับ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ส่งผลกระทบต่อพื้นที่เกษตรกรรมและระบบอุทกวิทยา ในขณะที่ ประชากรทั่วโลกยังคงเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสภาพการณ์ดังกล่าวส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหารของประชากรโลกอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้น การทำเกษตรกรรมของโลกในศตวรรษที่ 21 จึงเข้าสู่การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ (Paradigm Shift) ครั้งใหญ่อีกครั้งหนึ่ง โดยการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจะเป็นไปในลักษณะของการปรับเปลี่ยนรูปแบบในการทำเกษตรกรรม เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหาร (food security) และความปลอดภัยทางอาหาร (food safety) ให้แก่มวลมนุษยชาติ ในรูปแบบของการเพาะปลูกที่ไม่พึ่งพาสารเคมี (Bio-agriculture) และการเพาะปลูกในโรงเรือน (Indoor Agriculture) ที่สามารถควบคุมปัจจัยแวดล้อมได้


มอง Dubai: The City Of Contrasts ผ่าน Dubai Creek, เสาวนีย์ วิจิตรโกสุม Apr 2018

มอง Dubai: The City Of Contrasts ผ่าน Dubai Creek, เสาวนีย์ วิจิตรโกสุม

Environmental Journal

No abstract provided.


ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองในเทศบาลตำบลทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี, ณัฐภากัญญ์ ชูสินภาณุมาศ, วราลักษณ์ คงอ้วน Apr 2018

ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองในเทศบาลตำบลทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี, ณัฐภากัญญ์ ชูสินภาณุมาศ, วราลักษณ์ คงอ้วน

Environmental Journal

เทศบาลตำบลทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี ครอบคลุมพื้นที่ทั้งสิ้น 3.28 ตารางกิโลเมตร เป็นพื้นที่ที่มีทำเลที่ตั้งอยู่ใกล้กับสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียง เช่น อุทยานแห่งชาติทองผาภูมิ อุทยานแห่งชาติเขาแหลม เหมืองปิล๊อก วัดทองผาภูมิ วัดท่าขนุน ฯลฯ ส่งผลให้เกิดการขยายตัวทางการท่องเที่ยวในพื้นที่อย่างรวดเร็ว ดังจะเห็นได้จากการมีจำนวนนักท่องเที่ยวกว่า 100,000 คน/ปี และการขยายตัวของโรงแรมกว่า 200 แห่ง บริเวณริมแม่น้ำแควน้อย (สำนักงานเทศบาลตาบลองผาภูมิ, 2560) อย่างไรก็ตาม การขยายตัวทางการท่องเที่ยวดังกล่าว ก่อให้เกิดผลกระทบทางลบต่อสิ่งแวดล้อมเมืองตามมา ไม่ว่าจะเป็นปัญหาขยะมูลฝอยตกค้าง ปัญหาน้ำมีลักษณะขุ่น ไม่เหมาะสมต่อการทำเกษตรกรรมในบริเวณชุมชนริมฝั่งแม่น้ำแควน้อย เป็นต้น


Rees: ปัญหามลพิษที่ถูกมองข้าม?, ธีรพล คังคะเกตุ Apr 2018

Rees: ปัญหามลพิษที่ถูกมองข้าม?, ธีรพล คังคะเกตุ

Environmental Journal

REEs ย่อมาจาก Rare Earth Elements หากแปลความหมายตรง ๆ คือ ธาตุหายาก REEs เริ่มได้รับความสนใจในระยะสิบกว่าปีที่ผ่านมาเมื่อ Green Technology เริ่มได้รับความสำคัญและได้รับความใส่ใจ เช่น การผลิตไฟฟ้าโดยใช้พลังงานลม หรือรถยนต์พลังงานไฟฟ้า เป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วงที่เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์/การสื่อสารได้รับการพัฒนาอย่างก้าวกระโดด และกลายเป็นส่วนสำคัญในชีวิตประจำวันอย่างขาดหรือหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังจะเห็นว่า ในโลกยุคปัจจุบันไม่มีผู้ไม่ใช้โทรศัพท์มือถือ โดยเฉพาะเมื่อมีการพัฒนาจาก mobile phone เป็น smart phone ซึ่งเข้ามามีบทบาทเกือบจะทุกเรื่องในชีวิตประจำวันของคนเรามากขึ้น เทคโนโลยีเหล่านี้ต้องล้วนต้องพึ่งพา REEs นอกจากนั้น ในอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงก็ดี หรือแม้แต่อุตสาหกรรม/เทคโนโลยีทางการทหารหรือการป้องกันประเทศ ล้วนแต่ต้องพึ่งพา REEs ทั้งสิ้น