Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Psychiatry Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Articles 1 - 4 of 4

Full-Text Articles in Psychiatry

Improving Access To Mental Health Care With Nurse Practitioners, Jessica Whelan Nov 2019

Improving Access To Mental Health Care With Nurse Practitioners, Jessica Whelan

Dissertations

Problem: Over 40% of those with mental illness are untreated since the supply of psychiatrists does not meet the demand. The psychiatric mental health nurse practitioner (PMHNP) may be an adjunct in providing those services. The purpose of this quality assurance study was to evaluate outcomes of care between a PMHNP and a psychiatrist (medical doctor [MD]).

Methods: An observational, descriptive design with a retrospective medical record review of adult patients over a six-month period in a suburban, Midwestern, privately owned psychiatric practice.

Results: A total of 787 individual patients encountered at least one visit (N=787) although 3,679 …


The Development Of Face Morphing Task To Assess Self Other Differentiation, Esen Karan Sep 2019

The Development Of Face Morphing Task To Assess Self Other Differentiation, Esen Karan

Dissertations, Theses, and Capstone Projects

Self-Other Differentiation (SOD) refers to a developmental process of acquiring a consolidated, integrated, and individuated sense of self. SOD develops at a) perceptual (e.g., facial perception) and b) representational (e.g., traits, mental states, and beliefs) levels. Impairments in representational SOD (R-SOD) are associated with many forms of psychopathology, particularly borderline personality disorder (BPD) and narcissistic personality disorder (NPD). Few studies to date have examined the perceptual aspects of SOD (P-SOD), which are hypothesized to develop from infancy onwards in tandem and in interaction with R-SOD. Given that the human face is one of the key characteristics that humans use to …


Impact Of Adverse Childhood Experiences On Mental Health Outcomes And Related Prescription Practices In A Psychiatric Inpatient Sample, Carrie Lemay Aug 2019

Impact Of Adverse Childhood Experiences On Mental Health Outcomes And Related Prescription Practices In A Psychiatric Inpatient Sample, Carrie Lemay

Electronic Theses and Dissertations

A definitive association between adverse childhood experiences (ACEs) and negative physical and mental health outcomes has been established. There is evidence that individuals in forensic psychiatric facilities are disproportionately exposed to ACEs, which may impact severity, prognosis, and age of onset of psychiatric symptoms, including behavioral concerns of institutional aggression, self-harm behaviors, and suicide attempts. Such psychiatric and behavioral concerns are often managed through multiple psychotropic prescriptions, leading to psychotropic polypharmacy. This study evaluated the relationship between ACEs, mental health and behavioral concerns, and psychotropic polypharmacy through analysis of archival data from a forensic inpatient psychiatric facility. A total of …


ความหมายของชีวิตในบุคลากรทางการแพทย์ผู้ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย, สุนทร ลิ่มหลัก Jan 2019

ความหมายของชีวิตในบุคลากรทางการแพทย์ผู้ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย, สุนทร ลิ่มหลัก

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ที่มาและเหตุผล: การมีความหมายของชีวิตเป็นส่วนสำคัญในชีวิตมนุษย์ทุกคนและทุกช่วงวัย การค้นพบความหมายของชีวิตและส่งผลในเชิงบวกต่อสุขภาพกาย สุขภาพจิต และสุขภาวะทางจิตวิญญาณ ที่ผ่านมายังไม่มีการศึกษาความหมายของชีวิตในบุคลากรทางการแพทย์ผู้ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายซึ่งเป็นทีมสุขภาพที่ทำงานใกล้ชิดกับความเป็นความตาย การรับรู้ช่วงสุดท้ายของชีวิตผู้ป่วยอาจเป็นประโยชน์ต่อการรับรู้ความหมายของชีวิต และนำไปสู่วิถีการดำเนินชีวิตที่ดีและความอยู่ดีมีสุข วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความหมายของชีวิตในบุคลากรการแพทย์ผู้ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายและปัจจัยที่มีผลต่อความหมาย และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความหมายของชีวิตกับทัศนคติในการดำเนินชีวิตและการดูแลผู้ป่วย วิธีการศึกษา: การวิจัยเชิงคุณภาพในบุคลากรทางการแพทย์ผู้ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายจำนวน 12 คนโดยเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกส่วนบุคคลและแบบกึ่งโครงสร้าง จากนั้นทำการวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลและหาความสัมพันธ์ของข้อมูล และทำการสังเคราะห์ข้อมูลจนเหลือแต่คุณลักษณะที่มีความหมายร่วมกันมาประกอบกับทฤษฎี ผลการศึกษา: แนวคิด “ความหมายของชีวิต” ในบุคลากรทางการแพทย์ผู้ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายค้นพบทั้งสิ้น 5 แก่น ได้แก่ 1) การก้าวข้ามตัวตน; 2) ความรักและความผูกพัน; 3) การทำหน้าที่และทำสิ่งที่เป็นประโยชน์ให้กับโลก; 4) การชื่นชมและปีติกับความงามของชีวิต และ 5) การมีจุดมุ่งหมายในชีวิต โดยปัจจัยที่ทำให้เกิดความหมายคือประสบการณ์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายและปัจจัยอื่นๆ เฉพาะบุคคล โดยพบว่าการมีความเข้าใจความหมายของชีวิตย่อมส่งเสริมสุขภาพจิตและพฤติกรรมในเชิงบวก ผู้ที่มีความหมายของชีวิตชัดเจนย่อมมีเป้าหมายในชีวิต รู้ความต้องการปลายทางของชีวิต ความหมายของชีวิตมีผลอย่างมากต่อมุมมองชีวิต โลกทัศน์ และวิถีชีวิต สรุปผลการศึกษา: การทำหน้าที่ดูแลผู้ป่วยในช่วงสุดท้ายของชีวิตและการมีโอกาสได้เห็นผู้ที่กำลังจะเสียชีวิต ส่งผลให้เกิดการตระหนักรู้ความหมายของชีวิต ซึ่งมีผลต่อวิถีการดำเนินชีวิต การดูแลสุขภาพกายและใจ รวมถึงมีการดูแลคนรอบข้างและผู้ป่วยที่ดีขึ้น แนวคิดความหมายของชีวิตนี้ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในเวชปฏิบัติด้านการดูแลแบบประคับประคองในการค้นหาความหมายของชีวิตผู้ป่วย หรือด้านจิตเวชในการบำบัดรักษาทางสุขภาพจิตสำหรับผู้ที่ขาดความหมายของชีวิต เป็นกระบวนทัศน์ใหม่ในการดูแลผู้ป่วยอย่างรู้คุณค่าและมีความหมาย และสามารถนำไปใช้ส่งเสริมการมีความหมายของชีวิตในบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขกลุ่มอื่น รวมทั้งยังส่งเสริมคนในสังคมตระหนักรู้ถึงความสำคัญของความหมายแห่งการมีชีวิตอยู่ การมีเครื่องมือไว้จัดการความทุกข์ และช่วยทำให้ชีวิตมีความสุขได้ง่าย ปล่อยวางความเป็นตัวตนได้มากขึ้น และช่วยให้ชีวิตอยู่ในสมดุลและผาสุก