Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Medicine and Health Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Articles 1 - 30 of 192

Full-Text Articles in Medicine and Health Sciences

การใช้เทคนิค การปฏิสนธินอกร่างกายเพื่อตรวจสอบความสามาถในการปฏิสนธิของพ่อพันสุกรพันธุ์, มงคล เตชะกำพุ, วิชัย ทันตศุภารักษ์, วันเพ็ญ อดุลยานุภาพ Dec 1999

การใช้เทคนิค การปฏิสนธินอกร่างกายเพื่อตรวจสอบความสามาถในการปฏิสนธิของพ่อพันสุกรพันธุ์, มงคล เตชะกำพุ, วิชัย ทันตศุภารักษ์, วันเพ็ญ อดุลยานุภาพ

The Thai Journal of Veterinary Medicine

จุดประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อนำวิธีการปฏิสนธินอกร่างกายมาทดสอบความสมบูรณ์พันธุ์ของพ่อ สุกรนำน้ำเชื้อที่รีดจากพ่อสุกรพันธุ์ดูร็อค ลาร์จไวท์ และแลนด์เรซ ที่ใช้อยู่ในฟาร์มสุกรพ่อแม่พันธุ์ จำนวน สายพันธุ์ละ 3 ตัว มาปฏิสนธิกับโอโอไซต์ที่เก็บมาจากรังไข่ของสุกรสาวและนำมาเลี้ยงไว้เพื่อให้พร้อมปฏิสนธิ โดยเลี้ยงรวมกันนาน 18 ชม. ที่อุณหภูมิ 39 °C ในบรรยากาศ 5% คาร์บอนไดออกไซด์ แล้วนำตัวอ่อนที่ได้ไป เลี้ยงในน้ำยาเลี้ยงตัวอ่อนชนิดที่ซีเอ็ม 199 ผสมกับ 20% ฟิตัล คาล์ฟ ซีรั่ม นาน 5 วัน เพื่อตรวจดูการแบ่ง ตัวของตัวอ่อน จากการศึกษาพบว่าพ่อพันธุ์สุกรแต่ละตัวในแต่ละพันธุ์ มีอัตราความสำเร็จในการปฏิสนธิ คือ อัตราการแบ่งตัวและอัตราการพัฒนาของตัวอ่อนเป็นระยะมอรูล่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.001 และ P<0.05 ตามลำดับ) ในกรณีที่ไม่พบความแตกต่างของอัตราการแบ่งตัวในระยะแรกระหว่างพ่อสุกรแต่ละตัว อัตราการพัฒนาเป็นตัวอ่อนระยะมอรูล่าใช้แยกความแตกต่างของคุณภาพน้ำเชื้อได้ ผลการทดลองนี้สรุปได้ว่าสามารถประยุกต์เทคนิคการปฏิสนธินอกร่างกายมาใช้เพื่อทดสอบความสามารถในการปฏิสนธิของพ่อสุกรพันธุ์ได้


Small Intestinal Adenocarcinoma In A Dog: A Case Report, Saroj Chanyapat, Saravuth Konboon, Anudep Rungsipipat, Roongroje Thanawongnuwech Dec 1999

Small Intestinal Adenocarcinoma In A Dog: A Case Report, Saroj Chanyapat, Saravuth Konboon, Anudep Rungsipipat, Roongroje Thanawongnuwech

The Thai Journal of Veterinary Medicine

A9-year-old female Shih Tzu dog was presented with a 3-day history of anorexia, depression, vomiting, and watery diarrhea. The clinical symptoms progressed continuously until the dog died, 3 days after admission. At necropsy numerous white nodules of various sizes were found in the small intestine, particularly the ileum. Microscopically, the mass revealed diffused, infiltrative growth of a well-differentiated adenocarcinoma invading the submucosa and muscular layers of the small intestinal wall. The mass was characterized by an acinar or tubular pattern with mucin in the lumen. The tumor cells were atypical cuboidal pleomorphic columnar epithelial cells with hyperchromatic round medium-sized nuclei …


รายงานสัตว์ป่วย : ภาวะต่อมหมวกไตส่วนนอกทำงานเกินร่วมกับการเกิดเบาหวานและตัววายในสุนัข, ชลลดา บูรณกาล, อนุศักดิ์ กิจถาวรรัตน์, ไพวิภา กมลรัตน์, อัจฉริยา ไศละสูต Dec 1999

รายงานสัตว์ป่วย : ภาวะต่อมหมวกไตส่วนนอกทำงานเกินร่วมกับการเกิดเบาหวานและตัววายในสุนัข, ชลลดา บูรณกาล, อนุศักดิ์ กิจถาวรรัตน์, ไพวิภา กมลรัตน์, อัจฉริยา ไศละสูต

The Thai Journal of Veterinary Medicine

รายงานการเกิดภาวะ Cushing's syndrome ในสุนัขพันธุ์พุดเดิลขนาดเล็ก เพศเมีย อายุ 7 ปี ซึ่งมา รักษาที่โรงพยาบาลสัตว์เล็ก คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากการตรวจพบว่าสุนัขมีช่อง ท้องขยายใหญ่และมีขนร่วง 2 ข้างของลำตัว สุนัขแสดงอาการปัสสาวะและดื่มน้ำมาก จากการตรวจนับเม็ด เลือดพบว่า เม็ดเลือดขาวชนิด lymphocyte และ eosinophil ลดลง การตรวจทางชีวเคมีในเลือดพบเอนไซม์ alanine aminotransferase และ alkaline phosphatase เพิ่มขึ้นร่วมกับการเพิ่มขึ้นของกลูโคส คลอเรสเตอรอล และปริมาณโซเดียม จากการตรวจโดยการเอกซเรย์ช่องท้องพบมีการขยายใหญ่ของตับ การตรวจด้วยอัลตราซาวด์ พบมีการขยายใหญ่ของต่อมหมวกไตทั้ง 2 ข้าง สุนัขได้รับการทดสอบโดยการฉีด dexamethazone ขนาดต่ำและสูงตามลำดับ เพื่อเป็นการทดสอบและแยกภาวะ Cushing syndrome ว่ามีสาเหตุมาจากต่อมใต้ สมองหรือจากต่อมหมวกไตเอง จากผลการทดลองชี้แนะว่าสุนัขเป็น Cushing's syndrome ชนิดที่มีความผิด ปกติของต่อมใต้สมอง (pituitary dependent adrenocorticism) สุนัขเสียชีวิต 1 เดือน ภายหลังจากที่ได้รับการ รักษาที่โรงพยาบาล และได้ทําการชันสูตร ผลจากการตรวจทางจุลพยาธิวิทยา พบว่าต่อมหมวกไตทั้ง 2 ข้าง มีการเจริญขยายใหญ่ขึ้น นอกจากนี้ยังพบพยาธิสภาพที่อวัยวะอื่น ๆ รวมทั้งตับและตับอ่อน ซึ่งพยาธิสภาพ ดังกล่าวพบในสุนัขที่เป็น canine Cushing's syndrome


What Is Your Diagnosis, Pranee Tuntivanich Dec 1999

What Is Your Diagnosis, Pranee Tuntivanich

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


Defence Mechanisms And The Modulation Of Immune Responses In The Bovine Udder, Chaidate Inchaisri Dec 1999

Defence Mechanisms And The Modulation Of Immune Responses In The Bovine Udder, Chaidate Inchaisri

The Thai Journal of Veterinary Medicine

เต้านมอักเสบในโคเป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ โดยสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย การตอบสนองของภูมิคุ้มกันเป็นขบวนการในการป้องกันตนเองที่สำคัญต่อการรุกรานของจุลินทรีย์ที่เข้ามา ในเต้านม โดยทั่วไปกลไกการป้องกันตนเองของเต้านม ประกอบด้วย ลักษณะทางกายวิภาคของเต้านม ระบบภูมิคุ้ม กันชนิดเซลล์ และระบบภูมิคุ้มกันที่ไม่เกี่ยวข้องกับเซลล์โดยตรง ลักษณะรูหัวนม และการรีดนมออกเป็นขบวนการ ป้องกันที่สามารถลดการติดเชื้อที่เต้านม เซลล์แมคโครเฟจ และ นิวโทรฟิลล์สามารถเก็บกินเชื้อที่ก่อโรคในเต้านม นอกจากนั้น ในระบบภูมิคุ้มกันเซลล์แมคโครเฟจยังสามารถหลั่งสารสื่ออักเสบ และ ถ่ายทอดสัญญาณที่เกี่ยวข้องกับ แอนติเจนให้กับเซลล์อื่นๆ ลิมโฟไซด์ ทั้ง บีเซลล์ และ ทีเซลล์ มีบทบาทสำคัญในระบบภูมิคุ้มกันในเต้านมเช่นเดียว กัน ระบบภูมิคุ้มกันที่ไม่เกี่ยวข้องกับเซลล์โดยตรง ได้แก่ แอนติบอดี แลคโตเฟอริน ไลโซไซม์ ระบบคอมพลิเมนท์ และระบบเอนไซม์แลคโตเปอร์ออกซิเดส/ไธโอไซยาเนท/ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ เป็นต้น ระบบป้องกันตนเองของเต้า นมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ในช่วงแรกหลังระยะพักนม และในช่วงคลอดที่มีการกดของระบบภูมิคุ้มกัน ในช่วงเหล่า นี้จึงเป็นช่วงที่มีความไวต่อการติดเชื้อเป็นอย่างมาก ในปัจจุบันการป้องกันเต้านมอักเสบยังไม่มีวิธีใดที่สามารถลดปัญหา นี้ได้ การกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันในเต้านม เช่น โดยการใช้วัคซีน ไซโตคีนส์ โสม หรือ กลูแคน อาจลดปัญหาเหล่านี้


Ultrasound Diagnosis, Phiwipha Kamonrat Dec 1999

Ultrasound Diagnosis, Phiwipha Kamonrat

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


K.M. King Bhumibhol's Vision In Surgical Development, S. Chittmittrapap Dec 1999

K.M. King Bhumibhol's Vision In Surgical Development, S. Chittmittrapap

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Transnasal Endoscopic Ligation Of The Sphenopalatineartery For Posterior Epistaxis: A Preliminary Reportof Another Technique, S. Aeumjaturapat, S. Supanakorn Dec 1999

Transnasal Endoscopic Ligation Of The Sphenopalatineartery For Posterior Epistaxis: A Preliminary Reportof Another Technique, S. Aeumjaturapat, S. Supanakorn

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


การศึกษาความชุกของการเกิดภาวะโลหิตจางที่มีผลมาจากภูมิคุ้มกันในสุนัขในประเทศไทย, รสมา ภู่สุนทรธรรม, คณิศักดิ์ อรวะกุล, สุภัทรา ยงศิริ, ศริยา วิโรจน์รัตน์, สุวิชา จุฑาเทพ, ธีวัฒน์ สว่างจันทร์อุทัย Dec 1999

การศึกษาความชุกของการเกิดภาวะโลหิตจางที่มีผลมาจากภูมิคุ้มกันในสุนัขในประเทศไทย, รสมา ภู่สุนทรธรรม, คณิศักดิ์ อรวะกุล, สุภัทรา ยงศิริ, ศริยา วิโรจน์รัตน์, สุวิชา จุฑาเทพ, ธีวัฒน์ สว่างจันทร์อุทัย

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ทำการศึกษาความชุกของการเกิดภาวะโลหิตจางที่มีผลมาจากภูมิคุ้มกันในสุนัขในประเทศไทยโดยทำการศึกษาย้อนหลังจากค่าโลหิตวิทยาของสุนัขซึ่งมีประวัติแสดงอาการโลหิตจาง และมีค่าเม็ดเลือดแดงอัดแน่น ต่ำกว่าร้อยละ 29 ที่เข้ามารับการรักษา ณ โรงพยาบาลสัตว์เล็ก คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คลินิกและโรงพยาบาล สัตว์เอกชน ในระหว่างเดือนมิถุนายน ถึงกันยายน 2541 จำนวน 55 ตัวและทําการศึกษาไปข้างหน้า ในสุนัขที่สงสัย ภาวะโลหิตจางเนื่องจากภูมิคุ้มกันในระหว่างเดือนตุลาคม ถึงธันวาคม 2541 จำนวน 13 ตัว ผลการศึกษาพบว่าความ ชุกของการเกิดภาวะโลหิตจางที่มีผลมาจากภูมิคุ้มกันในสุนัขกลุ่มที่ 1 เท่ากับ 5.45% เนื่องจากตรวจพบเซลล์เม็ดเลือด Spherocyteและพบการจับกลุ่มของเม็ดเลือดแดงในน้ำเกลือ พันธุ์สุนัขที่ตรวจพบว่ามีภาวะโลหิตจางมากที่สุด คือพันธุ์ผสม 70.90% (40/55) โดยมีอัตราส่วนเพศผู้ต่อเพศเมียเท่ากับ 1.6:1 ช่วงอายุที่พบมากในสุนัขกลุ่มนี้คือ ระหว่าง 2-8 ปี พบ 30.19% (17/55) ส่วนในกลุ่มที่ 2 ทำการศึกษาไปข้างหน้า พบว่าความชุกของการเกิดภาวะโลหิต จางที่มีผลมาจากภูมิคุ้มกันในสุนัขที่ให้ผลบวกต่อการทดสอบด้วยวิธีปาเป็น 76.92% (10/13) พันธุ์ที่พบมากที่สุดคือ สุนัขพันธุ์ผสม 50% (5/10) โดยมีอัตราส่วนเพศผู้ต่อเพศเมียเท่ากับ 1.5.1 สำหรับช่วงอายุที่พบมากในสุนัขกลุ่มนี้คือ 2-8 ปี พบ 80% (8/10) อาการทางคลินิกพบว่า สุนัขทั้งหมด ซึม เบื่ออาหาร เยื่อเมือกซีด อาการที่พบบ่อยที่สุด คือ อ่อนแรง 80% (8/10) ภาวะเกล็ดเลือดต่ำ 80% (6/10) อาเจียน 50% (5/10) มีไข้ 40% (4/10) และหายใจเร็ว 40% (4/10) เมื่อนำสุนัขในกลุ่มที่ 2 นี้จำนวน 5 ตัวมาทำการทดสอบด้วยวิธีคูม ได้ผลบวกจำนวน 2 ตัวบ่งชี้ถึงการเกิดภาวะโลหิตจางเนื่องจากภูมิคุ้มกันในสุนัข


Ecg Ouiz, Chollada Buranakarl, Kris Angkanaporn, Phiwipa Kamonrat Dec 1999

Ecg Ouiz, Chollada Buranakarl, Kris Angkanaporn, Phiwipa Kamonrat

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


ผลของความถี่ในการรีดเก็บน้ำเชื้อต่อคุณภาพน้ำเชื้อสุนัขไทยหลังอาน, เตือนตา ชาญศิลป์, สมชาย โอฬารกนก Dec 1999

ผลของความถี่ในการรีดเก็บน้ำเชื้อต่อคุณภาพน้ำเชื้อสุนัขไทยหลังอาน, เตือนตา ชาญศิลป์, สมชาย โอฬารกนก

The Thai Journal of Veterinary Medicine

สุนัขพ่อพันธุ์ไทยหลังอานอายุ 18- 24 เดือน จำนวน 5 ตัว ถูกรีดเก็บน้ำเชื้อด้วยการกระตุ้นด้วยนิ้วมือรวม 80 ครั้ง โดยการรีดเก็บน้ำเชื้อแบ่งเป็น 4 ช่วงเวลา ๆ ละ 20 ครั้ง คือ รีดเก็บน้ำเชื้อทุกวัน ทุก 2 วัน ทุก 3 วัน และทุก 4 วัน พบว่าช่วงเวลาของความถี่ในการรีดเก็บน้ำเชื้อมีอิทธิพลต่อคุณภาพน้ำเชื้อเกือบทุกลักษณะ (P<0.05) ยกเว้น ปริมาตร การรีดเก็บน้ำเชื้อทุก 2 วัน มีผลทำให้ความเข้มข้นของตัวอสุจิและจำนวนตัวอสุจิ / การหลั่งน้ำเชื้อมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย 0.153 ± 0.221 x 10 ตัว / มล. และ 1884.45 ± 1994.50 x 10 ตัว ตามลำดับ ส่วนความผิดปกติ ของตัวอสุจิและเปอร์เซ็นต์ตัวตายของตัวอสุจิพบน้อยที่สุดที่ช่วงเวลาการรีดเก็บน้ำเชื้อทุก 3 วัน โดยมีค่าเฉลี่ยความผิด ปกติของตัวอสุจิ และเปอร์เซ็นต์ตัวตายของตัวอสุจิเท่ากับ 6.18 ± 2.68 และ 5.20 ± 3.03% ตามลำดับ สำหรับอัตรา การเคลื่อนไหวเฉพาะตัวของตัวอสุจิ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P<0.05) ระหว่างการรีดเก็บทุก 2 วัน และทุก 3 วัน โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 87.75 ± 4.72 และ 87.75 ± 4.13 % ตามลำดับ การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า ช่วงเวลา ของความถี่ในการรีดเก็บน้ำเชื้อมีผลต่อคุณภาพน้ำเชื้อโดยช่วงเวลาที่เหมาะสมของความถี่ในการรีดเก็บน้ำเชื้อสุนัขไทยหลังอานคือ รีดเก็บน้ำเชื้อทุก 2-3 วัน


Acute Pneumonia Associated With Chlamydiapneumoniae Infection: A Case Report, S. Likitnukul, P. Nunthapisud, S. Tumwasorn Dec 1999

Acute Pneumonia Associated With Chlamydiapneumoniae Infection: A Case Report, S. Likitnukul, P. Nunthapisud, S. Tumwasorn

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Gentamicin In Pregnancy, S. Chaithongwongwatthana, W. Sripilak, S. Limpongsanulak Dec 1999

Gentamicin In Pregnancy, S. Chaithongwongwatthana, W. Sripilak, S. Limpongsanulak

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Multimodality Therapy Of Rectal Cancer, N. Voruvud, P. Lertsagnuansinchai, T. Watcharapuk Dec 1999

Multimodality Therapy Of Rectal Cancer, N. Voruvud, P. Lertsagnuansinchai, T. Watcharapuk

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Differentiation Between Acute Renal Allograftrejection And Acute Tubular Necrosis Byrenal Vascular Transit Time, T. Chaiwatanarat, Y. Avihingsanon, S. Sirisalipoch, S. Eiam-Ong, S. Boonvisut, S. Chusil, K. Tungsanga Dec 1999

Differentiation Between Acute Renal Allograftrejection And Acute Tubular Necrosis Byrenal Vascular Transit Time, T. Chaiwatanarat, Y. Avihingsanon, S. Sirisalipoch, S. Eiam-Ong, S. Boonvisut, S. Chusil, K. Tungsanga

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Cost-Effective Analysis Of Screening Tests For Inheritedhemoglobin Disorders In Pregnancies: Setting Atking Chulalongkorn Memorial Hospital, N. Paritpokee, J. Suwansaksri, A. Sritanikorn, V. Wiwanitkit Dec 1999

Cost-Effective Analysis Of Screening Tests For Inheritedhemoglobin Disorders In Pregnancies: Setting Atking Chulalongkorn Memorial Hospital, N. Paritpokee, J. Suwansaksri, A. Sritanikorn, V. Wiwanitkit

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Effects Of Nicardipine And Nicardipine Combinedwith Cilazapril On Cardiovascular Complicationsof Diabetic Rats, W. Udayachalerm, K. Pukdeebumroong, S. Patumraj Nov 1999

Effects Of Nicardipine And Nicardipine Combinedwith Cilazapril On Cardiovascular Complicationsof Diabetic Rats, W. Udayachalerm, K. Pukdeebumroong, S. Patumraj

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Effectiveness Of Conventional Training Program Andmodel Training Program For Thai Medical Students, V. Wiwanitkit, S. Agthong Nov 1999

Effectiveness Of Conventional Training Program Andmodel Training Program For Thai Medical Students, V. Wiwanitkit, S. Agthong

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Development Of Pcr-Elisa For Rapid Detection Ofhaemophilus Influenzae Type B In Seededcerebrospinal Fluid Samples, U. Tansuphasiri, D. Phulsuksombati Nov 1999

Development Of Pcr-Elisa For Rapid Detection Ofhaemophilus Influenzae Type B In Seededcerebrospinal Fluid Samples, U. Tansuphasiri, D. Phulsuksombati

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Ossification Of The Ligamentum Flavum:A Case Report, A. Sookkee, R. Siwanuwatn, C. Suwanwela Nov 1999

Ossification Of The Ligamentum Flavum:A Case Report, A. Sookkee, R. Siwanuwatn, C. Suwanwela

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


New Era Of National Higher Education, N. Kamolvarin Nov 1999

New Era Of National Higher Education, N. Kamolvarin

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Preliminary Report About Development Of Cadaver-Based Media For Venipuncture Training, S. Agthong, V. Wiwanitkit Nov 1999

Preliminary Report About Development Of Cadaver-Based Media For Venipuncture Training, S. Agthong, V. Wiwanitkit

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Liver Disease Unique To Pregnancy, S. Luangjaru, P. Tangkijvanich Nov 1999

Liver Disease Unique To Pregnancy, S. Luangjaru, P. Tangkijvanich

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Gallstone Pancreatitis: An Update, S. Treeprasertsuk, P. Tangkijvanich Nov 1999

Gallstone Pancreatitis: An Update, S. Treeprasertsuk, P. Tangkijvanich

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


New Developments In Management Of Menopause, N. Teachakraichana, K. Panyakhamlerd, S. Chaikittisilpa, K. Limpaphayom Oct 1999

New Developments In Management Of Menopause, N. Teachakraichana, K. Panyakhamlerd, S. Chaikittisilpa, K. Limpaphayom

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Anesthesia For Cesarean Section In A Thyrotoxicosispatient Complicated With Severe Preeclampsia, P. Sriprachittichai, O. Rodanant, R. Migasena Oct 1999

Anesthesia For Cesarean Section In A Thyrotoxicosispatient Complicated With Severe Preeclampsia, P. Sriprachittichai, O. Rodanant, R. Migasena

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Occupational Health Administration And Manager'sexpectation Towards Occupational Physician's Roleamong Corporate Enterprises In Thailand, B. Promdit, S. Ngamkiatphaisan, M. Prapansilp, P. Sithisarankul Oct 1999

Occupational Health Administration And Manager'sexpectation Towards Occupational Physician's Roleamong Corporate Enterprises In Thailand, B. Promdit, S. Ngamkiatphaisan, M. Prapansilp, P. Sithisarankul

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Drug Dependence Treatment By Therapeuticcommunity At Thanyarak Hospital (1986 -1997), V. Verachai, S. Dechongkit, J. Punjawatnun Oct 1999

Drug Dependence Treatment By Therapeuticcommunity At Thanyarak Hospital (1986 -1997), V. Verachai, S. Dechongkit, J. Punjawatnun

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


The Thai Nasality Test For Cleft Palate Patients, N. Pracharitpukdee, S. Manochiopining, S. Lertsarunyapong, P. Sutantawibon Oct 1999

The Thai Nasality Test For Cleft Palate Patients, N. Pracharitpukdee, S. Manochiopining, S. Lertsarunyapong, P. Sutantawibon

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Cytoprotective Agents In Cancer Chemotherapy, N. Voravud, A. Sookprasert Oct 1999

Cytoprotective Agents In Cancer Chemotherapy, N. Voravud, A. Sookprasert

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.