Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Education Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Journal of Education Studies

1989

Articles 1 - 21 of 21

Full-Text Articles in Education

ความถนัดทางดนตรี : มีมาแต่กำเนิดหรือเกิดจากสภาพแวดล้อม, สุชาติ ตันธนะเดชา Jan 1989

ความถนัดทางดนตรี : มีมาแต่กำเนิดหรือเกิดจากสภาพแวดล้อม, สุชาติ ตันธนะเดชา

Journal of Education Studies

No abstract provided.


เปรียบเทียบทางร้องเพลง “แป๊ะ” Variations In The Singing Of Phleeŋ Pé, A Thai Classical Form, อรวรรณ บรรจงศิลป Jan 1989

เปรียบเทียบทางร้องเพลง “แป๊ะ” Variations In The Singing Of Phleeŋ Pé, A Thai Classical Form, อรวรรณ บรรจงศิลป

Journal of Education Studies

งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์ทาง ร้องเพลง “แป๊ะ” (สามชั้น) จากนักร้องเพลง ไทย ๖ ท่าน และเปรียบเทียบวิธีการร้องเพื่อ หาเอกลักษณ์ (Style) การร้องของแต่ละท่าน กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย นักร้องเพลงไทย ๖ ท่าน ซึ่งมีประสบการณ์มากกว่า ๓๐ ปี มีชื่อเสียงแพร่หลาย วิธีดำเนินการวิจัย โดยการสัมภาษณ์และบันทึกเสียงทางร้องเพลงแป๊ะ จากนักร้อง ๖ ท่าน และบันทึกเสียงทำนอง หลักจากฆ้องวงใหญ่ นำทำนองหลักและทาง ร้องมาเขียนเป็นโน้ตสากล และทำเป็น Score ให้ตรงกัน นำ Score ไปวิเคราะห์แนวร้องทั้ง ๖ ทาง และเปรียบเทียบเทคนิควิธีการร้องของนักร้อง ๖ ท่าน ผลงานวิจัยพบว่า มีทางร้องที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนเพียง ๒ ทางคือ ทางร้องของคุณหญิงไพฑูรย์ กิตติวรรณ ซึ่งมาจากตระกูล จางวางทั่วพาทยโกศล และทางร้องของอาจารย์ เจริญใจ สุนทรวาทิน ซึ่งได้รับการถ่ายทอด จากบิดา คือ พระยาเสนาะดุริยางค์ (แช่ม สุนทรวาทิน) ส่วนอีก ๔ ท่าน มีลักษณะของ การผสมผสานจาก ๒ ทางแรก ผลการวิเคราะห์ ด้านเสียงร้องพบว่า คุณหญิงไพฑูรย์ใช้วิธีการ ร้องแบบที่มีมาแต่สมัยโบราณ ซึ่งเป็นการร้อง ประกอบการแสดงละคร คือ ใช้เสียงแหลมสูง เสียงดัง เสียงแข็ง การตกแต่งการเอื้อนหรือ คำร้องมีน้อย การร้องคำร้องต่าง ๆ มุ่งร้องไห้ ตรงกับเสียงหลักมากกว่าการผันเสียงร้องให้ ถูกต้องตามเสียงวรรณยุกต์ ส่วนการร้องของ อาจารย์เจริญใจ สุนทรวาทิน เป็นลักษณะใหม่ ใช้เสียงนุ่มนวลการเอื้อนหรือการร้องคําร้องมี การประดับประดาด้วยเสียงต่าง ๆ มาก มีเสียง หนัก-เบา เน้นความรู้สึกและอารมณ์เพลง ชัดเจนยิ่งขึ้น เน้นการผันเสียงคําร้องตามเสียง วรรณยุกต์ สำหรับนักร้องอีก ๔ ท่าน ลักษณะ เสียงร้องคล้ายคุณหญิง …


ระยะช่วงเสียงที่เหมาะสมของเด็กระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ที่ใช้ในการร้องเพลง The Comfortable Singing Range Of Thai Elementary Children (Grades 1-6), ณรุทธ์ สุทธจิตต์ Jan 1989

ระยะช่วงเสียงที่เหมาะสมของเด็กระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ที่ใช้ในการร้องเพลง The Comfortable Singing Range Of Thai Elementary Children (Grades 1-6), ณรุทธ์ สุทธจิตต์

Journal of Education Studies

วัตถุประสงค์ของการวิจัยคือ การชี้ แสดงระยะช่วงเสียงที่เหมาะสมในการร้องเพลงของเด็กระดับประถมศึกษา และความแตกต่างของระยะช่วงเสียงของเด็กชายและเด็กหญิงใน ระดับประถมปีที่ ๕ และ ๖ การวิจัยใช้วิธีทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นเด็กระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ของ โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่าย ประถม) จํานวน ๑๔๔ คน เป็นชายและหญิง จำนวนเท่ากันคือ ๒๒ คน การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างระดับชั้นละ ๒๔ คน เป็นชายและหญิงจำนวนเท่ากันคือ ๑๒ คน โดยใช้อายุและ ความสามารถในการร้องระดับเสียงต่าง ๆ ได้ด้วยเป็นเกณฑ์การคัดเลือก ในการทดลอง ใช้แบบบันทึกผลการทดลอง ๒ ชุด คือชุด แรกเป็นชุดที่ใช้บันทึกผลการทดลองเป็นรายบุคคลใช้ในขณะทดลอง ชุดที่สองเป็นแบบ บันทึกผลเป็นระดับชั้นโดยแบ่งเป็นชายและ หญิง ซึ่งนำไปใช้ในการสร้างตารางในการ วิเคราะห์ผลการทดลอง ผู้ทำการทดลองเป็นผู้ ช่วยวิจัยจำนวน ๔ คน โดยมีผู้วิจัยคอยให้คำปรึกษาขณะทดลอง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ฐานนิยมเป็นตัวชี้แสดงระยะช่วงเสียงที่เหมาะสมของกลุ่มตัวอย่าง ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าช่วงเสียงที่ เหมาะสมในการร้องเพลงของเด็กในระดับประ ถมศึกษาคือ ระยะช่วงเสียงระหว่าง G, หรือ A-A ระยะช่วงคู่ ๙ หรือ ๘ และระยะช่วง เสียงที่ร้องได้คือ G-C ระยะช่วงคู่ ๑๑ ผลการวิจัยแสดงให้เห็นด้วยว่าช่วงเสียงของเด็กหญิง และเด็กชายในระดับประถมปีที่ ๕ และ ๖ ไม่มีความแตกต่างกัน


ดนตนรีและการขับร้อง, พึงจิตต์ สวามิภักดิ์ Jan 1989

ดนตนรีและการขับร้อง, พึงจิตต์ สวามิภักดิ์

Journal of Education Studies

No abstract provided.


แม่ไม้ดนตรีไทย, สงบศึก ธรรมวิหาร Jan 1989

แม่ไม้ดนตรีไทย, สงบศึก ธรรมวิหาร

Journal of Education Studies

No abstract provided.


แนะนำหนังสือ, ณรุทธ์ สุทธจิตต์ Jan 1989

แนะนำหนังสือ, ณรุทธ์ สุทธจิตต์

Journal of Education Studies

No abstract provided.


บรรณาธิการประจำฉบับแถลง, ณรุทธ์ สุทธจิตต์ Jan 1989

บรรณาธิการประจำฉบับแถลง, ณรุทธ์ สุทธจิตต์

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การส่งเสริมดนตรีไทยสำหรับเด็กและเยาวชน, สมศรี บรรยายกิจ Jan 1989

การส่งเสริมดนตรีไทยสำหรับเด็กและเยาวชน, สมศรี บรรยายกิจ

Journal of Education Studies

No abstract provided.


ดนตรีศึกษา, ณรุทธ์ สุทธจิตต์ Jan 1989

ดนตรีศึกษา, ณรุทธ์ สุทธจิตต์

Journal of Education Studies

No abstract provided.


จะส่งเสริมดนตรีศึกษากันอย่างไร, พิชัย ปรัชญานุสรณ์ Jan 1989

จะส่งเสริมดนตรีศึกษากันอย่างไร, พิชัย ปรัชญานุสรณ์

Journal of Education Studies

No abstract provided.


ดนตรีไทยในอนาคต, ปัญญา รุ่งเรือง Jan 1989

ดนตรีไทยในอนาคต, ปัญญา รุ่งเรือง

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การสอนทฤษฎีดนตรีไทย, ศันสนีย์ จะสุวรรณ์ Jan 1989

การสอนทฤษฎีดนตรีไทย, ศันสนีย์ จะสุวรรณ์

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การทำวงขับร้องประสานเสียงในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา, นงลักษณ์ ประสพสุข Jan 1989

การทำวงขับร้องประสานเสียงในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา, นงลักษณ์ ประสพสุข

Journal of Education Studies

No abstract provided.


ฮังการีแหล่งดนตรีศึกษา, ณรุทธ์ สุทธจิตต์ Jan 1989

ฮังการีแหล่งดนตรีศึกษา, ณรุทธ์ สุทธจิตต์

Journal of Education Studies

No abstract provided.


บรรณาธิการแถลง, โสรีช์ โพธิแก้ว Jan 1989

บรรณาธิการแถลง, โสรีช์ โพธิแก้ว

Journal of Education Studies

No abstract provided.


ดนตรีศึกษา : จากบ้าน วัดและวัง สู่สถาบันอุดมศึกษา, กรรณิการ์ สัจกุล Jan 1989

ดนตรีศึกษา : จากบ้าน วัดและวัง สู่สถาบันอุดมศึกษา, กรรณิการ์ สัจกุล

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การฝึกซ้อมทักษะประจำวัน, ชูชาติ พิทักษากร Jan 1989

การฝึกซ้อมทักษะประจำวัน, ชูชาติ พิทักษากร

Journal of Education Studies

No abstract provided.


ครูดนตรีกับนักดนตรี, อรวรรณ บรรจงศิลป Jan 1989

ครูดนตรีกับนักดนตรี, อรวรรณ บรรจงศิลป

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การสอนทฤษฎีดนตรีสากล, ชูวิทย์ ยุระยง Jan 1989

การสอนทฤษฎีดนตรีสากล, ชูวิทย์ ยุระยง

Journal of Education Studies

No abstract provided.


สัมผัสดนตรีไทยเพื่อสุนทรียรส, พงษ์ลดา ธรรมพิทักษ์กุล (นาควิเชียร) Jan 1989

สัมผัสดนตรีไทยเพื่อสุนทรียรส, พงษ์ลดา ธรรมพิทักษ์กุล (นาควิเชียร)

Journal of Education Studies

No abstract provided.


แนะนำผู้เขียน, N/A Jan 1989

แนะนำผู้เขียน, N/A

Journal of Education Studies

No abstract provided.