Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Social Justice Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

PDF

2019

Discipline
Institution
Keyword
Publication
Publication Type

Articles 31 - 60 of 91

Full-Text Articles in Social Justice

Engaged Scholarship For Environmental Justice: A Guide, Chad Raphael May 2019

Engaged Scholarship For Environmental Justice: A Guide, Chad Raphael

Communication

This guide was written for distribution at the Environmental Justice and the Common Good Conference, hosted by Santa Clara University’s Ignatian Center for Jesuit Education in May 2019. The conference convened representatives from Jesuit and other universities with a broad range of community organizations to strengthen our common understanding and advancement of community-engaged scholarship for environmental justice (EJ). Given its immediate audience, the guide focuses primarily on the U.S. context, although it also discusses the major global causes and impacts of EJ, and how Americans have been inspired by engaged scholars around the world, from whom we have much to …


“Sankofa Past, Present And Future” Immigration Patterns And Contributions Of Immigrants To The U.S Economy, Oluremi Alapo Apr 2019

“Sankofa Past, Present And Future” Immigration Patterns And Contributions Of Immigrants To The U.S Economy, Oluremi Alapo

Publications and Research

Immigrants migrate to the United States for various reasons - legally and illegally. Some for purposes such as education, economic opportunities, political asylum, while others simply choose to migrate for a change of environment. Franzee (2018) discussed some myths and facts about immigrants and the overall impact of their contributions to the United States economy. Historically, the United States experienced major waves of immigration patterns from Africa and its diaspora. The contributions of Africa and its diaspora to the United States economy are often overlooked largely in part by Africans and the African diaspora itself. This research examines the current …


Coalition For Prisoners' Rights Newsletter, Vol 44-A, No. 4, Coalition For Prisoners' Rights Apr 2019

Coalition For Prisoners' Rights Newsletter, Vol 44-A, No. 4, Coalition For Prisoners' Rights

Coalition for Prisoners' Rights Newsletters

Together We Can Do What We Cannot Do Alone

Even More

El Arresto de Julian Assange

Ubiquitous Data Gathering

Challenge to Study

Fatal Shootings


Prisons In The United States: A Need For Reform And Educational Rehabilitation, Amanda Alcox Apr 2019

Prisons In The United States: A Need For Reform And Educational Rehabilitation, Amanda Alcox

Social Justice Student Work

The American criminal justice system holds almost 2.3 million people in 1,719 state prisons, 102 federal prisons, 1,852 juvenile correctional facilities, 3,163 local jails, and 80 Indian Country jails as well as in military prisons, immigration detention facilities, civil commitment centers, state psychiatric hospitals, and prisons in the U.S. territories. The United States has the highest incarceration rate in the world. Ex-convicts express that transitioning back into society, as well as finding employers willing to hire former inmates, is a difficult task. In this capstone, we will look at prison reform from the 1800s-to-today, we will determine which roles retributive …


Associations Between Social Connectedness, Emotional Well-Being, And Self-Rated Health Among Older Adults: Difference By Relationship Status, Ashley Ermer, Christine M. Proulx Apr 2019

Associations Between Social Connectedness, Emotional Well-Being, And Self-Rated Health Among Older Adults: Difference By Relationship Status, Ashley Ermer, Christine M. Proulx

Department of Family Science and Human Development Scholarship and Creative Works

The present study investigates the association between social connectedness (i.e., social network characteristics, family and friend support, and social ties with neighbors), emotional well-being, and self-rated health and whether these associations differ based on respondents’ relationship status among adults aged 62 and older. A series of multigroup generalized structural equation models (GSEMs) were conducted using data from the National Social, Health, and Aging Project. Social connectedness items were mostly positively associated with emotional well-being and self-rated health, and several of these associations are stronger for older adults who are unpartnered versus those who are cohabiting or married. Cohabiting and married …


An Exploration Of How Early Years Managers And Staff Are Responding To The Needs Of Children Experiencing Homelessness, Jacinta Corcoran Apr 2019

An Exploration Of How Early Years Managers And Staff Are Responding To The Needs Of Children Experiencing Homelessness, Jacinta Corcoran

Dissertations

Homelessness in Ireland has increased rapidly over recent years with children and families making up increasing proportions of the numbers recorded whilst single parent families are representing a disproportionate number of families experiencing homelessness. Consequently many early years services are supporting unprecedented numbers of children who are experiencing homelessness to engage and fully participate in early education programmes. The experience of homelessness can permeate many levels and various aspects of a child’s life particularly when historical risks and adversities are to be factored. Within this context this study guided by an ecological framework explores the range of influences on the …


Legacies Of Belle La Follette’S Big Tent Campaigns For Women’S Suffrage, Nancy Unger Apr 2019

Legacies Of Belle La Follette’S Big Tent Campaigns For Women’S Suffrage, Nancy Unger

History

In countless speeches and articles in La Follette’s Magazine, Belle Case La Follette urged that women needed the vote to secure “standards of cleanliness and healthfulness in the municipal home,” and because “home, society, and government are best when men and women keep together intellectually and spiritually.” This range of often mutually exclusive arguments created an inclusive big tent. However, arguing that women were qualified to vote by their roles as wives and mothers while maintaining that gender was superfluous to suffrage also contributed to an uneasy combination that would continue the conflict over women’s true nature and hinder their …


Barren Lands And Barren Bodies In Navajo Nation: Indian Women Warn About Uranium, Genetics, And Sterilization, Marie Bolton, Nancy C. Unger Mar 2019

Barren Lands And Barren Bodies In Navajo Nation: Indian Women Warn About Uranium, Genetics, And Sterilization, Marie Bolton, Nancy C. Unger

History

Founded by Native American women in 1974, "Women of All Red Nations (WARN) insisted that the ongoing Indian public health crisis could not be properly understood exclusively within the context of the exploitation and pollution of the physical environment. It required as well an understanding of the larger context of Indian health issues evolving out of past and present cultural and political changes. This article focuses on selected health, threats affecting the Dine, or "the People," as Navajo Indians call themselves, living in Dine Bikeyah (Navajo Nation) during the mid to late 20th century. Navajo history is marked by …


Coalition For Prisoners' Rights Newsletter, Vol 44-A, No. 3, Coalition For Prisoners' Rights Mar 2019

Coalition For Prisoners' Rights Newsletter, Vol 44-A, No. 3, Coalition For Prisoners' Rights

Coalition for Prisoners' Rights Newsletters

And Still We Rise

Primero

Update on Florida Info Request

Clarification

No surprise: Better Food is Better


Coalition For Prisoners' Rights Newsletter, Vol 44-A, No. 2, Coalition For Prisoners' Rights Feb 2019

Coalition For Prisoners' Rights Newsletter, Vol 44-A, No. 2, Coalition For Prisoners' Rights

Coalition for Prisoners' Rights Newsletters

About Poverty

Commissary Updates

Have More, Get More

Tras Venezuela, EUA Apunta a Cuba en Esfuerzo por Remodelar Latinoamérica

More Grave Injustices of Our Time Continued

Call Out to Florida Prisoners and Loved Ones


Multicultural Teacher Education Matters, Reginald Todd, Jacqueline Smith Feb 2019

Multicultural Teacher Education Matters, Reginald Todd, Jacqueline Smith

The Journal of the Research Association of Minority Professors

This article focuses on the impact the demographic change in the student population in current K-12 classrooms has had on teacher education programs as it pertains to the preparation of culturally responsive preservice teachers. There exists an extensive body of literature that posits that the increase of cultural diversity in our current classrooms should be understood as a call for new teaching approaches that promote multicultural awareness among teacher educators to develop preservice teachers who exhibit culturally responsive teaching practices, behaviors, and attitudes. This comprehensive review of literature explored the current research on multicultural teacher education programs, and more specifically …


The Coming Out Of Memory: The Holocaust, Homosexuality, And Dealing With The Past, Arnaud Kurze Feb 2019

The Coming Out Of Memory: The Holocaust, Homosexuality, And Dealing With The Past, Arnaud Kurze

Department of Justice Studies Faculty Scholarship and Creative Works

This research discusses the challenges of establishing a collective memory for gay victims of the Nazi terror in World War II and examines the introduction of gay victimhood into the public sphere through memorialization efforts. While scholarly accounts on gays and the Holocaust emerged in the 1970s, little is known about the emergence and consolidation of a public narrative on gay persecutions under the Nazis. It raises important questions, including why a public voice for crimes against sexual minorities in World War II emerged only hesitantly? Drawing on historical gay memorialization processes in Germany, the author maps the obstacles for …


The Santa Clara Ethics Scale, Thomas G. Plante, Anna Mccreadie Jan 2019

The Santa Clara Ethics Scale, Thomas G. Plante, Anna Mccreadie

Psychology

Ethics and ethical decision-making are important for well-functioning communities and societies, including college campuses. Yet, there are very few high quality, cost-effective, relevant, and easy-to-use assessment instruments currently available. This paper introduces the new Santa Clara Ethics Scale, a very brief no-cost questionnaire assessing general ethics. The 10-item scale was administered to 200 university students along with several other measures to assess convergent and divergent validity. Information regarding the validity and reliability of the scale along with test utility is presented. Implications for future research and use are discussed as well.


Coalition For Prisoners' Rights Newsletter, Vol 44-A, No. 1, Coalition For Prisoners' Rights Jan 2019

Coalition For Prisoners' Rights Newsletter, Vol 44-A, No. 1, Coalition For Prisoners' Rights

Coalition for Prisoners' Rights Newsletters

Follow The Money

In Memoriam 2018

¿Desde Cuándo el Gobierno de Estados Unidos Comenzó su Hostilidad a la Revolución Cubana?

The Indivisibility of Justice


Exploring Opportunities On A Liberal Arts Campus To Develop Students’ Critical Consciousness: A Qualitative Study, Tanden Lee Brekke Jan 2019

Exploring Opportunities On A Liberal Arts Campus To Develop Students’ Critical Consciousness: A Qualitative Study, Tanden Lee Brekke

All Electronic Theses and Dissertations

This qualitative study explores the critical consciousness development of students enrolled in a liberal arts institution. Two hundred seventy-seven students at Bethel University completed the Critical Consciousness Scale (Diemer, Rapa, Park, & Perry, 2017) and Measure of Adolescent Critical Consciousness (McWhiter & McWhirter, 2016). Based on the results of these two scales, 12 students took part in group interviews. These students identified educational experiences that engaged with the socio-political environment of the campus, created space for expression and exploration of emotions, nurtured identify development, fostered crossing of social boundaries, and created space for students to exercise their voice were key …


Vulnerability And Social Justice, Martha Albertson Fineman Jan 2019

Vulnerability And Social Justice, Martha Albertson Fineman

Faculty Articles

This Article briefly considers the origins of the term social justice and its evolution beside our understandings of human rights and liberalism, which are two other significant justice categories. After this reflection on the contemporary meaning of social justice, I suggest that vulnerability theory, which seeks to replace the rational man of liberal legal thought with the vulnerable subject, should be used to define the contours of the term. Recognition of fundamental, universal, and perpetual human vulnerability reveals the fallacies inherent in the ideals of autonomy, independence, and individual responsibility that have supplanted an appreciation of the social. I suggest …


An Exploration Of Managers’ Perspectives On Their Role In Managing Community Early Years Services : Influences And Insights, Jessica Lee Jan 2019

An Exploration Of Managers’ Perspectives On Their Role In Managing Community Early Years Services : Influences And Insights, Jessica Lee

Dissertations

This exploration into theperspectives of managers of community Early Years services stems from the absence of a requirement of a qualification for supernumerary managers in Early Years services in Ireland and the resulting ambiguity of definedfunctions of such managers and contextually specific requirements. The aim of the study is to gain a deep insight into the perspectives ofthe participants on their roles in leading and managing their services. The objectives are to understand what internal and external factors have shaped their roles, to locate the dichotomies and harmonies between what iscontextuallyrequired of managersand what the true reality of a manager’s …


Sexual Negotiation Skills And Risky Behavior On Sexual Partnerships, Hiv Knowledge, And Risk Perception Among Urban Youth Of Colora Latent Class Analysis, David T. Lardier, Ijeoma Opara, Andriana Herrera, Melissa Henry, Pauline Garcia-Reid, Robert Reid Jan 2019

Sexual Negotiation Skills And Risky Behavior On Sexual Partnerships, Hiv Knowledge, And Risk Perception Among Urban Youth Of Colora Latent Class Analysis, David T. Lardier, Ijeoma Opara, Andriana Herrera, Melissa Henry, Pauline Garcia-Reid, Robert Reid

Department of Family Science and Human Development Scholarship and Creative Works

Adolescents of color in urban communities are at high risk for contracting HIV, unlikely to have access to HIV testing services, or any other form of screening services. Using latent class analysis among a sample of African American/Black (48.1%) and Hispanic/Latina(o) (42%) youth (N = 668; Mage = 16.30; 51% female), this study examined the association cluster group membership, based on sexual negotiation skills and risk behavior, had on HIV knowledge, perception of risk, and the number of sexual partners. Five distinct cluster groups emerged, with significant heterogeneity observed between cluster groups on select dependent variables. A larger proportion of …


The Examination Of Cognitive Empowerment Dimensions On Intrapersonal Psychological Empowerment, Psychological Sense Of Community, And Ethnic Identity Among Urban Youth Of Color, David T. Lardier, Pauline Garcia-Reid, Robert Reid Jan 2019

The Examination Of Cognitive Empowerment Dimensions On Intrapersonal Psychological Empowerment, Psychological Sense Of Community, And Ethnic Identity Among Urban Youth Of Color, David T. Lardier, Pauline Garcia-Reid, Robert Reid

Department of Family Science and Human Development Scholarship and Creative Works

The purpose of this investigation is to examine heterogeneity and membership with subgroups of cognitive empowerment among youth of color. Within this heterogeneity, this study hopes to identify the relationship each of these subgroups of youth have with conceptually related variables including intrapersonal psychological empowerment, psychological sense of community (SOC), and ethnic identity. The participants were 383 urban youth of color in grades 9 through 12. The results showed significant variation between profile groups of youth and the association higher levels of cognitive empowerment have with intrapersonal psychological empowerment, psychological SOC, and ethnic identity; albeit, some variation was present. This …


The Impact Of Widely Publicized Suicides On Search Trends: Using Google Trends To Test The Werther And Papageno Effects, John F. Gunn, Sara Goldstein, David Lester Jan 2019

The Impact Of Widely Publicized Suicides On Search Trends: Using Google Trends To Test The Werther And Papageno Effects, John F. Gunn, Sara Goldstein, David Lester

Department of Family Science and Human Development Scholarship and Creative Works

The objective of this study was to examine the impact of widely publicized suicides on the Werther and Papageno Effects using internet search trends. A list of widely publicized suicides from 2010 through 2018 was compiled along with dates of death for each of these individuals. Google.com/trends data were then collected for searches for “how to suicide” and “suicide prevention” for 14 days prior to a widely publicized suicide/14 days after a widely publicized suicide and 7 days prior to a widely publicized suicide/7 days after a widely publicized suicide. Comparisons were then made between these time periods for “how …


Validation Of The Abbreviated Socio‑Political Control Scale For Youth (Spcs‑Y) Among Urban Girls Of Color, Ijeoma Opara, Elizabeth I. Rivera Rodas, David T. Lardier, Pauline Garcia-Reid, Robert Reid Jan 2019

Validation Of The Abbreviated Socio‑Political Control Scale For Youth (Spcs‑Y) Among Urban Girls Of Color, Ijeoma Opara, Elizabeth I. Rivera Rodas, David T. Lardier, Pauline Garcia-Reid, Robert Reid

Department of Family Science and Human Development Scholarship and Creative Works

This study tested and validated the factor structure of the abbreviated Sociopolitical Control Scale for Youth (SPCS-Y) among a sample of urban girls of color. Participants include (N = 830) urban girls of color from a northeastern United States community. Confirmatory Factor analyses (CFA) were conducted using AMOS Structural Equation Modeling Software. Cluster groups were created using Latent Class Cluster Analysis (LCA) and tested using Multivariate analysis of covariance (MANCOVA) with conceptually related variables. CFA results supported the two-factor structure of the abbreviated SPCS-Y among the sample. Following the creation of cluster groups, MANCOVA analyses revealed significant heterogeneity among cluster …


Youth Cognitive Empowerment: Development And Evaluation Of An Instrument, Paul W. Speer, N. Andrew Peterson, Brian D. Christens, Robert Reid Jan 2019

Youth Cognitive Empowerment: Development And Evaluation Of An Instrument, Paul W. Speer, N. Andrew Peterson, Brian D. Christens, Robert Reid

Department of Family Science and Human Development Scholarship and Creative Works

Psychological empowerment (PE) is a multicomponent construct that involves the mechanisms through which people and groups gain control over their lives and environments. Psychological empowerment has previously been operationalized using measures of sociopolitical control among young people, with findings indicating links between PE and other positive developmental outcomes. Sociopolitical control, however, is only an indicator for the emotional component of PE. Research has largely neglected the cognitive component of PE, particularly in studies of younger people. In fact, few studies to date have presented and empirically tested measurement instruments for the cognitive component of PE among youth. In this study, …


The Rights Of Queer Children, Robyn Linde Jan 2019

The Rights Of Queer Children, Robyn Linde

Faculty Publications

The ratification of the United Nations Convention on the Rights of the Child (crc) has long been hailed as a major event in the realisation of children’s human rights, combining the need for protection with a desire to grant agency through recognition of the evolving capacities of the child. Yet the idea of children’s agency as articulated in the crc excluded sexual identity and expression, and ushered in an incomplete emancipation for lgbtiq children; children who are gender non-conforming; and children whose sexual expression otherwise conflicts with heterosexuality – hereafter queer children. I argue that while the crc granted …


Inclusivity In The Archives: Expanding Undergraduate Pedagogies For Diversity And Inclusion, Amy J. Lueck, Beverlyn Law, Isabella Zhang Jan 2019

Inclusivity In The Archives: Expanding Undergraduate Pedagogies For Diversity And Inclusion, Amy J. Lueck, Beverlyn Law, Isabella Zhang

English

This chapter uses the experience of two undergraduate students conducting research in their university archives to consider the “hidden curriculum” entailed in archival research at some institutions. When diverse identities and experiences are not represented in our archives, we run the risk of communicating a lack of value for those identities, producing a feeling of marginalization and exclusion for some students and foreclosing an opportunity to build solidarity across difference for others. In light of the limited holdings at many university archives and the increased prevalence of archival research in the undergraduate classroom, the authors draw on research from writing …


อาชญากรรมการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์: ศึกษากรณีชาวโรฮีนจาในประเทศเมียนมา, สัณหวรรณ ศรีสด Jan 2019

อาชญากรรมการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์: ศึกษากรณีชาวโรฮีนจาในประเทศเมียนมา, สัณหวรรณ ศรีสด

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

วิทยานิพนธ์ “อาชญากรรมการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์: ศึกษากรณีชาวโรฮีนจาในประเทศเมียนมา” ฉบับนี้ มุ่งศึกษาปัจจัย สถานการณ์ และรูปแบบปฏิสัมพันธ์ของคนกลุ่มต่าง ๆ ที่อาจนำไปสู่อาชญากรรมที่มีลักษณะของอาชญากรรมการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ โดยนำสถานการณ์ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในรัฐยะไข่ ประเทศเมียนมา ในระหว่างปี พ.ศ. 2555 ถึงปี พ.ศ. 2560 มาพิจารณาประกอบกับทฤษฎีการกระทำร่วมกัน หรือ Collective Action Theory ซึ่งเป็นทฤษฎีอาชญาวิทยาที่ถูกสร้างขึ้นเพื่ออธิบายอาชญากรรมการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยเฉพาะ ทั้งนี้ จากผลการศึกษาพบว่าสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่รัฐยะไข่ โดยเฉพาะความรุนแรงที่เกิดแก่ชาวโรฮีนจาในปีพ.ศ. 2559 และ 2560 นั้นมีลักษณะเป็นการประกอบอาชญากรรมการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ตามบทนิยามของอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษอาชญากรรมการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ โดยมีทั้งองค์ประกอบด้านการกระทำและด้านเจตนาพิเศษ เมื่อนำมาปรับเข้ากับทฤษฎีการกระทำร่วมกันพบว่าสถานการณ์ในรัฐยะไข่สนับสนุนทฤษฎีการกระทำร่วมกัน โดยมีองค์ประกอบต่าง ๆ ตามทฤษฎี ได้แก่ องค์ประกอบเกี่ยวกับระบอบการปกครอง มีการรวมกลุ่มสังคม มีการสร้างตัวตนสูง และมีเจตนาร่วมกัน แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ไม่เป็นการหักล้างข้อเท็จจริงที่ว่ายังมีสถานการณ์ที่มีลักษณะเป็นการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์อื่น ๆ ที่เกิดขึ้นแต่พบว่าไม่สอดคล้องกับทฤษฎีการกระทำร่วมกัน และทฤษฎีดังกล่าวยังจำต้องถูกปรับปรุงต่อไป เมื่อพิจารณาถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อการสร้างคตินิยมของบุคคลทั่วไปต่ออัตลักษณ์ชาวโรฮีนจา และปัจจัยที่หล่อหลอมโครงสร้างและสภาวะทางเศรษฐกิจและสังคมในรัฐยะไข่ที่นำไปสู่การลดทอนศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของชาวโรฮีนจาและพัฒนาไปสู่การประกอบอาชญากรรมการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ตามทฤษฏีการกระทำร่วมกันยังพบว่าปัจจัยทางด้านภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ ชาติพันธุ์ ศาสนา รูปแบบการปกครอง การจำกัดสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง และการสร้างความเกลียดชังในพื้นที่ล้วนเป็นองค์ประกอบของปัจจัยข้างต้นที่เอื้อต่อการใช้ความรุนแรงในรัฐยะไข่ทั้งทางตรงและทางอ้อม แนวทางการแก้ไขและป้องกันอาชญากรรมการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในพื้นที่รัฐยะไข่ประเทศเมียนมานั้นคือการกำจัดองค์ประกอบทั้งหลายตามทฤษฎีการกระทำร่วมกันมิให้เกิดขึ้น ทั้งการเร่งกระบวนการเปลี่ยนผ่านการปกครอง การสนับสนุนให้มีการยอมรับความแตกต่างและยุติการเลือกปฏิบัติทั้งในความเป็นจริงและทางกฎหมาย การแก้ปัญหาความไม่เป็นธรรมในทางเศรษฐกิจและสังคม ยุติโครงการใด ๆ ที่เอื้อให้พลเรือนเข้าร่วมการปฏิบัติการทางการทหาร และนำตัวผู้กระทำผิดมาลงโทษ เป็นต้น


“คุกมีไว้ขังคนจน” กับนโยบายการช่วยเหลือคนยากจนในคดีอาญา, กฤตานนท์ มะสะนิง Jan 2019

“คุกมีไว้ขังคนจน” กับนโยบายการช่วยเหลือคนยากจนในคดีอาญา, กฤตานนท์ มะสะนิง

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมาย การให้ความหมาย และอำนาจที่อยู่เบื้องหลังการให้ความหมายเรื่อง “คุกมีไว้ขังคนจน” ผ่านการแพร่กระจายความเชื่อในสังคมไทย รวมทั้งเพื่อศึกษาแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายการช่วยเหลือคนยากจนในคดีอาญาของรัฐต่อการทัดทานความเชื่อเรื่อง “คุกมีไว้ขังคนจน” โดยเป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ที่เก็บข้อมูลด้วยเทคนิคการวิจัยเอกสารและการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับการส่งผ่าน/เผยแพร่ หรือสร้างความเข้าใจเรื่อง “คุกมีไว้ขังคนจน” และกลุ่มผู้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับการกำหนดและขับเคลื่อนนโยบายการช่วยเหลือคนยากจนในคดีอาญา ซึ่งมีข้อค้นพบ ดังนี้ 1) การให้ความหมาย “คุกมีไว้ขังคนจน” จากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญทั้งสองกลุ่มได้สะท้อน 4 ประเด็น ได้แก่ กระบวนการยุติธรรมมีราคาแพง กระบวนการยุติธรรมมีการเลือกปฏิบัติ กระบวนการยุติธรรมมีความซับซ้อน มีแบบแผนพิธีการ และประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรม ในขณะที่กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดและขับเคลื่อนนโยบายการช่วยเหลือคนยากจนในคดีอาญา ได้เพิ่มเติมในประเด็นความยากจนเป็นปัญหาเชิงโครงสร้างของสังคมไทยมาอย่างยาวนาน 2) องค์ประกอบหรืออำนาจที่อยู่เบื้องหลังการให้ความหมาย “คุกมีไว้ขังคนจน” นั้น มี 3 ประเด็น ได้แก่ ความเหลื่อมล้ำทางสังคม การผลิตซ้ำของสื่อ และการเลือกปฏิบัติอย่างไม่เสมอภาค โดยใน 2 ประเด็นแรกนั้น ได้รับการอธิบายจากทั้งสองกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญที่อธิบายตรงกัน มีเพียงประเด็นสุดท้ายที่อธิบายจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการส่งผ่าน/เผยแพร่ หรือสร้างความเข้าใจเรื่อง “คุกมีไว้ขังคนจน” เพียงกลุ่มเดียว 3) การรับรู้หรือได้ยินเรื่อง “คุกมีไว้ขังคนจน” ไม่ใช่เป็นเรื่องใหม่ในสังคมไทย และถือเป็นเรื่องที่ปรากฏให้เห็นอยู่ตลอดเวลา ซึ่งแม้ว่าการรับรู้หรือได้ยินของผู้ให้ข้อมูลสำคัญทั้งสองกลุ่มนั้นได้แตกต่างกันไปตามแต่ละบริบท แต่จุดร่วมประการหนึ่งที่สำคัญของการรับรู้หรือได้ยินเรื่อง “คุกมีไว้ขังคนจน” คือ ได้ยินมานานและรับรู้มาอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับการส่งผ่านจาก 3 กลุ่มหลัก ๆ ได้แก่ ส่งผ่านจากเหยื่อของกระบวนการยุติธรรม จากสื่อมวลชน และจากข้อมูลจากหน่วยงานรัฐ 4) ความเชื่อของกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญที่มีต่อประเด็นเรื่อง “คุกมีไว้ขังคนจน” สามารถจำแนกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่เชื่อ กลุ่มที่ไม่เชื่อ และกลุ่มที่ยังลังเล และ 5) แนวทางการขับเคลื่อนนโยบายการช่วยเหลือคนยากจนในคดีอาญาของรัฐต่อการทัดทานความเชื่อเรื่อง “คุกมีไว้ขังคนจน” จะประกอบไปด้วยการขับเคลื่อนกองทุนยุติธรรมตามพระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ. 2558 การปล่อยตัวชั่วคราวแบบไม่มีประกันที่เป็นไปตามข้อบังคับประธานศาลฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการเรียกประกัน หรือหลักประกันในการปล่อยตัวชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำเลยในคดีอาญา ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562 และพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 …


เพศต้องห้าม: การวิเคราะห์ในเชิงอาชญาวิทยาและวิพากษ์โดยใช้ทฤษฎีเควียร์ถึงความรุนแรงในครอบครัวต่อทายาทชายที่มีความหลากหลายทางเพศ (Lgbtq) ในสังคมไทย, ณรงค์ศักดิ์ กล้าปราบโจร Jan 2019

เพศต้องห้าม: การวิเคราะห์ในเชิงอาชญาวิทยาและวิพากษ์โดยใช้ทฤษฎีเควียร์ถึงความรุนแรงในครอบครัวต่อทายาทชายที่มีความหลากหลายทางเพศ (Lgbtq) ในสังคมไทย, ณรงค์ศักดิ์ กล้าปราบโจร

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยดังกล่าวเป็นการศึกษาถึงปัญหาความรุนแรงในครอบครัวของสังคมไทยต่อทายาทชายที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTQ) ซึ่งมีรูปแบบของสาเหตุความรุนแรงที่มี “ลักษณะพิเศษ” เนื่องจากการใช้ความรุนแรงต่อทายาทชายที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTQ) นั้นล้วนเกิดจากการมลทินประทับ (Stigmatization) ว่าบุคคลที่มีอัตลักษณ์ทางเพศที่แตกต่างจากบรรทัดฐานทางสังคมนั้นเป็นสิ่งที่ “ผิดปกติ” และ “น่าอับอาย” จึงส่งผลให้พ่อและแม่เลือกวิธีการใช้ความรุนแรงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเบี่ยงเบน (Deviant Behavior) ของทายาทให้กลับสู่ความเป็น “ปกติ” ตามบรรทัดฐานของสังคมที่ได้กำหนดไว้ จากการศึกษาวิจัย พบว่า สาเหตุของการใช้ความรุนแรงในครอบครัวต่อทายาทเพศต้องห้าม (LGBTQ) ของสังคมไทย ล้วนเกิดจากการมลทินประทับ (Stigmatization) ของสมาชิกในครอบครัว ว่าเป็นสิ่งที่ “แตกต่าง” ไปจากบรรทัดฐานทางสังคมโดยทั้งสิ้น ซึ่งการมลทินประทับต่อเพศสภาพที่หลากหลาย (LGBTQ) ของครอบครัวในสังคมไทยสามารถจำแนกได้ 4 รูปแบบ ดังนี้ 1) การมลทินประทับบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTQ) ว่าเป็นผู้ที่มีความ “ผิดปกติ” “วิปริต” หรือเป็นความบกพร่องทางจิตรูปแบบหนึ่ง 2) การมลทินประทับว่าการมีทายาทชายที่เป็นบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTQ) เป็นการบ่อนทำลายภาพลักษณ์ของครอบครัว 3) การมลทินประทับว่าทายาทชายที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTQ) ไม่สามารถสืบต่อสกุล / วงศ์ตระกูลได้ 4) การมลทินประทับว่าอนาคตของทายาทชายที่เป็นบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTQ) จะต้องเผชิญกับความล้มเหลวในชีวิต ซึ่งจากการวิพากษ์โดยทฤษฎีเควียร์ (Queer Theory) ต่อการมลทินประทับของครอบครัวไทยต่อทายาทชายที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTQ) ทั้ง 4 รูปแบบ ก็ถือว่าเป็นการยืนยันถึงการ ”ดำรงอยู่” ของบรรทัดฐานทางสังคมแบบกลุ่มคนรักเพศตรงข้าม (Heteronormativity) ว่ายังคงมีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตของคนในสังคมไทยอยู่ ทั้งนี้ แนวทางการยุติความรุนแรงความรุนแรงในครอบครัวต่อทายาทเป็นผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTQ) มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องได้รับความร่วมมือจากครอบครัว ชุมชน และภาครัฐในการแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว ควบคู่ไปกับการรื้อถอนการประกอบสร้างทางสังคม (Deconstruction) ว่าด้วยเรื่องของไม่เท่าเทียมทางเพศที่เกิดขึ้นในบริบทของสังคมไทย เพื่อธำรงไว้ซึ่งความเสมอภาคกันทางเพศ ตลอดจนการเคารพสิทธิและเสรีภาพในการเป็น “มนุษย์” คนหนึ่ง


เส้นทางชีวิตของนักโทษหญิงที่กระทำผิดซ้ำคดียาเสพติด, ตฤณห์ โพธิ์รักษา Jan 2019

เส้นทางชีวิตของนักโทษหญิงที่กระทำผิดซ้ำคดียาเสพติด, ตฤณห์ โพธิ์รักษา

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยเรื่อง เส้นทางชีวิตการกระทำผิดของผู้ต้องขังหญิงที่กระทำผิดซ้ำในคดียาเสพติด เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เก็บข้อมูลจากผู้ต้องขังหญิงจำนวน 7 คน จากทัณฑสถานหญิงกลาง กรุงเทพมหานคร การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเส้นทางชีวิตการกระทำผิดของผู้ต้องขังหญิงที่กระทำผิดซ้ำในคดียาเสพติด โดยก่อคดีตั้งแต่ครั้งยังเป็นเด็กและเยาวชน และเพื่อศึกษามูลเหตุจูงใจของการก่ออาชญากรรมของผู้ต้องขังหญิงที่กระทำผิดซ้ำในคดียาเสพติด โดยก่อคดีตั้งแต่ครั้งยังเป็นเด็กและเยาวชน จากนั้นจะเป็นการศึกษาเพื่อสร้างแนวทางในการป้องกันการกระทำผิดของเด็ก เยาวชนและผู้หญิง ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการกระทำผิดซ้ำของผู้ต้องขังหญิงในคดีเกี่ยวกับยาเสพติด โดยก่อคดีแรกครั้งยังเป็นเด็กและ เยาวชน มีมูลเหตุจูงใจมาจากปัจจัยด้านอายุ ครอบครัว กลุ่มเพื่อนในขณะที่เริ่มเสพยาเสพติด สภาพจิตใจ สภาพสังคม การศึกษา การติดยาและการบำบัด และสภาพเศรษฐกิจ โดยเรียงลำดับจากมูลเหตุจูงใจที่เกี่ยวข้องจากมากไปน้อยตามลำดับ มูลเหตุจูงใจด้านอายุที่เริ่มเสพยาเสพติด ผลการศึกษาพบว่า ยิ่งกรณีมีการเริ่มใช้ยาเสพติดอายุน้อยเท่าใดก็จะมีโอกาสเสพติดต่อเนื่องไปยาวนานเท่านั้น ซึ่งกรณีศึกษาทุกรายไม่ได้เข้ารับการบำบัดให้เลิกเสพอย่างเด็ดขาดตั้งแต่ครั้งแรก ส่งผลให้เมื่อพ้นโทษ จึงกลับมาเสพ และกระทำผิดซ้ำ มูลเหตุจูงใจรองลงมาได้แก่ครอบครัว การขาดการดูแลเอาใจใส่ และไม่มีความผูกพันกับครอบครัว ส่งผลให้กรณีศึกษา เข้าสู่วงจรยาเสพติดได้ง่าย ไม่มีสมาชิกในครอบครัวคอยสอดส่องดูแล หรือห้ามปราม ถัดมาคือกลุ่มเพื่อน ซึ่งพบว่า เป็นมูลเหตุจูงใจที่มีอิทธิพลมากที่สุด ในการชักชวนให้กรณีศึกษาเริ่มลองยาเสพติด มูลเหตุจูงใจถัดมา ได้แก่สภาพจิตใจของกรณีศึกษา จากการศึกษาพบว่า กรณีศึกษามักมีปัญหาทางด้านครอบครัวเป็นจุดเริ่มต้น ตัวอย่างเช่น ความไม่พอใจ ที่บิดาของตนมีภรรยาใหม่ จึงแสดงความก้าวร้าวและก่อปัญหา หรือ การที่กรณีศึกษาเคยโดนลวนลามทางเพศโดยญาติผู้ใหญ่ที่อาศัยอยู่ภายในบ้านเดียวกัน ปัญหาเหล่านี้ส่งผลร้ายต่อสภาพจิตใจอย่างมาก และเมื่อไม่สามารถพึ่งพิงคนในครอบครัวได้ การหันหน้าไปหาเพื่อนที่มีปัญหาเหมือนกัน หรือ หันมาใช้ยาเสพติดช่วยให้ผ่านช่วงเวลาเลวร้ายไปในแต่ละวัน จึงทางออกสำหรับกรณีศึกษา และมูลเหตุจูงใจอื่น ๆ ที่มีอิทธิพลต่อการกระทำผิดซ้ำได้แก่ สภาพสังคม การศึกษา การติดยาและการบำบัด และสภาพเศรษฐกิจ ตามลำดับ ข้อเสนอแนะของการวิจัยพบว่าแนวทางในการป้องกันการกระทำผิดของเด็ก เยาวชนและผู้หญิง ได้แก่ การบำบัดให้หายขาดตั้งแต่ครั้งแรกของการเสพยาเสพติด รวมถึงการทบทวนการลงโทษแบบเดิม ร่วมกับการปรับใช้ให้สอดคล้องกับข้อกำหนดกรุงเทพฯ (Bangkok Rules) และการร่วมมือกันของทุกภาคส่วนทั้งรัฐบาล เอกชน และชุมชนเอง ช่วยกันสอดส่องดูแล เฝ้าระวังพฤติกรรมของเด็กในชุมชน พร้อมทั้งให้ความรู้ถึงโทษของยาเสพติด มีการฝึกงานอาชีพที่เป็นที่ต้องการของตลาด มีการพบปะเยี่ยมเยียนสมาชิกในชุมชนจากผู้นำของชุมชนเป็นประจำ และให้โอกาสกลับคืนสู่สังคมสำหรับสมาชิกที่ผิดพลาด เพื่อป้องกันปัญหาการกระทำผิดซ้ำอย่างถาวร


การศึกษามาตรการความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ต่อสถาบันการเงิน, ปรมัตถ์ ไวรักษ์ Jan 2019

การศึกษามาตรการความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ต่อสถาบันการเงิน, ปรมัตถ์ ไวรักษ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของธนาคารกลางของไทยในการกำกับดูแลสถาบันการเงินต่อการบังคับใช้มาตรการความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์และศึกษาถึงแนวทางการสร้างความร่วมมือระหว่างกลุ่มสถาบันการเงิน โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลด้วยเทคนิคการวิจัยเอกสารร่วมกับการสัมภาษณ์เชิงลึก จากกลุ่มตัวอย่าง 3 กลุ่ม แบ่งเป็น ผู้ปฏิบัติงานในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศกลุ่มสถาบันการเงิน ผู้ปฏิบัติงานจากสายงานกระบวนการยุติธรรมหรือสายกฎหมาย และผู้เชี่ยวชาญอิสระด้านการจัดการความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ ผลการศึกษา พบว่า 1) บทบาทที่สำคัญของธนาคารกลางของไทย คือ การวางกรอบแนวทางการรับมือภัยคุกคามไซเบอร์ โดยมีการกำหนดเป็นมาตรการและนโยบายต่าง ๆ ร่วมกับการตรวจสอบกำกับดูแล และการเผยแพร่ความรู้ให้แก่ภาคประชาชน 2) ธนาคารกลางของไทยมีการสร้างความร่วมมือกับกลุ่มสถาบันการเงินและองค์กรอื่น ๆ ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ เพื่อแบ่งปันข้อมูลข่าวสารด้านภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่เกิดขึ้น ซึ่งจะก่อให้เกิดทักษะความรู้ใหม่ ๆ ในการร่วมมือกันแก้ปัญหาภัยคุกคามไซเบอร์ ข้อเสนอแนะจากการศึกษานี้สามารถแบ่งได้เป็น 2 ด้าน คือ ด้านการปฏิบัติการ สถาบันการเงินควรมีการฝึกซ้อมรับมือภัยคุกคามทางไซเบอร์ ไปพร้อมกับการสร้างความตระหนักรู้ให้แก่ภาคประชาชนในเชิงรุก รวมทั้งสร้างเครือข่ายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในภาคการเงิน ด้านการออกนโยบาย เสนอให้เพิ่มบทลงโทษสถาบันการเงินจากการไม่ปฏิบัติตามมาตรการที่บังคับใช้ และเสนอให้มีการสร้างความร่วมมือกับภาครัฐปรับหลักสูตรการเรียนการสอนให้มีบทเรียนเกี่ยวกับภัยคุกคามไซเบอร์และมาตรการความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์


แนวทางการพัฒนาระบบฐานข้อมูลการขึ้นทะเบียนผู้กระทําผิดทางเพศ และการแจ้งเตือนต่อสาธารณชนของสํานักงานตํารวจแห่งชาติ, นพรัตน์ บุญถนอม Jan 2019

แนวทางการพัฒนาระบบฐานข้อมูลการขึ้นทะเบียนผู้กระทําผิดทางเพศ และการแจ้งเตือนต่อสาธารณชนของสํานักงานตํารวจแห่งชาติ, นพรัตน์ บุญถนอม

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษาเรื่อง แนวทางการพัฒนาระบบฐานข้อมูลการขึ้นทะเบียนผู้กระทำผิดทางเพศและการแจ้งเตือนต่อสาธารณชนของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหา สาเหตุ และลักษณะเฉพาะของการกระทำผิดทางเพศ รวมถึงมาตรการป้องกันปราบปรามการกระทำผิดทางเพศที่มีอยู่ในปัจจุบัน ศึกษาหลักการ แนวคิด รูปแบบ และวิธีการนำระบบขึ้นทะเบียนผู้กระทำผิดทางเพศและการแจ้งเตือนต่อสาธารณชนมาใช้ในการป้องกันและปราบปรามการกระทำผิดทางเพศ ที่ได้ดุลยภาพระหว่างการป้องกันปราบปรามอาชญากรรมกับสิทธิเสรีภาพของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อให้ทราบแนวทางในการที่จะนำ “การขึ้นทะเบียนผู้กระทำผิดทางเพศและการแจ้งเตือนต่อสาธารณชน” มาใช้พัฒนาฐานข้อมูลการกระทำผิดทางเพศในกระบวนการยุติธรรมของไทยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการค้นคว้าเอกสารวิชาการ กฎหมาย และระเบียบต่างๆ ประกอบกับการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่ม เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลและหาแนวทางสรุป ผลการวิจัยพบว่า การกระทำผิดทางเพศเป็นพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศ เกิดขึ้นจากความผิดปกติทางจิตใจ หากไม่ได้รับการรักษาหรือดำเนินการอย่างเหมาะสม จะทำให้มีความเสี่ยงที่จะกระทำผิดทางเพศซ้ำเมื่อกลับเข้ามาสู่สังคมได้ ซึ่งในต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ประเทศฝรั่งเศส และอีก 27 ประเทศ มีระบบการขึ้นทะเบียนผู้กระทำผิดทางเพศและการแจ้งเตือนต่อสาธารณชน เป็นมาตรการหนึ่งในการดำเนินการกับผู้กระทำผิดทางเพศเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการกระทำผิดทางเพศซ้ำ แต่ประเทศไทยยังไม่มีมาตรการดังกล่าว ดังนั้น ผู้วิจัยเห็นว่าประเทศไทยควรตรากฎหมายในการขึ้นทะเบียนผู้กระทำผิดทางเพศและการแจ้งเตือนต่อสาธารณชนขึ้นเพื่อให้การป้องกันปราบปรามการกระทำผิดทางเพศในประเทศไทยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยกำหนดให้กองทะเบียนประวัติอาชญากร สำนักงานตำรวจแห่งชาติเป็นหน่วยงานในการจัดเก็บและบริหารข้อมูล มีการบูรณาการข้อมูลผู้กระทำผิดทางเพศกับฐานข้อมูลทะเบียนประวัติอาชญากรเดิม แบ่งประเภทผู้กระทำผิดทางเพศตามความรุนแรงของการกระทำผิด และกำหนดระยะเวลาการขึ้นทะเบียน 5 ปี 15 ปี และ 25 ปี ตามลำดับ สำหรับการเปิดเผยข้อมูล ผู้วิจัยกำหนดให้มีการเปิดเผยข้อมูลผู้กระทำผิดทางเพศที่มีความรุนแรงและกระทำต่อเหยื่อที่เป็นเด็กเท่านั้น เพื่อรักษาดุลยภาพของความปลอดภัยของสมาชิกในสังคมโดยรวมและสิทธิ เสรีภาพของผู้กระทำผิดทางเพศ โดยผู้วิจัยได้กำหนดให้มี การจำกัดถิ่นที่อยู่ การจำกัดอาชีพ และการควบคุมการเดินทางระหว่างประเทศด้วย อันเป็นการเพิ่มความปลอดภัยในสังคม และประสิทธิภาพการป้องกันการกระทำผิดทางเพศ