Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Social Justice Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Sociology

PDF

2022

Institution
Keyword
Publication
Publication Type

Articles 211 - 236 of 236

Full-Text Articles in Social Justice

Deep Roots In Eroding Soil: Building Decolonial Resilience Amidst Climate Violence And Displacement In A Louisiana Bayou Indigenous Community, Lia Mcgrath Kahan Jan 2022

Deep Roots In Eroding Soil: Building Decolonial Resilience Amidst Climate Violence And Displacement In A Louisiana Bayou Indigenous Community, Lia Mcgrath Kahan

Senior Independent Study Theses

The Pointe-au-Chien Indigenous community of coastal Louisiana is fighting for survival as climate change and socio-political factors threaten to displace them from their ancestral home. This project takes an ethnographic and historical approach to exploring how colonization and climate change have influenced Pointe-au-Chien tribal members’ ability to stay on their ancestral land. Climate projections estimate that the bayou this community has lived alongside of for generations will soon be unrecognizable, leading to potential displacement and devastating cultural loss. Due to the increasing severity of climate change, it is crucial to look to the experiences of frontline Indigenous communities to support …


Interpretative Phenomenological Analysis: Exploring The Lived Experiences Of African-American City/County Managers And The Impact Of Mentoring On The Profession, Johnny Mays Jan 2022

Interpretative Phenomenological Analysis: Exploring The Lived Experiences Of African-American City/County Managers And The Impact Of Mentoring On The Profession, Johnny Mays

West Chester University Doctoral Projects

ABSTRACT

Interpretative Phenomenological Analysis: Exploring the Lived Experiences of African-American City/County Managers and the Impact of Mentoring on the Profession

Literature regarding African-American City/County manager's experiences in local governments is limited, and any available resources primarily focus on the profession. An interpretative phenomenological analysis was used to explore the experiences of African-American city/county managers from their viewpoints. Grounded in Critical Race Theory, this investigative research attempted to shed light on the lived experiences of Black City/County managers pursuing their professional goals to lead a municipal organization. The study also aimed to understand the impact mentoring has on the profession.

Data …


Archiving Feminist Truth In Trump’S Wake Of Lies, Julie Shayne Jan 2022

Archiving Feminist Truth In Trump’S Wake Of Lies, Julie Shayne

Humboldt Journal of Social Relations

This article is about an assignment I do in one of my Gender, Women, and Sexuality Studies social movement classes. I revised the assignment the first time teaching the class after Trump lost the 2020 election. For the assignment, students work in groups to research local feminist and gender justice organizations and deposit all of their original materials – recordings, photos, flyers, etc. – into a digital, open access archive I co-created several years ago with librarians and staff on my campus. In 2021 I had my students do the “post-Trump” edition where they researched local organizations about how their …


Urban Pastures: A Computational Approach To Identify The Barriers Of Segregation, Noah Gans Jan 2022

Urban Pastures: A Computational Approach To Identify The Barriers Of Segregation, Noah Gans

Honors Projects

Urban Sociology is concerned with identifying the relationship between the built environment and the organization of residents. In recent years, computational methods have offered new techniques to measure segregation, including using road networks to measure marginalized communities' institutional and social isolation. This paper contributes to existing computational and urban inequality scholarship by exploring how the ease of mobility along city roads determines community barriers in Atlanta, GA. I use graph partitioning to separate Atlanta’s road network into isolated chunks of intersections and residential roads, which I call urban pastures. Urban pastures are social communities contained to residential road networks because …


แนวทางการกำกับดูแลการรับมือภัยคุกคามความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ขององค์กรในยุคดิจิทัล, ชรินทร์ทิพย์ ปั้นสุวรรณ Jan 2022

แนวทางการกำกับดูแลการรับมือภัยคุกคามความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ขององค์กรในยุคดิจิทัล, ชรินทร์ทิพย์ ปั้นสุวรรณ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์ภัยคุกคามไซเบอร์หน่วยงานโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญทางสารสนเทศด้านสาธารณสุขและสาธารณูปโภค 2) ศึกษาโครงสร้างการกำกับดูแล การขับเคลื่อนการบังคับใช้นโยบายและมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ในการบริหารจัดการความเสี่ยง เพื่อสร้างความตระหนักและเฝ้าระวังภัยคุกคามความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ และ 3) ศึกษาแนวทางการเตรียมแผนการรับมือภัยคุกคามความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์และการกำกับดูแลการบริหารจัดการที่ดีด้านเทคโนโลยีดิจิทัลในองค์กร เพื่อลดความเสี่ยงและป้องกันภัยคุกคามทางไซเบอร์ในอนาคต การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการศึกษาจากเอกสารและการวิจัยภาคสนามโดยการเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญที่เป็นผู้ปฏิบัติงานระดับผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ รวมทั้งสิ้นจำนวน 22 คน เพื่ออธิบายถึงลักษณะภัยคุกคามทางไซเบอร์ตลอดจนการกำกับดูแลและรับมือภัยคุกคามทางไซเบอร์ขององค์กร ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัญหาภัยคุกคามทางไซเบอร์หน่วยงานโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญทางสารสนเทศทั้งในประเทศและต่างประเทศที่กำลังทวีความรุนแรงมากขึ้น ได้แก่ โรงพยาบาล การไฟฟ้า และการประปา ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยและการให้บริการด้านสาธารณสุข ด้านสาธารณูปโภคที่สำคัญของประเทศ รวมไปถึงภาคการเงินการธนาคารและหน่วยงานด้านยุติธรรม 2) หลายหน่วยงานมีความตระหนักรู้ในการริเริ่มจัดทำนโยบาย แนวทางปฏิบัติและจัดลำดับความสำคัญในการบริหารจัดการความเสี่ยง รวมถึงการประเมินความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่องค์กรยอมรับได้ 3) หน่วยงานภาครัฐมีแนวทางที่เหมาะสมในการดำเนินงาน เพื่อลดแรงเสียดทานและความเสี่ยงต่างๆให้น้อยที่สุด อย่างไรก็ตาม ภาครัฐควรให้ความสำคัญและควรปรับปรุงกฎหมายไซเบอร์ให้มีการบังคับใช้และบทลงโทษที่ชัดเจน ด้วยการใช้มาตรการทางกฎหมายอาจไม่ใช่แค่เพื่อแก้ปัญหาด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์เท่านั้น แต่ยังเสริมสร้างความตระหนักรู้และพัฒนาสิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสารในกระบวนการธรรมรัฐไทย


เส้นทางชีวิตของผู้ต้องขังที่กระทำผิดต่อเนื่องในคดีข่มขืนกระทำชำเรา, ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง Jan 2022

เส้นทางชีวิตของผู้ต้องขังที่กระทำผิดต่อเนื่องในคดีข่มขืนกระทำชำเรา, ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจวิถีชีวิต ปัจจัยเสี่ยง แนวทางป้องกันและแก้ไขการกระทำผิดต่อเนื่องในคดีข่มขืนกระทำชำเรา โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพแบบเล่าเรื่องและใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกรายบุคคลผ่านผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 3 แหล่ง ได้แก่ ผู้ต้องขังที่กระทำผิดต่อเนื่องในคดีข่มขืนกระทำชำเรา จำนวน 3 ราย ผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ต้องขังที่กระทำผิดต่อเนื่องในคดีข่มขืนกระทำชำเรา 6 ราย และผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับผู้กระทำผิดในคดีข่มขืนกระทำชำเราต่อเนื่อง จำนวน 15 ราย จากนั้นจึงใช้วิธีการวิเคราะห์แก่นสาระจากเรื่องเล่าโดยใช้โปรแกรมช่วยวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ATLAS.ti version 22 ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. วิถีชีวิตของผู้กระทำผิดต่อเนื่องในคดีข่มขืนกระทำชำเรามีลักษณะที่เป็นปัจเจก และผ่านเหตุการณ์ในแต่ละช่วงวัยที่ทำให้เกิดความเปราะบางทางบุคลิกภาพ ได้แก่ การเผชิญกับเหตุการณ์เลวร้ายในวัยเด็ก การหลุดออกจากระบบการศึกษา ข้อจำกัดด้านทางเลือกในการประกอบอาชีพ ปัญหาการสร้างสัมพันธภาพทางสังคม และผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางสังคมจนเกิดพฤติกรรมการข่มขืนต่อเนื่อง 2. ปัจจัยเสี่ยงที่นำไปสู่พฤติกรรมข่มขืนกระทำชำเราต่อเนื่องแบ่งเป็นสองส่วน ได้แก่ ปัจจัยภายใน (แรงกดดันที่นำไปสู่การข่มขืนกระทำชำเรา การขาดความผูกพันทางสังคม ความคิดที่ส่งเสริมการข่มขืนกระทำชำเรา การพัฒนาวิถีชีวิตแบบต่อต้านสังคม ความสนใจทางเพศที่ผิดปกติ และความผิดปกติทางบุคลิกภาพ) และปัจจัยภายนอก (โอกาสที่เอื้อต่อการข่มขืนกระทำชำเรา การดื่มสุราและเสพสารเสพติด การคบค้าสมาคมที่แตกต่างและพฤติกรรมข่มขืนกระทำชำเรา สื่อลามกและสื่อที่มีเนื้อหากระตุ้นเรื่องเพศ ค่านิยมที่เอื้อต่อการข่มขืนกระทำชำเรา) 3. การป้องกันพฤติกรรมข่มขืนกระทำชำเราต่อเนื่องจำเป็นต้องเริ่มจากการลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมภายในครอบครัว การสร้างและทำให้เด็กคงอยู่ในระบบการศึกษาที่ปลอดภัย การสร้างระบบป้องกันปัญหาสุขภาพจิตและความผิดปกติทางบุคลิกภาพ การให้ความสำคัญกับกระบวนการกลับสู่สังคมสำหรับผู้กระทำผิดที่พ้นโทษ การสร้างความตระหนักทางสังคมเพื่อลดความเสี่ยงต่อการกระทำผิดและการตกเป็นเหยื่อ และการเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการยุติธรรม ส่วนแนวทางการแก้ไขพฤติกรรมข่มขืนกระทำชำเราต่อเนื่อง ประกอบด้วย การปรับกระบวนทัศน์ที่เน้นการฟื้นฟูผู้กระทำผิด การพัฒนาระบบจำแนกประเภทผู้กระทำผิด การพัฒนาการบำบัดฟื้นฟูผู้กระทำผิด การพัฒนากระบวนการกลับสู่สังคมสำหรับผู้กระทำผิดที่พ้นโทษ การสร้างกลไกการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการกระทำผิดซ้ำ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้เหยื่ออาชญากรรมทางเพศ


ระบบเจ้าโคตรกับระบบงานยุติธรรมชุมชน : กรณีศึกษาบ้านเสียว ตำบลวังชัย อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น, ภควรรณพร พิศุทธิสุวรรณ Jan 2022

ระบบเจ้าโคตรกับระบบงานยุติธรรมชุมชน : กรณีศึกษาบ้านเสียว ตำบลวังชัย อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น, ภควรรณพร พิศุทธิสุวรรณ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

“ระบบเจ้าโคตรกับระบบงานยุติธรรมชุมชน: กรณีศึกษาบ้านเสียว ตำบลวังชัย อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น” เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมา รูปแบบและกลไกดำเนินงานของระบบเจ้าโคตรที่เป็นงานยุติธรรมเชิงจารีต ประเภทคดีหรือลักษณะข้อพิพาทที่ใช้ยุติปัญหา รวมถึงข้อดีและข้อจำกัดของการใช้ระบบเจ้าโคตร สภาพการดำรงอยู่ภายในชุมชนและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นต่อระบบเจ้าโคตรเมื่อมีการนำงานยุติธรรมชุมชนรูปแบบอื่น ๆ ของภาครัฐเข้ามาใช้ปฏิบัติ ซึ่งสะท้อนถึงการรับรู้และมุมมองต่อการใช้ระบบเจ้าโคตรของหน่วยงานภาครัฐ และให้ข้อเสนอแนะเรื่องการเชื่อมโยงระหว่างระบบเจ้าโคตรกับระบบงานยุติธรรมชุมชนเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนากระบวนการยุติธรรม ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการศึกษาเชิงเอกสาร วิธีการสนทนาแบบกลุ่ม และวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 12 คน เพื่อนำมาวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า 1) ระบบเจ้าโคตรมีผู้อาวุโสที่คู่กรณีและชุมชนเคารพนับถือ เชื่อใจ และยอมรับในความประพฤติและการพูดจาให้เหตุผลเมื่อตัดสินความขัดแย้งให้เข้ามาทำหน้าที่คนกลางไกล่เกลี่ยระงับข้อพิพาทระหว่างบุคคลที่เกิดขึ้นในชุมชน โดยกระบวนการระงับข้อพิพาทจะเป็นแบบเรียบง่ายที่คนกลางพูดคุยซักถามเรื่องราวและเหตุผลจากคู่กรณีทั้งสองฝ่ายแล้วตัดสินความ แล้วจึงให้คู่กรณีตกลงเรื่องการชดใช้เยียวยากันโดยตรงต่อหน้าคนกลางและเริ่มต้นไกล่เกลี่ยสมานฉันท์ และร่วมกันการสร้างข้อตกลงจากการระงับข้อพิพาทที่คำนึงถึงความต้องการของคู่กรณีทั้งสองฝ่าย หมู่บ้านเสียวจะใช้ระบบเจ้าโคตรกับความผิดที่มีเด็กหรือเยาวชนเป็นผู้กระทำ การใช้ความรุนแรงภายในครอบครัว ความผิดที่กระทำต่อกันโดยประมาท ความผิดอาญาต่อส่วนตัวซึ่งรวมถึงคดีอนาจาร และความผิดลหุโทษ ระบบเจ้าโคตรมีข้อดี คือ ช่วยรักษาสภาพจิตใจคู่กรณีและดำรงสัมพันธภาพร่วมกันเอาไว้ ช่วยลดภาระของทางราชการและลดความขัดแย้งในสังคม ช่วยประหยัดเวลาและลดค่าใช้จ่ายประชาชนไปพร้อมกับลดปัญหาการดำเนินงานซึ่งกระบวนการยุติธรรมกำลังประสบอยู่โดยระงับไม่ให้ข้อพิพาทเล็กน้อยเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม ทว่ามีข้อจำกัด ได้แก่ การยึดโยงอยู่กับศรัทธาต่อตัวบุคคลทำให้ระบบขาดเสถียรภาพ อาจมีความเหมาะสมที่จะใช้ในสังคมขนาดเล็ก และไม่มีกฎหมายรองรับผลของการไกล่เกลี่ยหากเจ้าโคตรไม่ใช่ผู้ผ่านการอบรมเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นผู้ไกล่เกลี่ยภาคประชาชน 2) ระบบเจ้าโคตรดำรงอยู่อย่างมีสัมพันธภาพกับงานยุติธรรมชุมชนแบบอื่นๆของภาครัฐ โดยการปรับตัวเปลี่ยนแปลงไปตามเงื่อนไขการดำเนินงานยุติธรรมชุมชนของภาครัฐ ได้แก่ การมีคนกลางมากกว่าหนึ่งคน และการให้จัดทำเอกสารลายลักษณ์อักษรในกระบวนการระงับข้อพิพาทเพื่อเป็นหลักฐานอ้างอิงตามกฎหมาย 3) ภาครัฐมีการรับรู้ระบบเจ้าโคตรที่ใช้จัดการความขัดแย้งภายในชุมชนอย่างจำกัด แม้ว่าจะมีมุมมองว่าระบบเจ้าโคตรมีศักยภาพต่อการระงับข้อพิพาทเบื้องต้นแต่ยังมีท่าทีแบ่งรบแบ่งสู้หากจะต้องส่งเสริมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของระบบงานยุติธรรมชุมชนในพื้นที่ 4) ข้อเสนอแนะของผู้วิจัยต่อการเชื่อมโยงระบบเจ้าโคตรกับระบบงานยุติธรรมชุมชนเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อกระบวนการยุติธรรมคือ ควรส่งเสริมให้ชุมชนนำระบบเจ้าโคตรซึ่งเป็นยุติธรรมเชิงจารีตเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของระบบงานยุติธรรมชุมชนในหมู่บ้านอย่างจริงจัง และควรเข้ามาให้ความช่วยเหลือด้านความรู้ทางกฎหมายที่จำเป็น และสนับสนุนให้ผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน สมาชิกเครือข่ายศูนย์ยุติธรรมชุมชน และเจ้าโคตรรุ่นปัจจุบันอีกจำนวน 2 คนได้รับการอบรมในหลักสูตรผู้ไกล่เกลี่ยตามพระราชบัญญัติไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2562 เพื่อขึ้นทะเบียนเป็นผู้ไกล่เกลี่ยภาคประชาชนตามกฎหมาย


การฟอกเขียวด้วยการซื้อขายคาร์บอนเครดิตในประเทศไทย, วนัสนันท์ กันทะวงศ์ Jan 2022

การฟอกเขียวด้วยการซื้อขายคาร์บอนเครดิตในประเทศไทย, วนัสนันท์ กันทะวงศ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการฟอกเขียวด้วยการซื้อขายคาร์บอนเครดิต ศึกษาความสัมพันธ์ของการฟอกเขียวด้วยการซื้อขายคาร์บอนเครดิต และศึกษาทัศนคติของประชาชนเกี่ยวกับการฟอกเขียวด้วยการซื้อขายคาร์บอนเครดิต เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed method) การวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม โดยวิธีการเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน ในจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ กรุงเทพมหานคร สมุทรสาคร ตราด และสุราษฎร์ธานี และการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการวิจัยเชิงเอกสาร 10 ปีย้อนหลัง พ.ศ. 2556 - 2566 และใช้เทคนิคการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 15 คน ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับคาร์บอนเครดิต นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญ องค์กรไม่แสวงหากำไร ผลการศึกษาพบว่า การซื้อขายคาร์บอนเครดิตสามารถบรรเทาปัญหาภาวะโลกร้อน ก่อให้เกิดโครงการเพื่อสิ่งแวดล้อม และนำไปสู่การลงทุนรูปแบบใหม่ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้การซื้อขายคาร์บอนเครดิตไม่ได้เป็นอาชญากรรมในตัวเอง หากแต่มีการใช้เป็นเครื่องมือกระทำความผิดและนำไปสู่การฟอกเขียว การฟอกเขียวด้วยการซื้อขายคาร์บอนเครดิต ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ 1) ผู้กระทำ 2) กิจกรรมการฟอกเขียว 3) ฟอกเขียวด้วยกลไกคาร์บอน 4) เป้าหมาย 5) ผลกระทบ 6) กระทำด้วยเจตนา โดยผู้กระทำการฟอกเขียว ประกอบด้วย 1) บุคคลธรรมดา มีลักษณะอาชญากรคอปกขาว 2) นิติบุคคล มีลักษณะอาชญากรรมที่กระทำโดยบริษัทหรือธุรกิจองค์กร 3) รัฐ ที่เกี่ยวข้องกับอุบัติเหตุจากความประมาทจากการประกาศนโยบายของรัฐ หรือการดำเนินการผิดพลาดที่นำไปสู่การทุจริตคอร์รัปชัน การฟอกเขียวด้วยการซื้อขายคาร์บอนเครดิตสามารถเกิดใน 3 รูปแบบ ได้แก่ การใช้ช่องโหว่ของกระบวนการซื้อขายคาร์บอนเครดิต การพึ่งพาการชดเชยมากเกินไป และการใช้กลไกการทำธุรกรรมของกลไกคาร์บอน ความสัมพันธ์ของการฟอกเขียวด้วยการซื้อขายคาร์บอนเครดิต จำแนกเป็น 2 ลักษณะคือ การซื้อขายคาร์บอนเครดิตช่วยบรรเทาปัญหาภาวะโลกร้อน และการซื้อขายคาร์บอนเครดิตนำไปสู่ปัญหาสังคม 2 ลักษณะ ได้แก่ เป็นเครื่องมือการฟอกเขียว และ ก่อให้เกิดอาชญากรรมรูปแบบใหม่ในลักษณะห่วงโซ่อาชญากรรม ได้แก่ การฉ้อโกงประชาชน อาชญากรรมสิ่งแวดล้อม อาชญากรรมคอปกขาว อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ อาชญากรรมไซเบอร์ การฉ้อโกงภาษี และการฟอกเงิน จากการศึกษาทัศนคติของประชาชนเกี่ยวกับการฟอกเขียวด้วยการซื้อขายคาร์บอนเครดิตปรากฎว่า มีความสัมพันธ์กับการบรรเทาปัญหาภาวะโลกร้อน โครงการเพื่อสิ่งแวดล้อม และการลงทุนที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในระดับน้อย มีความสัมพันธ์กับไม่ช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก …


Human Trafficking Of People With A Disability: An Analysis Of State And Federal Cases, Andrea Nichols, Erin Heil Jan 2022

Human Trafficking Of People With A Disability: An Analysis Of State And Federal Cases, Andrea Nichols, Erin Heil

Dignity: A Journal of Analysis of Exploitation and Violence

The current academic discourse examining human trafficking is lacking in focus on survivors with a disability. The increased likelihood of abuse experienced by people with a disability is well documented in the research literature, and a small body of research indicates heightened sex trafficking victimization of minor girls with a disability. Yet, very little research specifically examines sex and/or labor trafficking of people with a disability, and no systematic research analyzes prosecuted cases of trafficking with disability as the focal point of analysis. Drawing from a content analysis of 18 federal and 17 state cases of human trafficking, the current …


Neo-Emancipatory Sex Education In Germany: Sexual Abuse And Gender Confusion, Bernd Ahrbeck, Karla Etschenberg, Marion Felder Jan 2022

Neo-Emancipatory Sex Education In Germany: Sexual Abuse And Gender Confusion, Bernd Ahrbeck, Karla Etschenberg, Marion Felder

Dignity: A Journal of Analysis of Exploitation and Violence

This article focuses on two related areas of concern with regard to sex education and implications for children and youth in Germany. The first one is the history of the currently dominant neo-emancipatory sexual education and its implications for today. This direction of sex education is highly influenced by theories of Helmut Kentler who with the help of the German city of Berlin youth protection services department sent homeless and troubled boys to known pedophiles for care. This experiment went on for 30 years, ending in 2001. Only now has the extend of this horrific practice been fully discovered. The …


Sorority Women’S Perceptions Of Survivors’ Services And Justice On An Urban Campus, Andrea Giuffre, Elaine Gunnison Jan 2022

Sorority Women’S Perceptions Of Survivors’ Services And Justice On An Urban Campus, Andrea Giuffre, Elaine Gunnison

Dignity: A Journal of Analysis of Exploitation and Violence

While researchers have attempted to estimate the prevalence of and identify risk factors for sexual assault, less is understood about the relationship among populations at high risk for sexual assault and their perceptions of survivors’ services organizations and justice. The purpose of this investigation is to contribute to existing research through exploratory qualitative analyses of 43 undergraduate sorority women’s perceptions of survivors’ services and justice on a large, urban campus in the Pacific Northwest in the United States. Results of these exploratory analyses revealed that the sorority women had preferences for informal confidants and services whom they could trust concerning …


การตกเป็นเหยื่อทางไซเบอร์ของผู้สูงอายุ, ธัญพิชชา สามารถ Jan 2022

การตกเป็นเหยื่อทางไซเบอร์ของผู้สูงอายุ, ธัญพิชชา สามารถ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการตกเป็นเหยื่อของการหลอกลวงทางไซเบอร์ ปัจจัยที่ทำให้ผู้สูงอายุตกเป็นเหยื่อของการหลอกลวงทางไซเบอร์ และเพื่อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขการตกเป็นเหยื่อการหลอกลวงทางไซเบอร์ของผู้สูงอายุ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุที่ตกเป็นเหยื่อการหลอกลวงทางไซเบอร์จำนวน 24 คน ผู้มีส่วนในการหลอกลวงจำนวน 5 คน และเจ้าหน้าที่และนักวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการช่วยเหลือหรือการป้องกันผู้สูงอายุจากการถูกหลอกลวงทางไซเบอร์จำนวน 9 คน ผลการวิจัยแบ่งกลุ่มผู้สูงอายุที่ถูกหลอกลวง ทางไซเบอร์ 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีรูปแบบและปัจจัยที่ทำให้ตกเป็นเหยื่อของการหลอกลวงแตกต่างกัน คือ 1)ผู้ที่ตกเป็นเหยื่อการหลอกลวงให้ลงทุน มีรูปแบบการถูกหลอกลวงโดยส่วนใหญ่ถูกชักชวนจากบุคคลที่รู้จักในกลุ่มไลน์ที่เคยลงทุนด้วยกัน หรือพบเห็นโฆษณาเชิญชวนบนสื่อสังคมออนไลน์ โดยมีลักษณะของผลตอบแทนที่สูงเป็นสิ่งจูงใจ มีทั้งการให้ค่าตอบแทนจากการแนะนำสมาชิกใหม่ และไม่มีการให้ค่าตอบแทน ซึ่งผู้ที่มีส่วนในการหลอกลวงเป็นทั้งบุคคลธรรมดา และอยู่ในรูปแบบบริษัทจดทะเบียน ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตกเป็นเหยื่อพบว่ามี 8 ปัจจัย คือ ด้านเศรษฐกิจ ด้านความโลภ ด้านเทคโนโลยี ด้านการสร้างความน่าเชื่อถือของผู้หลอกลวง ด้านความรู้ความเข้าใจในการลงทุน ด้านสภาพความเป็นอยู่ ด้านการชักชวนให้ลงทุนจากญาติหรือคนรู้จัก และด้านความเชื่อมั่นใจตนเอง 2)ผู้ที่ตกเป็นเหยื่อการหลอกลวงจากแก๊งคอลเซนเตอร์ มีรูปแบบการหลอกลวงในการสร้างความตกใจกลัว หรือเกิดความโลภ และมีระยะเวลาในการให้ตัดสินใจจำกัด ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตกเป็นเหยื่อพบว่า มี 4 ปัจจัย คือ ด้านความกลัว ด้านความโลภ ด้านความไม่คุ้นเคยกับเทคโนโลยี และด้านการอยู่เพียงลำพังขณะเกิดเหตุ 3)ผู้ที่ตกเป็นเหยื่อการซื้อสินค้าออนไลน์ ผู้หลอกลวงจะสร้างโพรไฟล์ให้ดูมีความน่าเชื่อถือ เปิดร้านขายบนสื่อสังคมออนไลน์ และขายผ่านตลาดกลางออนไลน์เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ สินค้าที่หลอกลวงมักจะเป็นสินค้าที่ราคาไม่สูงนัก หรือเป็นสินค้าที่มีราคาถูกกว่าท้องตลาดทั่วไป ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตกเป็นเหยื่อพบว่ามี 3 ปัจจัยคือ ความไว้วางใจร้านค้าออนไลน์โดยไม่ได้ตรวจสอบ การส่งเสริมการขายที่ผิดปกติ และราคาสินค้าที่มีราคาไม่สูง 4)ผู้สูงอายุที่ตกเป็นเหยื่อการหลอกให้รักทางออนไลน์ มีรูปแบบการใช้จิตวิทยาในการหลอกลวง สร้างความสัมพันธ์ที่ดีและใช้ระยะเวลาในการสร้างความไว้วางใจ เลือกเหยื่อจากการดูโพรไฟล์บนสื่อสังคมออนไลน์ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตกเป็นเหยื่อพบว่ามี 4 ปัจจัย คือ ความรักความหลง ความน่าเชื่อถือ ด้านความเหงา และความอายของผู้ที่ถูกหลอก โดยการหลอกลวงทั้ง 4 รูปแบบมีปัจจัยร่วมกันคือ ความรู้ไม่เท่าทันการหลอกลวง สำหรับแนวทางการแก้ไขการตกเป็นเหยื่อ ได้แก่ การสร้างความตระหนักให้กับผู้สูงอายุในการรู้เท่าทันถึงรูปแบบการหลอกลวงทางไซเบอร์ การระมัดระวังการเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวผู้อื่นที่ไม่รู้จัก การให้คำปรึกษาในกลุ่มของครอบครัว การจัดตั้งเครือข่ายกลุ่มผู้สูงอายุเพื่อเผยแพร่ข่าวสารการหลอกลวงทางไซเบอร์ ความร่วมมือของภาคเอกชนผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการปิดกันช่องทางการหลอกลวงจากผู้หลอกลวง ตลอดจนหน่วยงานของรัฐในการออกมาตรการทางกฎหมายตลอดจนการบังคับใช้อย่างเคร่งครัด


ผู้ก่อการร้ายหญิง : ปัญหาและแนวทางการแก้ไข, พิมพ์ชนก จันทบูรณ์ Jan 2022

ผู้ก่อการร้ายหญิง : ปัญหาและแนวทางการแก้ไข, พิมพ์ชนก จันทบูรณ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษาเรื่อง ผู้ก่อการร้ายหญิง : ปัญหาและแนวทางการแก้ไข เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามูลเหตุ จูงใจ บทบาท และกระบวนการในการที่ผู้หญิงเข้าไปมีส่วนร่วมในการก่อการร้าย ตลอดจนแสวงหาแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ผลจากการวิจัยพบว่า มูลเหตุจูงใจในการก่อการร้ายของผู้หญิงสามารถแบ่งเป็นสองส่วนหลัก ได้แก่ ส่วนที่เป็นปัจจัยดึงดูด อันเป็นปัจจัยจากฝั่งกลุ่มก่อการร้าย ได้แก่ กระบวนการชักชวนและจัดหาที่มีประสิทธิภาพ ประกอบกับความมีบารมีและความดึงดูดของผู้นำกลุ่มก่อการร้ายและส่วนที่เป็นปัจจัยผลักดัน อันเป็นปัจจัยที่มาจากแรงกระตุ้นของฝั่งผู้หญิงเอง ได้แก่ อารมณ์ส่วนตัว ศาสนา และการเมือง จนนำไปสู่การเข้าสู่กระบวนการโดยสมัครใจเพื่อไปมีส่วนร่วมในการก่อการร้าย โดยในต่างประเทศผู้หญิงมีทั้งบทบาทหลักในการก่อเหตุ และบทบาทสนับสนุน อาทิ การทำหน้าที่เป็นแม่ ภรรยา และจัดหาสมาชิก เป็นต้น ซึ่งมักถูกชักจูงผ่านช่องทางออนไลน์เป็นหลัก ขณะที่บางส่วนที่ไม่สมัครใจก็จะตกเป็นเหยื่อเพื่อแสวงประโยชน์ของกลุ่มก่อการร้าย ในส่วนของประเทศไทยนั้น การก่อการร้ายถูกชี้นำไปในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งผู้หญิงจะมีบทบาทในการสนับสนุนกลุ่มก่อความไม่สงบ อาทิ การทำหน้าที่ปฐมพยาบาล และการหารายได้ เป็นต้น โดยถูกชักจูงจากคนในครอบครัวและคนใกล้ตัว ประกอบกับการซึมซับข้อมูลและเรื่องเล่าต่าง ๆ ผ่านประสบการณ์จากการอาศัยอยู่ในพื้นที่เป็นเวลานาน และเนื่องจากผู้หญิงเข้าไปมีส่วนร่วมในการก่อการร้ายในบทบาทต่าง ๆ อันเป็นฟันเฟืองหนึ่งที่ขับเคลื่อนให้เกิดการก่อการร้ายในหลายพื้นที่ทั่วโลก ประชาคมระหว่างประเทศรวมทั้งประเทศไทยจึงได้มีการกำหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องในการต่อต้านการก่อการร้ายทั้งในภาพรวมและในมิติของผู้หญิงในการก่อการร้ายเป็นการเฉพาะ อย่างไรก็ดี ยังพบว่าหลายประเทศทั่วโลกยังคงเผชิญกับภัยคุกคามจากการก่อการร้ายจวบจนปัจจุบัน เช่นเดียวกับประเทศไทยที่ปัญหาการก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ยังคงดำเนินต่อเนื่องเรื่อยมาหลายทศวรรษ ผู้วิจัยจึงได้เสนอแนะให้มีการปรับปรุงนโยบาย การเพิ่มมาตรการป้องกันในระดับปฏิบัติ ตลอดจนการนำทฤษฎีทางอาชญาวิทยาและแนวทางการป้องกันจากต่างประเทศที่ได้ศึกษาไว้ มาเป็นกรอบในการจัดทำแนวทางในการป้องกันและแก้ไขทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติการที่สอดคล้องกับบริบทของไทย


Revisiting The Complexity Of Racial Understandings And Subjective Experiences Of Race Among Students Of Color In Stem Higher Education: Toward A Racial Reappraisal Framework, Elvira Abrica Jan 2022

Revisiting The Complexity Of Racial Understandings And Subjective Experiences Of Race Among Students Of Color In Stem Higher Education: Toward A Racial Reappraisal Framework, Elvira Abrica

Department of Educational Administration: Faculty Publications

Despite significant investment in expanding post-secondary access and success for racially minori­tized populations within science, technology, engineering, and mathematics (STEM) fields, persistent educational disparities remain. While the literature has importantly identified and described the myri­ad ways in which students of color experience exclusion within STEM fields on the basis of race (and, perhaps, other social identity statuses), this area of scholarship is not always theoretically grounded in an understanding of racial hierarchies, processes of racialization, or theories of race and racism. That is, despite the abundant literature on students of color in STEM, there is comparatively limited theo­retical attention to …


Disability And Climate Change: A Critical Realist Model Of Climate Justice, Molly M. King, Maria A. Gregg Jan 2022

Disability And Climate Change: A Critical Realist Model Of Climate Justice, Molly M. King, Maria A. Gregg

Sociology

Existing literature on climate change as an issue of environmental justice documents the heightened vulnerability of people with disabilities to the effects of climate change. Additionally, there are numerous studies showing that access to information is a prerequisite for perceiving risk and taking action. Building on this work, our review seeks to understand how physical disability relates to perceptions of climate-related risk and adaptations to climate-related events. We introduce a critical realist model of climate justice to understand the relationships between the environmental features that disable, risk perception and information seeking, and adaptive capacity and resilience to climate change. In …


The Program To Reduce Implicit Bias In Carroll Hospital Center Using The Implicit Association Test, Katherine E. Traynor Jan 2022

The Program To Reduce Implicit Bias In Carroll Hospital Center Using The Implicit Association Test, Katherine E. Traynor

Capstone Showcase

Natural brain processes make all individuals susceptible to unconscious bias; however, stressful, fearful, or anger-evoking situations as well as the negative influence of media and social surroundings increase the risk of holding obstructive bias, and there is a greater risk of being negatively impacted by this phenomenon when belonging to a minority population (Rose & Flores, 2020). As a result, high rates of infant mortality (10.2 deaths per 1,000 live births for the Non-Hispanic Black population compared to 4.1 in the White population) and cardiovascular related diseases (190.0 cases per 1,000 in the Non-Hispanic Black population compared to 161.3 in …


Agroecology Curriculum Proposal, Emily Kuhn Jan 2022

Agroecology Curriculum Proposal, Emily Kuhn

Pitzer Senior Theses

The purpose of this research is to establish the viability of an Agroecology major at Pitzer College. I begin by problematizing Industrial Agriculture and making a case for Pitzer College to become a higher education leader in the global paradigm shift towards socially and ecologically just food systems. The proposed curriculum compiles pre-existing classes, objectives expanded from the EA field group, and an internship component embedded at five local land-based learning partner sites. I conducted a SWOT (strengths, weaknesses, opportunities, and threats) analysis of the Environmental Analysis field group as a potential host for the agroecology track, including study abroad …


Critical Perspectives On Produce Prescription Programs & Us Federal Nutrition Policy, Alanna K. Higgins Jan 2022

Critical Perspectives On Produce Prescription Programs & Us Federal Nutrition Policy, Alanna K. Higgins

Graduate Theses, Dissertations, and Problem Reports

Produce prescription programs, interventions operating at the intersection of food access and public health, are steadily increasing in number across the United States since 2010. I leverage key informant interviews, participant observations, and event ethnographies to form a four-year institutional ethnography of the implementation of produce prescriptions within West Virginia alongside a legal-policy archaeology methodology to understand how produce prescriptions have been institutionalized and funded within the US Farm Bill. While much of produce prescription program growth is attributed to an expansion of federal funding starting in 2014, this dissertation demonstrates that these programs and the federal legislation which has …


Moving From Harm Mitigation To Affirmative Discrimination Mitigation: The Untapped Potential Of Artificial Intelligence To Fight School Segregation And Other Forms Of Racial Discrimination, Andrew Gall Jan 2022

Moving From Harm Mitigation To Affirmative Discrimination Mitigation: The Untapped Potential Of Artificial Intelligence To Fight School Segregation And Other Forms Of Racial Discrimination, Andrew Gall

Catholic University Journal of Law and Technology

No abstract provided.


Towards A Psychological Science Of Abolition Democracy: Insights For Improving Theory And Research On Race And Public Safety, Cynthia J. Najdowski, Phillip Atiba Goff Jan 2022

Towards A Psychological Science Of Abolition Democracy: Insights For Improving Theory And Research On Race And Public Safety, Cynthia J. Najdowski, Phillip Atiba Goff

Psychology Faculty Scholarship

We call for psychologists to expand their thinking on fair and just public safety by engaging with the “Abolition Democracy” framework that Du Bois (1935) articulated as the need to dissolve slavery while simultaneously taking affirmative steps to rid its toxic consequences from the body politic. Because the legacies of slavery continue to produce disparities in public safety in the U.S, both harming Black people and the institutions that could keep them safe, psychologists must take seriously questions of history and structure in addition to immediate situations. In the present article, we consider the state of knowledge regarding psychological processes …


The Percentage Of People Who Receive Vr Services Varies Greatly Across States, Alberto Migliore Jan 2022

The Percentage Of People Who Receive Vr Services Varies Greatly Across States, Alberto Migliore

All Institute for Community Inclusion Publications

Receiving vocational rehabilitation services is a key step toward employment. However, the percentage of job seekers with intellectual disabilities who receive #VocRehab services varies greatly across states, from 93% in Vermont to 34% in Nebraska. Check out this new DataNote to see how your state compares


Adrift In Uncharted Waters: A Case Study Of A Muslim Family Involved With Child Protection Services In Ontario, Bibi Baksh Jan 2022

Adrift In Uncharted Waters: A Case Study Of A Muslim Family Involved With Child Protection Services In Ontario, Bibi Baksh

Theses and Dissertations (Comprehensive)

This dissertation sought to understand how Muslims experience mandated child protection services in Ontario within the Canadian (and specifically, Ontarian) socio-political context. Ongoing experiences of racism, xenophobia, and Islamophobia within systems that intersect with child welfare, including schools and the criminal justice system, have compounding effects on Muslim families who are singled out politically and socially. Drawing from trends in child welfare literature, policy initiatives, and practices that consider the system’s impacts upon racialized peoples, this research contributes to the discourse by highlighting religious diversity as an under-investigated source of discrimination. Set against systemic challenges inherent in the child protection …


Exploring Climate, Wellbeing, Resilience, And Resistance In 2slgbtq+ Leisure Spaces: A Mixed Methods Study To Advance Inclusion, Tin Vo Jan 2022

Exploring Climate, Wellbeing, Resilience, And Resistance In 2slgbtq+ Leisure Spaces: A Mixed Methods Study To Advance Inclusion, Tin Vo

Theses and Dissertations (Comprehensive)

Participating in queer sports groups, rainbow choirs, trans virtual discussion groups and other Two-Spirit, lesbian, gay, bisexual, transgender, queer, and other sexually and gender diverse (2SLGBTQ+) leisure activities can offer participants safety from societal heterosexism and cisgenderism and opportunities for community connection and peer support, as well as foster their overall wellbeing. Yet, transgender/gender nonconforming (TGNC), racialized, and/or disabled individuals, and those with other diverse identities are often marginalized in these spaces. Though researchers have studied exclusion within 2SLGBTQ+ leisure spaces, relatively little is known about how the climate of these spaces shapes social and mental health outcomes. Connected to …


The White Ally Experience: A Look Into The Impacts Of Being A White Ally, Kristen Maclin Jan 2022

The White Ally Experience: A Look Into The Impacts Of Being A White Ally, Kristen Maclin

Masters Theses

If an ally knew what they would experience, would they be more willing to stand up? Racism, institutional racism, racial bias, discrimination, and microaggressions have existed in our country since its inception. One way to work to overcome these is by growing allyship and having allies who are willing to speak up and stand beside marginalized groups. This research study addressed what allyship means, the byproducts of racist structures that allies have encountered, ally burnout, and ways to overcome burnout. These were researched through surveys from BIPOCs, named allies, and my school colleague populations. My research found that many White …


Trans-Forming Resilience Research: A Critical Interpretive Synthesis Of Resilience Research With Transgender And Gender Diverse Populations, Morgan Brooks Jan 2022

Trans-Forming Resilience Research: A Critical Interpretive Synthesis Of Resilience Research With Transgender And Gender Diverse Populations, Morgan Brooks

Theses and Dissertations (Comprehensive)

Historically, much of the research pertaining to transgender and gender diverse (trans) health and wellbeing has been conducted in ways that are reductive, pathologizing and exploitative. Trans activists and scholars express concerns about how such research contributes to pervasive negative perceptions, stigma, and cisgenderism, reinforcing stereotypical, binary ideas of trans people as both damaged and dangerous, vulnerable and heroic. Ongoing negative media attention and harmful policy decisions rooted in these views demonstrate the importance of offering alternatives to these reductive, deficit-based narratives associated with trans people. In response, strengths-based research oriented around the construct of resilience is increasing; yet approached …


Changing Every Wrong Door Into The Right One: Reforming Legal Services Intake To Empower Clients, Jabeen Adawi Jan 2022

Changing Every Wrong Door Into The Right One: Reforming Legal Services Intake To Empower Clients, Jabeen Adawi

Articles

It’s recognized that people affected by poverty often have numerous overlapping legal needs and despite the proliferation of legal services, they are unable to receive full assistance. When a person is faced with a legal emergency, rarely is there an equivalent to a hospital’s emergency room wherein they receive an immediate diagnosis for their needs and subsequent assistance. In this paper, I focus on the process a person goes through to find assistance and argue that it is a burdensome, and demoralizing task of navigating varying protocols, procedures, and individuals. While these systems are well intentioned from the lawyer’s perspective, …