Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Social and Behavioral Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

2018

Political Science

Theses/Dissertations

Institution
Keyword
Publication

Articles 511 - 519 of 519

Full-Text Articles in Social and Behavioral Sciences

Paid Parental Leave In The United States: Reconciling Competing Demands, Sydney Joseph Jan 2018

Paid Parental Leave In The United States: Reconciling Competing Demands, Sydney Joseph

CMC Senior Theses

The United States is the only developed nation that fails to provide its citizens with paid parental leave. The lack of parental benefit provision operates to the detriment of individuals and society as a whole by contributing to inequity across gender, race, socioeconomic status, and sexual orientation. As the demographics of the American workforce have changed, public policy has not kept pace. Paid parental leave is associated a number of health, economic, and social benefits. However, the greatest barrier to legislating paid parental leave is the philosophical underpinnings of American politics, specifically the strong current of liberal individualism and absence …


The Meridian House Speech And Academic Influence On U.S. Policy In The Middle East, Shant Eghian Jan 2018

The Meridian House Speech And Academic Influence On U.S. Policy In The Middle East, Shant Eghian

Honors Theses

This paper will examine United States foreign policy in the Middle East Post Cold War through the lens of the Meridian House Speech, an influential speech given in 1992 that has shaped the United States’ foreign policy framework for the past twenty-five years. It will examine the work of Edward Said and John Esposito, two influential academics whose work heavily influenced the content of the speech. Finally, this paper will give a critical analysis of the speech and the implications it has had for our foreign policy in the Middle East.


Community-Based Initiatives For Neighborhood And Community Rehabilitation: A Case Study Of The Mission District, San Francisco, California, Francesca Monique Gallardo Jan 2018

Community-Based Initiatives For Neighborhood And Community Rehabilitation: A Case Study Of The Mission District, San Francisco, California, Francesca Monique Gallardo

Cal Poly Humboldt theses and projects

Through the case study of San Francisco, CA’s Mission District, this research project addresses how community-based affordable housing development is operationalized to rehabilitate communities and neighborhoods experiencing effects of gentrification, mass displacement, and cultural dilution. My goals were to identify how the processes of building a sense of community, trust, and cohesion- rehabilitating and critical to affordable housing development efforts in the Mission District? And, how are nonprofit community development organizations engaging with these processes in collaboration with citizen and community partners? The final objective is to provide evidence-based strategies to assist other at-risk minority communities and neighborhoods in the …


จีนกับการใช้เครื่องมือทางเศรษฐกิจในการเจรจาต่อรอง: ศึกษากรณีญี่ปุ่นและไต้หวัน, ชินดนัย ธีระพันธุ์พิเชฏฐ์ Jan 2018

จีนกับการใช้เครื่องมือทางเศรษฐกิจในการเจรจาต่อรอง: ศึกษากรณีญี่ปุ่นและไต้หวัน, ชินดนัย ธีระพันธุ์พิเชฏฐ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษาชิ้นนี้นำเสนอการใช้เครื่องมือทางเศรษฐกิจของจีนในการต่อรองระหว่างประเทศ ซึ่งมีคำถามสำคัญคือจีนใช้เครื่องมือทางเศรษฐกิจในการต่อรองระหว่างประเทศในเชิงผลประโยชน์หรือเชิงยุทธศาสตร์อย่างไร และการใช้เครื่องมือนี้ส่งผลอย่างไร โดยจะชี้ให้เห็นว่าในเบื้องต้นจีนได้ใช้เครื่องมือทางเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาประเทศไปสู่การเรืองอำนาจโดยสันติ การพัฒนานี้ทำให้จีนกลายเป็นมหาอำนาจทางเศรษฐกิจในภายหลัง และยังสร้างคุณูปการทางเศรษฐกิจกับชาติต่างๆทำให้ชาติต่างๆเข้ามาพึ่งพาทางเศรษฐกิจกับจีน เมื่อเกิดการพึ่งพาที่ไม่เท่าเทียมกันเช่นนี้ จีนได้ใช้เครื่องมือทางเศรษฐกิจเพื่อต่อรองเมื่อเกิดความขัดแย้งกับประเทศคู่พิพาท การศึกษาชิ้นนี้ได้หยิบยกญี่ปุ่นขึ้นมาเป็นกรณีศึกษาโดยชี้ให้เห็นว่าการที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นพึ่งพาสินแร่ที่มีธาตุโลหะหายากจากจีนนั้น การพึ่งพาที่ไม่เท่าเทียมกันได้ทำให้จีนใช้เครื่องมือทางเศรษฐกิจในการต่อรองเมื่อเกิดข้อพิพาทเกาะเซนกากุ/เตียวหยูเพื่อให้ญี่ปุ่นปฏิบัติตามข้อเรียกร้องของจีน การศึกษาชิ้นนี้ยังหยิบยกไต้หวันขึ้นมาเป็นกรณีศึกษาโดยชี้ให้เห็นว่าจีนพยายามที่จะใช้เครื่องมือทางเศรษฐกิจภายหลังการเลือกตั้งไต้หวันปี 2000 และปี 2004 และจีนยังให้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจแก่ชาติต่างๆ อันเป็นเครื่องมือในการแข่งขันการแย่งชิงความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างจีนกับไต้หวัน ดังนั้น การพึ่งพาทางเศรษฐกิจกับจีนจึงเป็นทั้งประโยชน์และโทษที่รัฐพึ่งพิงจะต้องระวัง อย่างไรก็ตาม การใช้เครื่องมือทางเศรษฐกิจของจีนก็ไม่ได้ประสบผลสำเร็จตามที่จีนต้องการเสมอไปเพราะการใช้เครื่องมือทางเศรษฐกิจนี้ไม่เพียงก่อให้เกิดทัศนคติที่ไม่ดี แต่ยังชี้ให้เห็นถึงความย้อนแย้งระหว่างการสร้างความหวาดระแวงกับการเรืองอำนาจโดยสันติด้วย


รัฐ ทุน และชาวนาหลังโครงการรับจำนำข้าว, กัญญาภัทร เพชรร่วง Jan 2018

รัฐ ทุน และชาวนาหลังโครงการรับจำนำข้าว, กัญญาภัทร เพชรร่วง

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ ทุน และชาวนาที่เกิดขึ้นภายหลังโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร โดยแบ่งเป็นประเด็นในการอธิบายออกเป็น 3 ประเด็น คือ 1) รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ ทุน และชาวนาหลังโครงการรับจำนำข้าว 2) ผลที่เกิดขึ้นจากการปรับรูปแบบความสัมพันธ์ต่อตัวแสดงทั้งสามฝ่าย และ 3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดรูปแบบความสัมพันธ์ของรัฐ ทุน และชาวนาหลังนโยบายรับจำนำข้าว ผลการวิจัยพบว่าหลังจากการรัฐประหารในปี 2557 รัฐ (รัฐบาลคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.) และระบบราชการ) ไม่เข้มแข็งพอที่จะควบคุมหรือกำหนดนโยบายเองทั้งหมดเหมือนที่เคยทำได้ในสมัยที่เป็นรัฐราชการ หรือ ช่วงที่เป็นแบบภาคีรัฐ - สังคม เนื่องจากรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ.2540 ทำให้บริบทด้านสังคม การเมือง และเศรษฐกิจเปลี่ยนไป รัฐจึงต้องค่อยๆ คลายตัว และลดบทบาทของตนเองลง ในช่วงเวลานั้นทุน โดยเฉพาะทุนขนาดใหญ่ และชาวนามีโอกาสได้พัฒนาตนเองจนทำให้มีอำนาจในการต่อรองเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ปัจจัยสำคัญที่ทำให้รัฐต้องมีการปรับตัว คือการพัฒนาตนเองของชาวนาในด้านการเมืองโดยเฉพาะในช่วงการดำเนินโครงการรับจำนำข้าว ประกอบกับบริบททางเศรษฐกิจที่เอื้อให้กลุ่มทุนขนาดใหญ่สามารถลดการพึ่งพิงรัฐลงได้เรื่อยขณะที่รัฐกลับต้องพึ่งพาการลงทุนจากกลุ่มทุนขนาดใหญ่เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจในประเทศ อีกทั้งต้องสร้างการยอมรับจากทุนท้องถิ่นเพื่อใช้เป็นตัวเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับชาวนาแทนระบบราชการในท้องถิ่น และต้องการการยอมรับจากชาวนาซึ่งเป็นกลุ่มพลังสำคัญทางการเมือง รัฐจึงจำเป็นต้องเปิดพื้นที่ให้คนจากกลุ่มอื่นได้เข้ามาแบ่งปันผลประโยชน์จากนโยบายของรัฐมากขึ้น โดยเฉพาะทุนขนาดใหญ่ที่ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการกำหนด และดำเนินนโยบายมากกว่ากลุ่มอื่นๆแต่กระนั้น รัฐก็มิได้ปล่อยให้อำนาจในการต่อรอง หรือกำหนดนโยบายให้เป็นไปตามแนวคิดเสรีนิยมใหม่ (Neo - Liberalism)เสียทีเดียว กล่าวคือ รัฐยังคงมีการแทรกแซง และกุมอำนาจอยู่ และยังไม่ได้เปิดโอกาสให้ชาวนาได้เข้าไปมีส่วนร่วมเท่าที่เคยมีในช่วงรัฐบาลที่ผ่านๆ มาดังนั้นรูปแบบของความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ ทุน และชาวนาหลังโครงการรับจำนำข้าวจึงยังคงเป็นความสัมพันธ์ในแนวดิ่งเช่นที่ผ่านมา ซึ่งจากการศึกษาพบว่า รัฐในยุคของ คสช. จะพยายามรักษาความสัมพันธ์กับทุนท้องถิ่น และชาวนาผ่านการดำเนินนโยบายในลักษณะประชานิยมต่างๆ รัฐยังคงไม่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตชาวนาและเอื้อประโยชน์ให้กับทุนขนาดใหญ่เป็นหลักเช่นเดิม


การศึกษาความสัมพันธ์ของการพัฒนาเมืองภูเก็ตกับการเมืองท้องถิ่น, สุดรัก หนูนิ่ม Jan 2018

การศึกษาความสัมพันธ์ของการพัฒนาเมืองภูเก็ตกับการเมืองท้องถิ่น, สุดรัก หนูนิ่ม

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

วิทยานิพนธ์เรื่องการศึกษาความสัมพันธ์การพัฒนาเมืองภูเก็ตกับการเมืองท้องถิ่น ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 ถึง ปัจจุบัน โดยมุ่งทำความเข้าใจความสัมพันธ์ในอำนาจของนักการเมืองท้องถิ่นกับพื้นที่เมืองในระดับนคร ภายใต้กรอบแนวคิดเรื่องเศรษฐกิจการเมือง โดยมีคำถามการวิจัยคือ 1) ลักษณะการพัฒนาทุนนิยมของจังหวัดภูเก็ตเชื่อมโยงหรือมีผลต่อการเมืองท้องถิ่นอย่างไรและ 2) ทุนนิยมชนิดใดทีเป็นปัจจัยขับเคลื่อนให้เมืองภูเก็ตเกิดการพัฒนา การศึกษาครั้งนี้ได้อาศัยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพผ่านการศึกษาพื้นที่เมืองของเทศบาลนครภูเก็ต ผลการศึกษาพบว่าทุนนิยมในเมืองนครภูเก็ตตั้งแต่อดีต จนกระทั่งปัจจุบัน ประกอบไปด้วยทุนนิยมเหมืองแร่ และทุนนิยมวัฒนธรรม โดยทุนนิยมเหมืองแร่มีทุนทรัพยากรเป็นพื้นฐานที่สำคัญหลังจากกิจการเหมืองแร่เริ่มซบเซา เมืองภูเก็ตมีสภาพเศรษฐกิจที่หยุดชะงัก จนกระทั่งนักการเมืองท้องถิ่นเทศบาลนครภูเก็ตได้เล็งเห็นถึงการนำทุนอุตสาหกรรมและทุนภาคบริการมาเป็นกลไกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเมือง นับจากนั้นเพียงไม่นานทุนดังกล่าวก็ได้หล่อรวมเกิดเป็นทุนนิยมวัฒนธรรมขึ้นในพื้นที่เทศบาลนครภูเก็ต ก่อให้เกิดผลประโยชน์ทางธุรกิจในพื้นที่ขนาดใหญ่ซึ่งทำให้นักการเมืองท้องถิ่นที่เข้ามาแย่งชิงอำนาจในพื้นที่เมืองแห่งนี้ได้รับผลประโยชน์จากการเติบโตของเมืองนครภูเก็ตผ่านโครงการพัฒนาต่างๆ ทำให้พื้นที่เมืองถูกขยายและพัฒนาออกไป ระบบทุนนิยมวัฒนธรรมวัฒนธรรมส่งผลต่อเศรษฐกิจเมืองและเมื่อเศรษฐกิจเป็นตัวชี้นำทิศทางของการเมืองได้ การแพ้ชนะในการแข่งขันของการเมืองท้องถิ่นจึงเป็นการแพ้ชนะกันด้วยโครงการพัฒนาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ซึ่งกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญในการทำให้เกิดทุนนิยมวัฒนธรรมขึ้น คือ การเมืองท้องถิ่นเทศบาลนครภูเก็ตซึ่งเป็นที่ประจักษ์ว่ากลุ่มการเมืองที่ชนะการเลือกตั้งมาโดยตลอดระยะเวลากว่า 20 ปีมีมีเพียงกลุ่มเดียวคือ กลุ่มคนหนุ่ม ซึ่งสมาชิกในกลุ่มล้วนแล้วแต่เป็นนายทุนในพื้นที่ที่มีการสะสมทุนทางเศรษฐกิจมาตั้งแต่ยุคทุนนิยมเหมืองแร่ ดังนั้นนครภูเก็ตตั้งแต่ปี 2540 จนกระทั้งถึงปัจจุบันถูกขับเคลื่อนโดยทุนนิยมที่เรียกว่าทุนนิยมวัฒนธรรม


The Role Of Central Agency In Promoting Open Government In Thailand : The Case Study Of Digital Government Development Agency (Dga), Thanadol Thongprakob Jan 2018

The Role Of Central Agency In Promoting Open Government In Thailand : The Case Study Of Digital Government Development Agency (Dga), Thanadol Thongprakob

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The purposes of this research were to (1) understand the role of the Digital Government Development Agency (DGA), the central agency, in applying digital technology for promoting open government in Thailand by studying both related external and internal factors, and (2) to suggest key success factors for promoting open government in the country. The study applied qualitative method using documentary research as well as in-depth interview approach to gather primary information from key informants who are experienced and well-versed in digital technology. The findings were that the role of the DGA in promoting open government, such as the formation of …


Struggles In State Building In Multi-Ethnic And Multi-Religious Lebanon And Bosnia, Zachary Ruch Jan 2018

Struggles In State Building In Multi-Ethnic And Multi-Religious Lebanon And Bosnia, Zachary Ruch

Master's Theses

Lebanon and Bosnia are quite possibly the most divided nations on earth with each having multiple ethnic and religious populations. Both nations have had disastrous civil wars that included some of the most brutal killing in the 20th century. With the intervention of foreign powers both nations were able to set aside their differences and come to a peace settlement. In both cases the peace settlements accomplished its ultimate goal of ending the violence. The subsequent scholarship however created unrealistically high expectations for these settlements to foster a democratic culture and build a national consensus. This paper seeks to understand …


Blurring The Spectrum: Exploring Queer Conservatism, Austin P. Mejdrich Jan 2018

Blurring The Spectrum: Exploring Queer Conservatism, Austin P. Mejdrich

Masters Theses

Running parallel to the groundbreaking and historic advancement of LGBTQ rights over the past decade has been the rise in the prominence and public discourse of queer conservative thinking. From the Log Cabin Republicans to far-right nationalistic politics, queer conservatives underscore both diverging ideologies within the modern American conservative tradition and the increase of far-right politics in Western societies. This study argues that queer conservatism, while traditionally less explored in the broader context of sexuality politics, is consequential to an understanding of the LGBTQ community and queer politics. Thus, an exploration of queer conservatism as a political ideology is explored, …