Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Geriatric Nursing Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

2022

Discipline
Institution
Keyword
Publication
Publication Type
File Type

Articles 61 - 90 of 106

Full-Text Articles in Geriatric Nursing

Limiting Potentially Inappropriate Medications In Long-Term Care, Clare M. Ironside Apr 2022

Limiting Potentially Inappropriate Medications In Long-Term Care, Clare M. Ironside

Doctor of Nursing Practice Scholarly Projects

Aim: This project aimed to assess the effectiveness of the STOPP/START tool in identifying and reducing potentially inappropriate medications among multi-morbid, older, long-term care residents in a metropolitan area of a Southwestern state.

Design: In this quality improvement project, seven prescribers working within four long-term care facilities were trained to assess for potentially inappropriate medications using the STOPP/START tool. The medication lists for long-term care residents (n =45) over age 65 were collected at baseline and again at three months post-intervention and assessed for overall medication use, psychotropics, and proton pump inhibitors. The project also assessed prescribers’ comfort and …


Sleep Deprivation And Delirium Development In The Icu, Cynthia Howell Msn Fnp-Bc, Stacy Murillo Msn Fnp-Bc, Amy Wilson Msn Fnp-Bc, Tracy Mcclinton Dnp, Ag-Acnp-Bc Apr 2022

Sleep Deprivation And Delirium Development In The Icu, Cynthia Howell Msn Fnp-Bc, Stacy Murillo Msn Fnp-Bc, Amy Wilson Msn Fnp-Bc, Tracy Mcclinton Dnp, Ag-Acnp-Bc

Doctor of Nursing Practice Projects

Purpose/Background Delirium is an acute syndrome characterized by disturbances in cognition occurring in critically ill patients, particularly those over 65 in the intensive care unit (ICU). Numerous risk factors are associated with delirium development, with sleep being a modifiable factor. This review explores existing literature regarding the relationship between sleep deprivation and delirium development while evaluating the effectiveness of a sleep promotion protocol to decrease the incident of delirium in those ICU patients 65 years or older.

Method A literature review of peer-reviewed studies from PubMed and additional search engines was completed. Articles reviewed were published within the last five …


Evidence-Based Best Practice Toolkit For Competency-Based Orientation In Integrating An Adult Pneumococcal Protocol To Improve Vaccine Rate: A Program Evaluation Review, Magda Angel Cifuentes Apr 2022

Evidence-Based Best Practice Toolkit For Competency-Based Orientation In Integrating An Adult Pneumococcal Protocol To Improve Vaccine Rate: A Program Evaluation Review, Magda Angel Cifuentes

Student Scholarly Projects

Practice Problem: Low pneumococcal vaccine uptake among high-risk adults is partly due to underutilized or lack of nurse-driven vaccine protocols, limited understanding of vaccine intervals and indications by nurses, and lack of proper training. Currently, physician-driven orders are the only avenue for high-risk adults to obtain this vaccine in ambulatory sites.

PICOT: In adults 65 years or older within an ambulatory setting, does the use of an adult pneumococcal vaccine protocol, compared to a physician order (no vaccine protocol) impact the rate of vaccination over 2 months?

Evidence: Utilization of two or more interventions provided higher immunization rates. …


Action Planning With Self-Monitoring Blood Pressure Improves Blood Pressure Control In Geriatric Patients, Thuy Ai Oh Apr 2022

Action Planning With Self-Monitoring Blood Pressure Improves Blood Pressure Control In Geriatric Patients, Thuy Ai Oh

Student Scholarly Projects

Practice Problem: Uncontrolled hypertension is a global healthcare problem. Hypertension is controlled in fewer than 1 in 5 people and has been attributed to premature deaths (WHO, 2021).

PICOT: The PICOT question that guided this project was “In patients 65 years of age and older with uncontrolled blood pressure, how does a nurse-led blood pressure control program compared to standard of care improve blood pressure control at an outpatient clinic over 8 weeks?”

Evidence: Five studies provided evidence that a nurse-led blood pressure decreased blood pressure results. The evidence supported the practice change of implementing a nurse-led …


How To Control Healthcare Associated Infection, Yeojin Son, Jungyoon Hur Apr 2022

How To Control Healthcare Associated Infection, Yeojin Son, Jungyoon Hur

Scholars Week

Healthcare-Associated Infections (HAI) are infections patients acquire while receiving care in hospital. The main reasons of occurring the infections are insufficient knowledge about infection control and decreased compliance with rules by hospital protocol. The purpose of this evidence-based presentation is to exemplify how to control HAI via motivating healthcare workers to comply with infection control policy.


Effective Communication In Dementia Patients, Morgan Loveless, Callie Hardesty Apr 2022

Effective Communication In Dementia Patients, Morgan Loveless, Callie Hardesty

Scholars Week

Effective Communication with Dementia Patients - Abstract

Throughout every nurse’s career, one will have the experience of working with those with dementia. Patients who suffer with dementia require different approaches to communication and may have difficult interactions with healthcare workers. A barrier many nurses continue to endure is poor communication and relationships with dementia patients. Many nurses work at a very quick and stressful pace, putting a strain on many nurses’ relationships with dementia patients. Ineffective communication may lower the quality of care dementia patients receive as nurses may lack the extra time needed to effectively communicate. This can lead …


Qualitative Data Analysis For Health Research: A Step-By-Step Example Of Phenomenological Interpretation, Sue Monaro, Janice Gullick, Sandra West Apr 2022

Qualitative Data Analysis For Health Research: A Step-By-Step Example Of Phenomenological Interpretation, Sue Monaro, Janice Gullick, Sandra West

The Qualitative Report

Phenomenological studies have been critiqued when analytic activities and intersection with the underpinning philosophy lack clarity. This methodological discussion paper describes data analysis in hermeneutic interpretive phenomenology. Data management strategies (transcript preparation, coding, philosophy application, tabling/concept maps, and Microsoft Word) and data analysis processes (reduction, display, and conclusion drawing/verification) are illustrated. Deconstruction, reconstruction, and reorganisation of themes/subthemes using hierarchical heading styles to populate the navigation pane and philosophical tenets acted as analytic hooks. This paper has outlined data analysis in hermeneutic interpretive phenomenology, including the use of MS Word and its functionality, which was supported by other data display strategies …


Reducing Delirium And Functional Decline In Hospitalized Older Adults: Pre-Implementation Of Cocare Help, Thomas D. Finn, Autumn Baldwin, Elizabeth Hill Apr 2022

Reducing Delirium And Functional Decline In Hospitalized Older Adults: Pre-Implementation Of Cocare Help, Thomas D. Finn, Autumn Baldwin, Elizabeth Hill

Doctoral Dissertations

Background: Delirium is a change in consciousness characterized by rapid onset and fluctuating attention, causing impairment in the ability to process and recall information, occurring in 30% of hospitalized older adults. Delirium can increase falls, length-of-stay, mortality, and cost. The CoCare Hospital Elder Life Program® (HELP) is an evidence-based bundle of interventions targeting cognitive impairment, sleep deprivation, immobility, visual/hearing impairment, and dehydration, embedding geriatric principles in care to prevent delirium.

Objectives: To further analyze the pre-implementation of the HELP in order to optimize success of program administration.

Methods: Mixed methods were used to collect retrospective/prospective data (interviews (N=25], surveys [N=25], …


Developing A Standardized Process For An Effective, Evidence-Based Fall Management Program To Reduce Falls In A Nursing Home Setting, Katrina K. Little Apr 2022

Developing A Standardized Process For An Effective, Evidence-Based Fall Management Program To Reduce Falls In A Nursing Home Setting, Katrina K. Little

Doctor of Nursing Practice Projects

Background: Falls among the elderly population, aged 65 years and older, are a significantly growing public health problem. For elderly people residing in residential care facilities and facility administrators, falls are of great concern due to the post-fall associated consequences. Preventing resident falls in long-term care is a priority to reduce injuries and associated costs.

Project Design: This evidence-based quality improvement (EBQI) pilot project focused on fall prevention and was conducted on 1 unit (3 long-term care hallways) at a facility that provides both long-term care (LTC) and short-term rehabilitation services in Utah County, Utah. Interventions chosen for the Falls …


Alzheimer's And Patient Caregiver Burnout: A Review Of The Literature, Madeline Hekeler Mar 2022

Alzheimer's And Patient Caregiver Burnout: A Review Of The Literature, Madeline Hekeler

James Madison Undergraduate Research Journal (JMURJ)

The term “silent epidemic” is fitting for Alzheimer’s disease (AD), as its negative impact is widely felt but rarely discussed. Burnout among AD caregivers has become an epidemic of its own as caregivers experience an increase in health risks, stress, and financial burden. This literature review focuses on caregiver burnout and how imperative it is that caregivers are better supported in their role. Researchers have developed instruments to assess and intervene in caregiver burnout that have shown effectiveness among caregivers and their families.Nevertheless, further longitudinal research is warranted regarding more effective interventions, including stress management and social support mechanisms.


Prevention Of Central Line-Associated Blood Stream Infection (Clabsi) In Adult Icu Patients, Salima Allahbachayo Mar 2022

Prevention Of Central Line-Associated Blood Stream Infection (Clabsi) In Adult Icu Patients, Salima Allahbachayo

Student Scholarly Projects

Practice Problem: Central line-associated bloodstream infections (CLABSI) account for most hospital-associated preventable infections in the United States and globally. Implementation of a multifaceted approach including evidence-based CLABSI bundle care has shown to prevent this infection in patients with a central line.

PICOT: The PICOT question that guided this project was that in adult intensive care unit (ICU) patients, how does the use of central line bundle care compared to central line care without bundle decrease central line-associated bloodstream infections within eight weeks?

Evidence: The evidence from a rigorous literature review showed that using a central line bundle …


Delirium Screening To Prevent Falls In The Long-Term Care Setting, Jonathan David White, Bsn, Rn, Samereh Abdoli, Phd, Rn Feb 2022

Delirium Screening To Prevent Falls In The Long-Term Care Setting, Jonathan David White, Bsn, Rn, Samereh Abdoli, Phd, Rn

Graduate Publications and Other Selected Works - Doctor of Nursing Practice (DNP)

Abstract

Background

Nearly 30 million people fall in the United States (U.S.) every year with 20% resulting in serious injury. These incidents disproportionately occur in the elderly population. Of the 1.6 million people living in long-term care (LTC) settings in the U.S., between 50-75% experience a fall annually with many experiencing multiple falls. This population is 2 times as likely to experience such an event – and due to increased age, they are least likely to recover. Delirium, a main contributing factor to fall, has been found to go undetected in as many as 66% of individuals in the clinical …


Elder Care In The Midst Of The Pandemic: Moving Beyond The Rhetoric, An Interview With Dr. Carole Estabrooks | Entrevue Avec Dre Carole Estabrooks : Les Soins Aux Personnes Âgées Dans Le Cadre De La Pandémie : Aller Au-Delà Du Discours, Florence Myrick, Jacinthe I. Pepin Feb 2022

Elder Care In The Midst Of The Pandemic: Moving Beyond The Rhetoric, An Interview With Dr. Carole Estabrooks | Entrevue Avec Dre Carole Estabrooks : Les Soins Aux Personnes Âgées Dans Le Cadre De La Pandémie : Aller Au-Delà Du Discours, Florence Myrick, Jacinthe I. Pepin

Quality Advancement in Nursing Education - Avancées en formation infirmière

No abstract provided.


Person-Centered Care Practices In Nursing Homes: Staff Perceptions And The Organizational Environment, Sarah Dys, Ozcan Tunalilar, Serena B. Hasworth, Jaclyn Winfree, Diana L. White Feb 2022

Person-Centered Care Practices In Nursing Homes: Staff Perceptions And The Organizational Environment, Sarah Dys, Ozcan Tunalilar, Serena B. Hasworth, Jaclyn Winfree, Diana L. White

Institute on Aging Publications

Person-centered care (PCC) is considered the standard to assure quality of care and quality of life in longterm care, benefiting both residents and staff. This study examines the associations between nursing home staff perceptions of person-centered care practices, the organizational system, and work-related attitudes in a sample of 340 nurses and direct care workers across 32 nursing homes in Oregon. Random-intercepts regression models were used to estimate within- and between-nursing home variation in staff perceptions of PCC practices as measured by the Staff Assessment of Person-Directed Care (SA-PDC), and identify characteristics associated with these perceptions. Staff in nursing homes that …


A Physical Therapy Mobility Checkup For Older Adults: Feasibility And Participant Preferences From A Discrete Choice Experiment, Dalerie Lieberz, Hannah Borgeson, Steven Dobson, Lindsey Ewings, Karen Johnson, Kori Klaysmat, Abby Schultz, Rachel Tasson, Alexandra L. Borstad Jan 2022

A Physical Therapy Mobility Checkup For Older Adults: Feasibility And Participant Preferences From A Discrete Choice Experiment, Dalerie Lieberz, Hannah Borgeson, Steven Dobson, Lindsey Ewings, Karen Johnson, Kori Klaysmat, Abby Schultz, Rachel Tasson, Alexandra L. Borstad

Journal of Patient-Centered Research and Reviews

Purpose: Physical performance measures, like walking speed, identify and predict preclinical mobility disability but are rarely used in routine medical care. A preventive model of care called Mobility Checkup is being designed to reduce mobility disability in older adults. This study had two purposes: 1) determine feasibility and outcomes of the Mobility Checkup, and 2) identify preferences of older adults regarding this model of care using a discrete choice experiment.

Methods: Adults over 55 years of age were recruited from the community. In the study’s first phase, participants completed a Mobility Checkup, with feasibility evaluated using 6 criteria. In the …


Care Coordination And Empowerment In People With Type 2 Diabetes, Erik M. Wilson Jan 2022

Care Coordination And Empowerment In People With Type 2 Diabetes, Erik M. Wilson

College of Nursing and Health Sciences Doctor of Nursing Practice (DNP) Project Publications

  1. Background: In 2018, approximately one in seven Americans had been diagnosed with Type 2 Diabetes, a number that is projected to increase to one in three by 2050. Approximately 40% of individuals with Type 2 diabetes develop long-term complications, accounting for one-in-four healthcare dollars spent in the United States. Current initiatives supported through Accountable Care Organizations place an emphasis on improving the quality of care delivered in chronic medical problems such as diabetes to optimize patient outcomes, moving away from the traditional fee-for-service. One cornerstone of improving quality of care is care coordination and education.
  1. Methods: Utilizing the Plan-Do-Study-Act methodology …


Improving The Process Of Pain Management By Implementing Best Practices In A Nursing Home, Sukhjit Dhillon Jan 2022

Improving The Process Of Pain Management By Implementing Best Practices In A Nursing Home, Sukhjit Dhillon

Doctoral Projects

Pain is often untreated or undertreated among older adults living in nursing homes. The lack of standardized pain management protocols makes it difficult to address pain in this population. Deficiencies in pain management and documentation were identified in a nursing home and a performance improvement project was implemented with the aim to improve pain management, pain documentation, and staff knowledge of pain management. A pre-and post-intervention study design was used, and data analysis included descriptive statistics and a paired samples t-test. Participants (n=12) included seven registered nurses and five licensed vocational nurses who provide direct care to the residents in …


ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพในผู้ป่วยเบาหวานขึ้นจอประสาทตา, ณิชนันทน์ พันธ์เสถียร Jan 2022

ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพในผู้ป่วยเบาหวานขึ้นจอประสาทตา, ณิชนันทน์ พันธ์เสถียร

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานขึ้นจอประสาทตาก่อนและหลังได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองและ 2) เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานขึ้นจอประสาทตาระหว่างกลุ่มซึ่ง ได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองและกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 วัยผู้ใหญ่ อายุน้อยกว่า 60ปี ที่และมีภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตา เข้ารับบริการที่ห้องตรวจจักษุ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ จำนวน 72 คน แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 36 คน กลุ่มทดลอง 36 คน จับคู่ให้มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกันได้แก่ ระดับการมองเห็น และระดับความรุนแรงของภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตา กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ ส่วนกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองโดยผสมผสานแนวคิดของ Lorig and Holman (2003) ร่วมกับการให้ความรู้และการสนับสนุนการจัดการตนเองของผู้เป็นเบาหวาน (Diabetes Self-Management Education) ประกอบด้วยขั้นตอน 1. การประเมิน (Assessment) 2. การตั้งเป้าหมาย (Goal setting) 3.การวางแผนการปฏิบัติ (Planning) 4. การนำแผนที่วางไว้ไปปฏิบัติ (Implementation) 5.การประเมินผลการปฏิบัติ (Evaluation) ใช้ระยะเวลาทั้งหมด 12 สัปดาห์ เครื่องมือดำเนินการทดลองประกอบด้วยแผนการสอน คู่มือการจัดการตนเองแบบบันทึกเป้าหมายการจัดการตนเอง เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและแบบประเมินคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพสำหรับผู้ป่วยเบาหวานขึ้นจอประสาทตา ซึ่งมีค่าสัมประสิทธ์อัลฟาครอนบาคเท่ากับ.82 การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติ paired sample t- test, independent sample t –test และ ANCOVA ผลการวิจัยพบว่า 1. คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวานขึ้นจอประสาทตาในกลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวานขึ้นจอประสาทตา ในกลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองดีกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05


ปัจจัยทํานายพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง, รัชนี พระราช Jan 2022

ปัจจัยทํานายพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง, รัชนี พระราช

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นรื้อรังเพศชายและหญิง จำนวน 132 ราย ที่มารับบริการ ณ แผนกผู้ป่วยนอกอายุรกรรมทั่วไปและคลินิกโรคปอด โรงพยาบาลราชวิถี และโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามอาการหายใจลำบาก แบบสอบถามความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร แบบประเมินภาวะทุพโภชนาการ แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม และแบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหาร แบบสอบถามหาค่าความตรงตามเนื้อหาได้เท่ากับ 1.00, 0.81, 0.93, 0.96 และ 1.00 ตามลำดับ และได้ความเที่ยงเท่ากับ .74, .72, .95 และ .87 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสถิติถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า 1. ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารอยู่ในระดับดี คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 65.23 (SD = 6.55) 2. ปัจจัยที่สามารถทำนายพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังได้สูงสุดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร (b = .407, p < .05) รองลงมา คือ การสนับสนุนทางสังคม (b = .366, p < .05) และภาวะทุพโภชนาการ (b = -.140, p < .05) ตามลำดับ และสามารถร่วมทำนายพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังได้ร้อยละ 46.2 (Adjusted R2 = .462, F = 38.533, p < .05)


ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับกลุ่มอาการขาอยู่ไม่สุขขณะพักของผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม, เบญจมาศ แสงสว่าง Jan 2022

ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับกลุ่มอาการขาอยู่ไม่สุขขณะพักของผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม, เบญจมาศ แสงสว่าง

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบหาความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาในการฟอกเลือด โรคร่วม ดัชนีมวลกาย ระดับแคลเซียม ระดับฮีโมโกลบิน อาการนอนไม่หลับ ภาวะซึมเศร้า และภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับจากการอุดกั้นทางเดินหายใจ และกลุ่มอาการขาอยู่ไม่สุขขณะพักของผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา โรงพยาบาลสระบุรี จำนวน 101 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะสุขภาพ แบบบันทึกข้อมูลผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง แบบสอบถามความรุนแรงของกลุ่มอาการขาอยู่ไม่สุขขณะพัก แบบสอบถามอาการนอนไม่หลับ แบบสอบถามภาวะซึมเศร้า และแบบสอบถามภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับจากการอุดกั้นทางเดินหายใจ แบบสอบถามได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ตรวจสอบความเที่ยงเท่ากับ 0.84, 0.89, 0.89 และ 0.73 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน สเปียร์แมน และอีต้า ผลการวิจัย สรุปได้ดังนี้ 1. ความรุนแรงของกลุ่มอาการขาอยู่ไม่สุขขณะพักของผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมอยู่ในระดับรุนแรงปานกลาง (x=13.91, SD=9.74) 2. โรคเบาหวาน ดัชนีมวลกาย อาการนอนไม่หลับ ภาวะซึมเศร้า และภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับจากการอุดกั้นทางเดินหายใจมีความสัมพันธ์ทางบวกกับกลุ่มอาการขาอยู่ไม่สุขขณะพักผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (r=0.249, 0.213, 0.521, 0.416 และ 0.222 ตามลำดับ) โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง ระยะเวลาในการฟอกเลือด ระดับแคลเซียม ระดับฮีโมโกลบินไม่มีความสัมพันธ์กับทางบวกกับกลุ่มอาการขาอยู่ไม่สุขขณะพักผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05


ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้าต่ออาการท้องอืดในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีผ่านกล้อง, กัญธิดา พันทรังษี Jan 2022

ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้าต่ออาการท้องอืดในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีผ่านกล้อง, กัญธิดา พันทรังษี

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้าต่ออาการท้องอืดในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีผ่านกล้อง ตามแนวคิดการจัดการกับอาการของ Dodd (2001) และแนวคิดการนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้า กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ที่ได้รับการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีผ่านกล้อง เข้ารับการรักษาตัวที่หอผู้ป่วยศัลยกรรม โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี แบ่งกลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 22 คน โดยการจับคู่ อายุ จำนวนยาแก้ปวดที่ได้รับระหว่างการผ่าตัด และระยะเวลาในการผ่าตัด กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้า เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ โปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้า ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ1) การประเมินประสบการณ์การมีอาการท้องอืดหลังการผ่าตัด 2) กลวิธีการจัดการกับอาการท้องอืดหลังผ่าตัด และ 3) การประเมินผลการจัดการอาการท้องอืดหลังการผ่าตัด เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบประเมินอาการท้องอืด ซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค ได้เท่ากับ 0.84 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติการทดสอบความแปรปรวนแบบเกี่ยวข้อง (Repeated – measures ANOVA) ผลการวิจัยสรุปดังนี้ อาการท้องอืดหลังการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีผ่านกล้องของกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้าน้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติในช่วงเวลาหลังผ่าตัดวันที่ 1 4 ชั่วโมง, 8 ชั่วโมง และหลังผ่าตัดวันที่ 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05


ปัจจัยทำนายระยะเวลาการมาโรงพยาบาลเพื่อตรวจครั้งแรกของผู้ที่เป็นโรคมะเร็งเต้านม, จันทร พูลพิพัฒน์ Jan 2022

ปัจจัยทำนายระยะเวลาการมาโรงพยาบาลเพื่อตรวจครั้งแรกของผู้ที่เป็นโรคมะเร็งเต้านม, จันทร พูลพิพัฒน์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาย้อนหลังแบบพรรณนาเชิงทำนาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระยะเวลาการมาโรงพยาบาลเพื่อตรวจครั้งแรกของผู้ที่เป็นโรคมะเร็งเต้านม และศึกษาปัจจัยทำนายระยะเวลาการมาโรงพยาบาลเพื่อตรวจครั้งแรกของผู้ที่เป็นโรคมะเร็งเต้านมจากปัจจัยด้านอายุ ฐานะทางเศรษฐกิจ ความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านม ความกลัวการวินิจฉัยและการรักษา และการได้รับแรงสนับสนุนทางสังคม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ที่เป็นโรคมะเร็งเต้านมรายใหม่ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งเต้านมทุกระยะของโรคที่มารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอกศัลยกรรม คลินิกเต้านม แผนกรังสีรักษา และแผนกเคมีบำบัด โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ จำนวน 41 คน และโรงพยาบาลมะเร็งชลบุรี จำนวน 69 คน รวม 110 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 5 ส่วน ได้แก่ 1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบบันทึกระยะเวลาการมาโรงพยาบาล 3) แบบประเมินความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านม 4) แบบสอบถามความกลัวการวินิจฉัยและการรักษา 5) แบบสอบถามการได้รับแรงสนับสนุนทางสังคม ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน มีค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 1.00, 1.00, .83, .92, .78 ตามลำดับ ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคเท่ากับ .88, .81 ตามลำดับ แบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมมีค่า KR-20 เท่ากับ 0.70 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษา พบว่า 1) ระยะเวลาการมาโรงพยาบาลของผู้ที่เป็นโรคมะเร็งเต้านมตั้งแต่พบอาการผิดปกติครั้งแรกจนกระทั่งมาโรงพยาบาลเพื่อตรวจครั้งแรกมีระยะเวลาเฉลี่ย 119.45 วัน 2) ปัจจัยที่ทำนายระยะเวลาการมาโรงพยาบาลเพื่อตรวจครั้งแรกของผู้ที่เป็นโรคมะเร็งเต้านม ประกอบด้วย 2 ตัวแปร ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านม (Beta=-.447) และการได้รับแรงสนับสนุนทางสังคม (Beta=-.236) สามารถร่วมกันทำนายระยะเวลาการมาโรงพยาบาลเพื่อตรวจครั้งแรกของผู้ที่เป็นโรคมะเร็งเต้านมได้ ร้อยละ 24.7 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับปัจจัยด้านอายุ ฐานะทางเศรษฐกิจ ความกลัวการวินิจฉัยและการรักษา ไม่สามารถทำนายระยะเวลาการมาโรงพยาบาลเพื่อตรวจครั้งแรกของผู้ที่เป็นโรคมะเร็งเต้านมได้


Substance Use Disorder: Primary Care Screening, Shari P. Shaltout Jan 2022

Substance Use Disorder: Primary Care Screening, Shari P. Shaltout

Doctor of Nursing Practice (DNP) Projects

Substance use disorder is a significant problem in the United States causing considerable distress and cost to the healthcare system as well as familial, community, and societal resources. Based on evidence-based research, a statement by the United States Preventive Services Task Force in 2015, recommends substance use disorder screening for adults in the primary care setting. A review of the literature concerning screening tools for substance use disorder resulted in twelve studies being included. The purpose of this project is to determine if the more comprehensive substance use disorder screening tool, ASSIST, identifies more at risk patients than the current …


Implementation Of Telehealth Clinical Nurse Leader Interventions To Reduce Rehospitalizations In Rural Home Health Patients, Briana White Jan 2022

Implementation Of Telehealth Clinical Nurse Leader Interventions To Reduce Rehospitalizations In Rural Home Health Patients, Briana White

DNP Scholarly Projects

Reimbursement for home-based care is moving towards a value-based purchasing (VBP) model. This change brings a renewed sense of urgency to focus efforts in care delivery to sustain positive outcomes such as reducing rehospitalizations. The Clinical Nurse Leader role has been instrumental in hospital settings in improving patient outcomes, and evidence points toward the potential success of implementation of this role in the rural microsystem setting. This quality improvement project implemented a remote telehealth intervention led by Clinical Nurse Leaders, to decrease rehospitalizations of Medicare patients assessed as at-risk for 30-day rehospitalization. The DMAIC QI model was used to ensure …


ผลของโปรแกรมการจัดการอาการร่วมกับการใช้ผ้ารัดหน้าท้องประคบเย็นต่อความปวด ในผู้ป่วยหลังผ่าตัดตับแบบเปิดช่องท้อง, ธนิกานต์ กฤษณะ Jan 2022

ผลของโปรแกรมการจัดการอาการร่วมกับการใช้ผ้ารัดหน้าท้องประคบเย็นต่อความปวด ในผู้ป่วยหลังผ่าตัดตับแบบเปิดช่องท้อง, ธนิกานต์ กฤษณะ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษาวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการอาการร่วมกับการใช้ผ้ารัดหน้าท้องประคบเย็นต่อความปวดในผู้ป่วยหลังผ่าตัดตับแบบเปิดช่องท้อง กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยในที่ได้รับการผ่าตัดตับแบบเปิดช่องท้อง เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยศัลยกรรม โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวกตามคุณสมบัติที่กำหนดจำนวน 44 คน แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 22 ราย ได้รับการจับคู่ด้วย เพศ อายุ ประสบการณ์การผ่าตัดในอดีต และชนิดของยาแก้ปวดที่ได้รับ กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติและกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการอาการร่วมกับการใช้ผ้ารัดหน้าท้องประคบเย็นที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากแนวคิดการจัดการอาการของ Dodd และคณะ (2001) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมินความปวดแบบมาตรวัดความปวดด้วยสายตา (Visual analog scale) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และสถิติ Independent sample t-test ผลการศึกษาพบว่า 1. ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดตับแบบเปิดช่องท้องภายหลังได้รับโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการใช้ผ้ารัดหน้าท้องประคบเย็นมีค่าเฉลี่ยคะแนนความปวดต่ำกว่ากว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05


Developing A Telehealth Protocol For Cognitive Testing, Victoria M. Greenough Dnpc, Rn Jan 2022

Developing A Telehealth Protocol For Cognitive Testing, Victoria M. Greenough Dnpc, Rn

College of Nursing and Health Sciences Doctor of Nursing Practice (DNP) Project Publications

BACKGROUND:

When the Coronavirus pandemic reached the United States in March 2020, many healthcare services moved to telehealth delivery. For patients with cognitive impairment, the Mini Mental Status Examination (MMSE) moved from traditional face-to-face assessment to telehealth testing in one Vermont specialty clinic. The aim of this DNP project was to provide quality assurance of this method prior to implementation of the MMSE Version 2 that would follow a similar telehealth protocol.

METHODS:

To assess MMSE quality administered via telehealth, a retrospective chart review of patients (n=30) seen between April 2020 and September 2021 was completed. Linear regression calculated the …


ผลของโปรแกรมการช่วยเลิกบุหรี่แบบสั้นต่อพฤติกรรมการเลิกบุหรี่ในผู้ที่เป็นวัณโรคปอด, วริฐา พรกิจวรกุล Jan 2022

ผลของโปรแกรมการช่วยเลิกบุหรี่แบบสั้นต่อพฤติกรรมการเลิกบุหรี่ในผู้ที่เป็นวัณโรคปอด, วริฐา พรกิจวรกุล

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการช่วยเลิกบุหรี่ต่อพฤติกรรมการเลิกบุหรี่ในผู้ที่เป็นวัณโรคปอด กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยวัณโรคปอดที่สูบบุหรี่อย่างน้อย 1 มวนในช่วง 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา เข้ารับการรักษาที่คลินิกวัณโรค โรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่ง กรุงเทพมหานคร คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด จำนวน 60 คน กำหนดให้ 30 คนแรกเป็นกลุ่มควบคุม และ 30 คนหลังเป็นกลุ่มทดลอง จับคู่กลุ่มตัวอย่างให้มีลักษณะคล้ายคลึงกันในเรื่องอายุและระดับการติดนิโคติน กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ ในขณะที่กลุ่มทดลอง ได้รับการพยาบาลตามปกติและโปรแกรมการช่วยเลิกบุหรี่แบบสั้น เป็นเวลา 8 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมการเลิกบุหรี่ และแบบสอบถามสถานะการสูบบุหรี่ ประเมินการเลิกบุหรี่จากการเลิกสูบบุหรี่ได้ติดต่อกันในช่วง 7 วันก่อนระยะเวลาประเมินผลที่ 2 เดือน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบไคสแควร์ สถิติทีและสถิติซี ผลการทดลองพบว่า 1. คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการเลิกบุหรี่ของผู้ป่วยวัณโรคปอดที่สูบบุหรี่ภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการช่วยเลิกบุหรี่แบบสั้น สูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการเลิกบุหรี่ของผู้ป่วยวัณโรคปอดที่สูบบุหรี่ภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการช่วยเลิกบุหรี่แบบสั้น สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<.05) 3. เมื่อประเมินที่ระยะเวลา 2 เดือนหลังการทดลอง พบว่า ผู้ป่วยวัณโรคปอดที่สูบบุหรี่ในกลุ่มทดลอง เลิกบุหรี่ได้ 12 คน ส่วนกลุ่มควบคุม เลิกบุหรี่ได้ 3 คน อัตราการเลิกบุหรี่ในช่วง 7 วันก่อนประเมินผล ในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)


Clinical Nurse Specialist Job Description Assignment, Diane R. Maydick Youngberg Jan 2022

Clinical Nurse Specialist Job Description Assignment, Diane R. Maydick Youngberg

Open Educational Resources

The Clinical Nurse Specialist (CNS) is an advanced practice registered nurse with expertise in assessment, diagnosis, and treatment of specialty patient populations. In addition to direct care, the CNS role expands to other areas including research, education, quality improvement, and inter professional teamwork. Creating a detailed CNS Job description helps to clarify the role.


ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการรับประทานอาหารของผู้ป่วยกลุ่มอาการภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน, รัชฎาพร บุญสนอง Jan 2022

ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการรับประทานอาหารของผู้ป่วยกลุ่มอาการภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน, รัชฎาพร บุญสนอง

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์เชิงบรรยายเพื่อศึกษาปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการรับประทานอาหารของผู้ป่วยกลุ่มอาการภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยกลุ่มอาการภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน จำนวน 195 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จากผู้ป่วยที่มารับบริการ ณ แผนกผู้ป่วยนอกระบบหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย โรงพยาบาลตำรวจ และโรงพยาบาลศิริราช เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามทั้งหมด 7 ส่วน คือ 1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบสอบถามความรู้เรื่องโรคหัวใจขาดเลือด 3) แบบสอบถามการรับรู้การเจ็บป่วย 4) แบบสอบถามแรงจูงใจ 5) แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม 6) แบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะแห่งตน และ 7) แบบสอบถามพฤติกรรมการรับประทานอาหาร ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน มีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 0.94, 1.0, 1.0, 0.97, 1.0 และ 0.95 ตามลำดับ และตรวจสอบความเที่ยงของเครื่องมือเท่ากับ .76, .80, .73, .91, .96 และ .87 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผู้ป่วยกลุ่มอาการภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการรับประทานอาหารเฉพาะโรค ความรู้ แรงจูงใจ การสนับสนุนทางสังคม และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนอยู่ในระดับสูง (Mean = 100.98 SD = 12.39, Mean = 16.48 SD = 2.16, Mean = 76.03 SD = 8.63, Mean = 67.43 SD = 9.09 และ Mean = 25.73 SD = 3.79 ตามลำดับ) และมีคะแนนการรับรู้การเจ็บป่วยระดับปานกลาง (Mean = 49.81 SD …


ผลของโปรแกรมส่งเสริมการจัดการตนเองที่เน้นการออกกำลังกายแบบมัลติฟิดัสต่ออาการปวดของผู้ที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง, สิริรัตน์ สิริสุรชัชวาล Jan 2022

ผลของโปรแกรมส่งเสริมการจัดการตนเองที่เน้นการออกกำลังกายแบบมัลติฟิดัสต่ออาการปวดของผู้ที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง, สิริรัตน์ สิริสุรชัชวาล

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยกึ่งทดลองนี้ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการจัดการตนเองที่เน้นการออกกำลังกายแบบมัลติฟิดัสต่ออาการปวดของผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างมากกว่า 3 เดือนขึ้นไป อายุ 20-59 ปี เข้ารับบริการแผนกผู้ป่วยนอกศัลยกรรมกระดูก โรงพยาบาลชลบุรี คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์ที่กำหนดแบบเจาะจงเข้ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ 22 คน และกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการจัดการตนเองที่เน้นการออกกำลังกายแบบมัลติฟิดัส 22 คน ระยะเวลา 6 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมิน Short Form McGill Pain Questionnaire (SFMPQ) และแบบประเมินการจัดการตนเอง (SM) ตรวจสอบความเชื่อมั่นของแบบประเมินโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาชเท่ากับ 0.70 และ 0.81 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา, Dependent Sample t-test และ Independent Sample t-test ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง ภายหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมการจัดการตนเองที่เน้นการออกกำลังกายแบบมัลติฟิดัส มีอาการปวดต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรมส่งเสริมการจัดการตนเองที่เน้นการออกกำลังกายแบบมัลติฟิดัสอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง กลุ่มหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมการจัดการตนเองที่เน้นการออกกำลังกายแบบมัลติฟิดัส มีอาการปวดต่ำกว่ากลุ่มหลังได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05