Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Dentistry Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Articles 1 - 30 of 44

Full-Text Articles in Dentistry

Oral Candida Colonization In Thai Denture Wearing Elderly With Hyposalivation, Nada Buranarom Jan 2019

Oral Candida Colonization In Thai Denture Wearing Elderly With Hyposalivation, Nada Buranarom

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Objective: To examine relationships between hyposalivation, oral Candida colonization and oral health status in generally healthy elders and evaluate factors that affect salivary flow rates and Candida colonization in a cross-sectional study. Materials and methods: Fifty-three elderly participants were enrolled and interviewed for medical history, subjective dry mouth symptoms, oral hygiene practice and denture information. Unstimulated and stimulated salivary flow rates, clinical signs of dry mouth, gingival index, tongue coating index and root caries index were recorded. Stimulated saliva samples were cultured on Sabouraud dextrose agar for colony counts and Candida species were identified with chromogenic Candida agar and polymerase …


The Effect Of Different Surface Treatments On Tensile Bond Strength Of Acrylic Denture Teeth And Light-Cured Composite Resin, Chotinut Wongpornpirot Jan 2019

The Effect Of Different Surface Treatments On Tensile Bond Strength Of Acrylic Denture Teeth And Light-Cured Composite Resin, Chotinut Wongpornpirot

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

This study evaluated the effect of different surface treatments on the tensile bond strength between acrylic denture teeth and composite resin. Maxillary lateral incisors of conventional acrylic denture teeth (Yamahachi New Ace) and highly cross-linked acrylic denture teeth (Trubyte Bioform IPN teeth) were ground on the labial surfaces. Each type of denture teeth were divided into six groups (n=10) according to surface treatment procedures which are no surface treatment (control), methyl methacrylate treatment (MMA) for 180 seconds, methyl formate-methyl acetate mixture (MF-MA) solution at a ratio of 25:75 (v/v) treatment for 15 seconds, composite bonding agents, MMA (180 seconds) with …


Color Stability, Nanohardness And Elastic Modulus Of Denture Base Acrylic Resins With Various Polymerization Techniques, Sawita Losuphakarn Jan 2019

Color Stability, Nanohardness And Elastic Modulus Of Denture Base Acrylic Resins With Various Polymerization Techniques, Sawita Losuphakarn

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The objective of this study was to evaluate color stability, nanohardness and elastic modulus of denture base acrylic resins with various polymerization techniques after storing in coffee, distilled water or dark chamber. Ninety disc-shaped (9X2 mm) specimens of heat-cured (TRX), microwave-cured (BTC) and light-cured (TRD) were fabricated, and randomly divided in three conditions (n=10). The color difference (DE*) was measured using a spectrophotometer at 1, 7, 28 and 56 days; The nanohardness and the elastic modulus were measured from three randomly selected of each group at day 1 and day 56 after color measurement. The repeated mixed analysis of variance …


การเปรียบเทียบกำลังแรงยึดเฉือนของเซอร์โคเนียชนิดใส เมื่อยึดด้วยเรซินซีเมนต์ที่ประกอบด้วยหมู่ฟอสเฟตต่างชนิด, ศิรวิชญ์ จิตสุธีศิริ Jan 2019

การเปรียบเทียบกำลังแรงยึดเฉือนของเซอร์โคเนียชนิดใส เมื่อยึดด้วยเรซินซีเมนต์ที่ประกอบด้วยหมู่ฟอสเฟตต่างชนิด, ศิรวิชญ์ จิตสุธีศิริ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

เซอร์โคเนียชนิดใสในงานทันตกรรมมีแนวโน้มถูกใช้โดยทันตแพทย์เพิ่มมากขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากความแข็งแรง และความสวยงามโดยไม่จำเป็นต้องพอกผิวด้วยพอร์ซเลน การยึดวัสดุดังกล่าวต่อฟันมีผลต่อความยั่งยืนของการบูรณะ เรซินซีเมนต์ที่มีฟอสเฟตมอนอเมอร์ชนิดต่างๆถูกอ้างว่าให้แรงยึดที่ดีกว่าต่อวัสดุเซอร์โคเนียชนิดใส หากแต่ยังไม่มีความชัดเจนในศักยภาพของฟอสเฟตมอนอเมอร์ งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการศึกษาค่ากำลังแรงยึดเฉือนของเรซินซีเมนต์สองชนิดที่ประกอบด้วยหมู่ฟอสเฟตต่างชนิดกันบนเซอร์โคเนียชนิดใสต่อคอมโพสิตเรซิน โดยพื้นที่ยึดติดได้ถูกกำหนดตาม ISO 29022:2013 เซอร์โคเนียชนิดใส (Ceramill® zolid fx White) จึงถูกเตรียมให้มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 8.5 มม. หนา 3.2 มม. จำนวน 32 แผ่น และถูกนำมายึดกับคอมโพสิตเรซินชนิดนาโนคอมโพสิต (FiltekTM Z350 XT) ผ่านศูนย์กลาง 3.0 มม. หนา 2.0 มม. ด้วยเรซินซีเมนต์สองชนิดคือ PANAVIA ™ V5 และ Rely X ™ U200 โดยเรซินซีเมนต์แต่ละชนิดจะถูกแบ่งออกอีกเป็นสองกลุ่ม ได้แก่กลุ่มที่ใช้ร่วมกับ Clearfil ceramic primer plus และกลุ่มที่ไม่ใช้ร่วมกับ Clearfil ceramic primer plus ทำให้แบ่งกลุ่มตัวอย่างออกได้เป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 8 ชิ้น และความหนาของเรซินซีเมนต์ถูกกำหนดตาม ISO 4049:2009 ภายหลังการยึดติดชิ้นงานทุกชิ้นถูกนำไปผ่านกระบวนการเทอร์โมไซคลิงจำนวน 5,000 รอบ และถูกทดสอบกำลังแรงยึดเฉือนจนชิ้นคอมโพสิตเรซินหลุดด้วยเครื่องทดสอบแรงดึงแรงอัด(EZ-S, SHIMADZU) และสังเกตรูปแบบความล้มเหลวด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด(SEM)(FEI Quanta 250) ค่ากำลังแรงยึดเฉือนถูกคำนวณด้วยสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุ่มด้วยการทดสอบชนิดทูกีย์ (One-way ANOVA and Tukey’s post hoc test) ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ผลการทดลองกลุ่ม PANAVIA ™ V5 ร่วมกับ Clearfil ceramic primer plus แสดงกำลังแรงยึดเฉือนมากที่สุด (1.38 ± 0.39 เมกะพาสคาล) และมีรูปแบบความล้มเหลวแบบผสมร่วมกับเชื่อมแน่นล้มเหลว โดยความล้มเหลวแบบผสมมีค่าเฉลี่ยร้อยละปริมาณเรซินซีเมนต์คงเหลือบนเซอร์โคเนียชนิดใสมากที่สุด(ร้อยละ 48.56±9.44) กลุ่มPANAVIA …


Prevalence And Oral Health-Related Factors Associated With Mild Cognitive Impairment In Elderly Dental Patients At Faculty Of Dentistry, Chulalongkorn University, Panatcha Weerapol Jan 2019

Prevalence And Oral Health-Related Factors Associated With Mild Cognitive Impairment In Elderly Dental Patients At Faculty Of Dentistry, Chulalongkorn University, Panatcha Weerapol

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

This study aims to assess the prevalence of Mild Cognitive Impairment (MCI) and its oral health-related factors in elderly dental patients at Geriatric dentistry clinic and Prosthodontic clinic of Faculty of Dentistry, Total 248 dental patients aged 60 years and above were recruit. Average age of participants was 68.68 years with 73.0 % female. Cognitive functions were assessed by Montreal Cognitive Assessment Thai version (MoCA-T). Individual data were obtained by self-reported interview. Oral examinations were evaluated by a dentist. The prevalence of MCI was found 29.4% in elderly dental patients and was higher than among general elders. Oral health-related factors …


Use Of Digital Panoramic Radiographs As A Screening Tool For Diagnosis Of Osteoporosis In Thai Postmenopausal Women, Net-Nada Chongruangsri Jan 2019

Use Of Digital Panoramic Radiographs As A Screening Tool For Diagnosis Of Osteoporosis In Thai Postmenopausal Women, Net-Nada Chongruangsri

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Purpose: To investigate the correlation between panoramic radiographic indices and osteoporosis, and to determine whether digital panoramic radiographs could be used as a screening tool for the diagnosis of osteoporosis in Thai postmenopausal women. Materials and Methods: A cross-sectional study of sixty Thai postmenopausal women with and without osteoporosis. The subjects were divided into three groups based on diagnosis by dual-energy X-ray absorptiometry (DXA): normal, osteopenia, and osteoporosis equally in each group. The panoramic radiographic indices measured were mental index (MI) and mandibular cortical index (MCI). Pearson’s correlation test was performed to analyze any correlation between MI, MCI, and BMD …


The Outcome Of Endodontic Treatment Performed By Dental Students: A Retrospective Study, Phonphanit Sivavetpikul, Kessiri Wisithphrom, Peraya Puapichartdumrong Jan 2019

The Outcome Of Endodontic Treatment Performed By Dental Students: A Retrospective Study, Phonphanit Sivavetpikul, Kessiri Wisithphrom, Peraya Puapichartdumrong

Chulalongkorn University Dental Journal

Background/Objectives: The objectives of this study were to evaluate the success and failure rates as well as factors influencing the outcome of initial endodontic treatment performed by dental students at the Faculty of Dentistry, Naresuan University, Thailand, from 2010 to 2015. Materials and Methods: Data from the treatment records, clinical signs and symptoms, and radiographic records of 213 endodontically treated anterior teeth and premolar were collected and evaluated. Digital periapical radiographs obtained at pre-operation and the last follow-up period were interpreted independently by two examiners via Periapical index (PAI) score. Treatment outcome was evaluated as success or failure based on …


การเปรียบเทียบอัตราการยึดติดของวัสดุเคลือบหลุมร่องฟันชนิดขุ่นระหว่างวัสดุนวัตกรรมไทยกับวัสดุนำเข้าบนฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่ง: การศึกษาแบบมีกลุ่มควบคุมที่มีการจัดกลุ่มด้วยวิธีสุ่ม, ดลหทัย สิทธิพงษ์พร Jan 2019

การเปรียบเทียบอัตราการยึดติดของวัสดุเคลือบหลุมร่องฟันชนิดขุ่นระหว่างวัสดุนวัตกรรมไทยกับวัสดุนำเข้าบนฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่ง: การศึกษาแบบมีกลุ่มควบคุมที่มีการจัดกลุ่มด้วยวิธีสุ่ม, ดลหทัย สิทธิพงษ์พร

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบอัตราการยึดติดทางคลินิกของวัสดุเคลือบหลุมร่องฟันเรซินระหว่างวัสดุชนิดขุ่นแอลเอเอส (LAS-opaque) กับวัสดุคลินโปร™ (Clinpro™) การศึกษาทางคลินิกครั้งนี้ออกแบบการทดลองแบบสุ่มเปรียบเทียบภายในบุคคลเดียวกันและอยู่ในขากรรไกรเดียวกัน โดยทำการศึกษาในเด็กจำนวน 56 คน อายุ 6-9 ปี ในฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่งจำนวน 86 คู่ฟัน โดยสุ่มให้ฟันข้างหนึ่งเคลือบด้วยวัสดุชนิดขุ่นแอลเอเอสและอีกข้างหนึ่งเคลือบด้วยวัสดุคลินโปร™ ติดตามอัตราการยึดติดของวัสดุที่ระยะเวลา 6 และ 12 เดือน จำแนกการยึดติดเป็น 3 ลักษณะ ได้แก่ การยึดติดอยู่ทั้งหมด การยึดติดบางส่วน และการหลุดทั้งหมด เปรียบเทียบอัตราการยึดติดของวัสดุทั้งสองด้วยสถิติแม็กนีมาร์ (McNemar test) โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาพบว่าอัตราการยึดติดบริเวณด้านบดเคี้ยวของวัสดุทั้งสองชนิดไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p > 0.05) ที่ระยะเวลา 6 และ 12 เดือน โดยวัสดุเคลือบหลุมร่องฟันชนิดขุ่นแอลเอเอสมีอัตราการยึดติดอยู่ทั้งหมดเท่ากับร้อยละ 75.6 และ 75.9 ที่ระยะเวลา 6 และ 12 เดือน ตามลำดับ ส่วนวัสดุคลินโปร™ มีอัตราการยึดติดเท่ากับร้อยละ 86.6 และ 77.2 ที่ระยะเวลา 6 และ 12 เดือน ตามลำดับ สรุปผลการศึกษาอัตราการยึดติดของวัสดุเคลือบหลุมร่องฟันชนิดขุ่นแอลเอเอสและวัสดุคลินโปรมีอัตราการยึดติดไม่แตกต่างกันที่ระยะเวลา 6 และ 12 เดือน


การวิเคราะห์ค่าเนื้อเยื่ออ่อนจากภาพถ่ายกะโหลกศีรษะด้านข้างในเด็กไทยอายุระหว่าง 7-10 ปี กลุ่มหนึ่ง, ศิพิมพ์ คงเอี่ยม Jan 2019

การวิเคราะห์ค่าเนื้อเยื่ออ่อนจากภาพถ่ายกะโหลกศีรษะด้านข้างในเด็กไทยอายุระหว่าง 7-10 ปี กลุ่มหนึ่ง, ศิพิมพ์ คงเอี่ยม

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

จุดประสงค์ของการวิจัยนี้เพื่อหาค่าปกติของเนื้อเยื่ออ่อนรูปหน้าด้านข้างในเด็กไทยในช่วงอายุ 7-10 ปี จากภาพถ่ายกะโหลกศีรษะด้านข้างในกลุ่มตัวอย่าง 83 คน อายุเฉลี่ย 9.97±0.78 ปี เป็นเพศชาย 43 คน และเพศหญิง 40 คน โดยกลุ่มตัวอย่างที่เลือกจะต้องมี (1) ฟันกรามแท้ซี่ที่ 1 และฟันตัดซี่กลางแท้ขึ้นครบแล้วทุกซี่ (2) ไม่มีฟันหายตั้งแต่กำเนิดและไม่มีการสูญเสียฟันก่อนกำหนด (3) การสบฟันกรามแท้ซี่ที่ 1 แบบประเภทที่ 1 ตามเกณฑ์ของ Angle (Angle’s classification I) และมีระยะเหลื่อมของฟันในแนวดิ่งและแนวระนาบปกติ (4) การเรียงตัวของฟันปกติ หรือมีฟันบิดซ้อนเกหรือมีช่องว่างได้ไม่เกิน 3 มิลลิเมตร (5) ไม่เคยได้รับการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันมาก่อน ผลการศึกษาค่าเฉลี่ยเซฟาโลเมทริกในเด็กไทยที่ได้มีความแตกต่างจากการศึกษาอื่นที่เคยทำในผู้ใหญ่ไทยหรือทำในเด็กต่างประเทศ ค่าเฉลี่ยที่ได้จากการศึกษานี้สามารถใช้เป็นเกณฑ์ในการวิเคราะห์และวินิจฉัย การวางแผนการรักษา และการรักษาผู้ป่วยที่เป็นเด็กไทยในการรักษาทางทันตกรรมจัดฟัน


Proximal Caries Detection On Smartphone Display, Napas Lappanakokiat Jan 2019

Proximal Caries Detection On Smartphone Display, Napas Lappanakokiat

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The aim of this study was to compare diagnostic accuracy in proximal caries detection between bitewing radiographs exported from PACS software and taken with a smartphone viewed in a smartphone display. A total of 200 proximal surfaces from digital bitewing radiographs were included in this study. Images of all radiographs were captured from a medical-grade and a common display by an iPhone 8 Plus and stored as JPEG files. Exported DICOM files were converted into JPEG format and transferred to the smartphone used for image capturing. Each proximal surface was rated by 7 observers with 5-point-scale. Weighted kappa test was …


Microhardness Of Light- And Dual-Cured Resin Cements After Light Curing Through Various Translucencies Of Translucent Monolithic Zirconia, Sawanya Pechteewang Jan 2019

Microhardness Of Light- And Dual-Cured Resin Cements After Light Curing Through Various Translucencies Of Translucent Monolithic Zirconia, Sawanya Pechteewang

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Purpose: This study aims to investigate the microhardness of light- and dual-cured resin cements under various translucencies of monolithic zirconia specimen; translucent (T), super translucent (ST), high translucent (HT), and extra translucent (XT). Materials and Methods: Four different translucencies of zirconia specimen were prepared in the square shape, size 10×10×1 mm. The light-cured resin cement (Variolink® N LC) and the dual-cured (RelyX™ U200) resin cement were mixed and loaded in a 2-mm height and 5-mm diameter of space in a customized mold and cured through the zirconia specimens and 1-mm thick glass slide in a control group, using the light …


Gene Expression Analysis Of Mmp12 And S100a4 Of Grafted Bone Using Allograft And Xenograft In Mice, Tipaporn Jurairutporn Jan 2019

Gene Expression Analysis Of Mmp12 And S100a4 Of Grafted Bone Using Allograft And Xenograft In Mice, Tipaporn Jurairutporn

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Objectives: This study aimed to evaluate the genes of interest that could explain osteoblast and osteoclast activities in bone remodeling after bone grafting with demineralized freeze-dried bone allograft) (DFDBA) and demineralized bovine bone mineral (DBBM) to compare with normal bone healing. Methods: Calvarium defects were created on both side of the parietal bone in nine male C57BL/6MLac mice. Defects were divided into 3 groups; group 1: defect without grafting as a control group, group 2: defect grafted with DFDBA, and group 3: defect grafted with DBBM. The mRNA expression levels of MMP12 and S100A4 were analyzed using real-time PCR in …


Tooth Agenesis In Thai Population: Prevalence, Characteristics And Its Genetic Variant In A Thai Family, Charinya Kanchanasevee Jan 2019

Tooth Agenesis In Thai Population: Prevalence, Characteristics And Its Genetic Variant In A Thai Family, Charinya Kanchanasevee

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Objectives: To assess the prevalence and characteristics of tooth agenesis in Thai population and to identify the genetic variants in a family affected with tooth agenesis. Methods: Panoramic radiographs in a random sample of Thai patients from 15 to 20 years of age which were taken in 2017 at the Faculty of Dentistry, Demographic data (age and sex) and dental characteristics of the patients were recorded. A chi-square test was used to determine the differences in the prevalence of tooth agenesis between sexes, maxillary-mandibular teeth, left-right sides, and numbers of missing teeth. Three mL of blood samples were collected for …


The Study Of Oro-Dental Structures And Application Of Dental Adhesives In Patients Affected With Osteogenesis Imperfecta, Oadcharawadee Nutchoey Jan 2019

The Study Of Oro-Dental Structures And Application Of Dental Adhesives In Patients Affected With Osteogenesis Imperfecta, Oadcharawadee Nutchoey

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Objectives: To investigate genetic mutations, oro-dental features, tooth ultrastructures, and characteristics of total-etch adhesives (Optibond FL; Kerr) and self-etch adhesives (Clearfill SE Bond; Kuraray) applied on the teeth of the patients who affected with syndromic osteogenesis imperfecta and dentiongenesis imperfecta(DGI), compared with the controls. Methods: Three patients were diagnosed with osteogenesis imperfecta and dentinogenesis imperfecta at Faculty of Medicine, Clinical, radiographic, and laboratory examination were performed. Genetic mutations were analyzed by whole-exome sequencing (WES) and Sanger sequencing. Three teeth were obtained, one tooth from each patient (DGI tooth). Each tooth sample was examined for its color by colorimeter, mineral composition …


The Effect Of Surface Treatment On Shear Bond Strength Of Resin-Matrix Ceramics And Dual-Cured Resin Cement, Nuttapong Bunchuansakul Jan 2019

The Effect Of Surface Treatment On Shear Bond Strength Of Resin-Matrix Ceramics And Dual-Cured Resin Cement, Nuttapong Bunchuansakul

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Objective:The purpose of this study was to evaluate the effect of Tetrahydrofuran (THF) on shear bond strength (SBS) between resin matrix ceramics (RMC) materials and resin cements.Methods:RMC materials(Enamic,Cerasmart,Shofu block HC) were cut into square piece of approximately 6x6x2 mm3 and randomly divided into 10 groups following the surface treatment:no treatment(C),adhesive agent(Ad),THF1min(T1),silane/adhesive(Si/Ad),THF1min/adhesive(T1/Ad),THF1min/silane/adhesive(T1/Si/Ad),THF2mins/silane/adhesive(T2/Si/Ad),THF3mins/silane/adhesive(T3/Si/Ad),THF4mins/silane/adhesive(T4/Si/Ad),THF5mins/silane/adhesive(T5/Si/Ad).Specimens were cemented to composite resin rod with resin cement and kept them in water at 37oC for 24 hours.The SBS measurements were tested with universal testing machine.Failure modes were examined by stereomicroscope.The SBS values were analyzed with two-way ANOVA and Bonferroni’s post hoc tests (α = 0.05).Results: The highest …


The Clinical Study Of Wear Between Antagonist Enamel And Polished/Annealed Monolithic Zirconia Crown On Dental Implant After 6-Month Delivery, Supatsorn Benjaniratisai Jan 2019

The Clinical Study Of Wear Between Antagonist Enamel And Polished/Annealed Monolithic Zirconia Crown On Dental Implant After 6-Month Delivery, Supatsorn Benjaniratisai

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

This study aimed to examine the opposing natural tooth wear between polished and annealed monolithic zirconia crownon the dental implantafter 6-month delivery. Seven patients who needed the dental implant treatment were randomized to receive monolithic zirconia crowns (VITA YZ HTWhite, VITA Zahnfabrik, Germany). Total 10 zirconia crowns in 7 patients were included in this study. The samples of zirconia crown were categorized into two groups based on occlusal surface modifications of the zirconia crowns before delivery, including: Polished (Po) and Annealed (An). Each group contained 5 samples of zirconia crowns limited to either molar and premolar restorations. Control teeth were …


การเปรียบเทียบปริมาณรังสีกระเจิงกลับจากวัสดุทางทันตกรรมชนิดโลหะขณะที่ได้รับรังสีรักษา, ธัญสินี คูณาภินันท์ Jan 2019

การเปรียบเทียบปริมาณรังสีกระเจิงกลับจากวัสดุทางทันตกรรมชนิดโลหะขณะที่ได้รับรังสีรักษา, ธัญสินี คูณาภินันท์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

อุบัติการณ์ของผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งบริเวณช่องปากในประเทศไทยพบว่ามีประมาณร้อยละ 5.4 ของประชากรทั้งหมดทั้งในเพศชายและเพศหญิง ผู้ป่วยเหล่านี้อาจได้รับการฉายรังสีรักษาก่อน และ/หรือหลังการรักษาจากการผ่าตัด วัสดุทางทันตกรรมหลายชนิดที่มีการกระเจิงกลับของรังสีรักษาจะส่งผลทำให้เกิดปริมาณรังสีกระเจิงกลับบริเวณรอบๆเนื้อเยื่อในช่องปากหรือกระดูกที่ติดกับวัสดุเหล่านี้เพิ่มขึ้นและเกิดผลข้างเคียงตามมาคือภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบและการเกิดกระดูกตาย วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้จึงทำเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบปริมาณรังสีกระเจิงกลับของวัสดุทางทันตกรรมชนิดโลหะ 4 ชนิดคือ โลหะผสมทองชนิดที่ 4, แพลลาเดียมอัลลอย, ไทเทเนียมบริสุทธิ์เชิงพาณิชย์ (ระดับ 4) และไทเทเนียมอัลลอยที่ผลิตโดยวิธีเลเซอร์เผาผนึก โดยนำมาฉายด้วยรังสีโฟตอนขนาด 200 cGy และให้พลังงานรังสี 6 MV จากเครื่องฉายรังสีชนิดเร่งอนุภาคเชิงเส้น(ลิแนค) ซึ่งเป็นรังสีที่มีชนิดและขนาดเดียวกับรังสีที่ใช้รักษามะเร็งศีรษะและลำคอ ในการทดลองจะฉายรังสีจำนวน 2 ครั้งต่อกลุ่มชนิดโลหะ โดยแต่ละกลุ่มชนิดโลหะจะประกอบไปด้วยชิ้นงานขนาด 8x13x1 มม.3 จำนวน 5 ชิ้น แต่ละชิ้นงานจะมีแผ่นวัดรังสีโอเอสแอลประกบแนบสนิทอยู่ด้านบนเพื่อทำการวัดปริมาณรังสีกระเจิงกลับที่ระยะประชิดผิวชิ้นงาน(0 มม.) จากนั้นจึงทำการคำนวณหาร้อยละของปริมาณรังสีกระเจิงกลับที่เพิ่มขึ้นจากวัสดุทางทันตกรรมชนิดโลหะทั้ง 4 ชนิดและเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างกลุ่มโดยใช้สถิติชนิดวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 และใช้ Post Hoc Test คือ Bonferroni ผลการวิจัยพบว่าเมื่อเปรียบเทียบปริมาณรังสีกระเจิงกลับและร้อยละของปริมาณรังสีที่เพิ่มขึ้นระหว่างกลุ่มโลหะผสมทองและแพลลาเดียมอัลลอย เทียบกับไทเทเนียมบริสุทธิ์เชิงพาณิชย์ (ระดับ 4) และไทเทเนียมอัลลอยที่ผลิตโดยวิธีเลเซอร์เผาผนึกนั้นมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อย่างไรก็ตามพบว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของปริมาณรังสีกระเจิงกลับและร้อยละของปริมาณรังสีกระเจิงกลับที่เพิ่มขึ้นระหว่างกลุ่มไทเทเนียมบริสุทธิ์เชิงพาณิชย์ (ระดับ 4) และไทเทเนียมอัลลอยที่ผลิตโดยวิธีเลเซอร์เผาผนึก สรุปได้ว่าปริมาณรังสีกระเจิงกลับที่เพิ่มขึ้นในกลุ่มวัสดุทางทันตกรรมชนิดโลหะ 4 ชนิดเรียงลำดับจากน้อยที่สุดไปมากที่สุดคือ ไทเทเนียมอัลลอยที่ผลิตโดยวิธีเลเซอร์เผาผนึก, ไทเทเนียมบริสุทธิ์เชิงพาณิชย์ (ระดับ 4), แพลลาเดียมอัลลอย และโลหะผสมทอง


กำลังแรงยึดเฉือนระหว่างแบร็กเกตจัดฟันโลหะกับเซอร์โคเนียที่ใช้การปรับสภาพผิวและเรซินแอดฮีซีฟที่แตกต่างกัน, พลอยลดา วิทวัสพันธุ์ Jan 2019

กำลังแรงยึดเฉือนระหว่างแบร็กเกตจัดฟันโลหะกับเซอร์โคเนียที่ใช้การปรับสภาพผิวและเรซินแอดฮีซีฟที่แตกต่างกัน, พลอยลดา วิทวัสพันธุ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

วัตถุประสงค์ของการทดลองนี้เพื่อเปรียบเทียบกำลังแรงยึดเฉือนระหว่างแบร็กเกตจัดฟันโลหะกับเซอร์โคเนียที่ผ่านการปรับสภาพผิวที่แตกต่างกัน เตรียมเซอร์โคเนียขนาด 8 x 8 x 2 มิลลิเมตร จำนวน 12 กลุ่ม กลุ่มละ 10 ชิ้น เผาซินเทอร์ นำไปฝังลงในท่อพีวีซีด้วยยิปซัมทางทันตกรรมและขัดเรียบ ผิวของเซอร์โคเนียถูกปรับสภาพผิวโดยการพ่นผงอะลูมิเนียมออกไซด์ (S) การกรอด้วยเข็มกรอกากเพชร (G) การทาสารปรับปรุงผิวเซอร์โคเนียไพรเมอร์ (Z) การพ่นผงอะลูมิเนียมออกไซด์ร่วมกับทาสารปรับปรุงผิวเซอร์โคเนียไพรเมอร์ (SZ) การกรอด้วยเข็มกรอกากเพชรร่วมกับทาสารปรับปรุงผิวเซอร์โคเนียไพรเมอร์ (GZ) และกลุ่มที่ไม่ได้ปรับสภาพผิวเป็นกลุ่มควบคุม จากนั้นแบ่งชิ้นงานออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มที่หนึ่งนำแบร็กเกตจัดฟันมาเชื่อมติดชิ้นงานด้วยเรซินแอดฮีซีฟทรานสบอนด์ เอ็กซ์ที (TransbondTM XT) กลุ่มที่สองนำแบร็กเกตจัดฟันมาเชื่อมติดชิ้นงานด้วยเรซินซีเมนต์รีไลน์เอ็กซ์ยูสองร้อย (RelyXTM U200) จากนั้นแช่ไว้ในน้ำกลั่นที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นทดสอบค่ากำลังแรงยึดเฉือนด้วยเครื่องทดสอบอเนกประสงค์ โดยใช้ความเร็วในการทดสอบที่ 1 มิลลิเมตรต่อนาที ศึกษาลักษณะความล้มเหลวที่เกิดขึ้นด้วยกล้องจุลทรรศน์ชนิดสเตอริโอ และวิเคราะห์พื้นผิวของเซอร์โคเนียด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด จากนั้นนำผลที่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติเปรียบเทียบโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสามทาง (Three-way ANOVA) ใช้สถิติความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-way ANOVA) และสถิติเวลช์ (Welch) เปรียบเทียบค่ากำลังแรงยึดเฉือนแต่ละกลุ่ม ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 จากผลการศึกษาพบว่าการใช้เข็มกรอกากเพชร กรอที่ผิวเซอร์โคเนียช่วยเพิ่มความขรุขระที่ผิวและสามารถเพิ่มค่ากำลังแรงยึดเฉือนได้ดีกว่าการพ่นผงอะลูมิเนียมออกไซด์ และไม่ได้รับการปรับสภาพพื้นผิวเชิงกล การทาสารปรับปรุงผิวเซอร์โคเนียไพรเมอร์ (MDP) ให้ค่ากำลังแรงยึดเฉือนมากกว่ากลุ่มที่ไม่ได้ทาสารปรับปรุงผิวเซอร์โคเนียไพรเมอร์ในทุกกลุ่ม หากไม่ได้ทาสารปรับปรุงผิวเซอร์โคเนียไพรเมอร์ กลุ่มที่ใช้เรซินซีเมนต์รีไลน์เอ็กซ์ยูสองร้อยให้ค่ากำลังแรงยึดเฉือนสูงกว่ากลุ่มที่ใช้เรซินแอดฮีซีฟทรานสบอนด์ เอ็กซ์ที อย่างมีนัยสำคัญอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) การปรับสภาพผิวเซอร์โคเนียด้วยการกรอด้วยเข็มกรอกากเพชรร่วมกับการทาสารปรับปรุงผิวเซอร์โคเนียไพรเมอร์ มีประสิทธิภาพในการเพิ่มแรงยึดของแบร็กเกตจัดฟันซึ่งอาจลดปัญหาการหลุดของแบร็กเกตขณะรักษาและเพิ่มความสำเร็จของการรักษาได้


การศึกษาเปรียบเทียบความสำเร็จของการรักษาเนื้อเยื่อในโดยอ้อมในฟันกรามน้ำนมล่างระหว่างคลอร์เฮกซิดีนกลูโคเนตและแคลเซียมไฮดรอกไซด์: ศึกษาทางคลินิกที่ระยะเวลา 6 เดือน, ปวิตรา วุฒิกรวิภาค Jan 2019

การศึกษาเปรียบเทียบความสำเร็จของการรักษาเนื้อเยื่อในโดยอ้อมในฟันกรามน้ำนมล่างระหว่างคลอร์เฮกซิดีนกลูโคเนตและแคลเซียมไฮดรอกไซด์: ศึกษาทางคลินิกที่ระยะเวลา 6 เดือน, ปวิตรา วุฒิกรวิภาค

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความสำเร็จทางคลินิกและภาพรังสีของการรักษาเนื้อเยื่อในโดยอ้อมในฟันกรามน้ำนมล่างระหว่างคลอร์เฮกซิดีนกลูโคเนต และแคลเซียมไฮดรอกไซด์ วิธีการศึกษา: ฟันกรามน้ำนมล่างผุลึกจำนวน 63 ซี่ จากเด็กอายุ 3-8 ปี จำนวน 38 คน ได้รับการคัดเข้างานวิจัย ฟันทุกซี่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีเนื้อเยื่อในโพรงฟันปกติหรือมีการอักเสบชนิดผันกลับได้ และจากภาพรังสีพบรอยผุลึกถึง 1 ใน 3 ของเนื้อฟันชั้นใน โดยได้รับการแบ่งกลุ่มแบบสุ่มเป็น 2 กลุ่ม เพื่อรักษาเนื้อเยื่อในโดยอ้อมด้วยคลอร์เฮกซิดีนกลูโคเนตจำนวน 31 ซี่ และแคลเซียมไฮดรอกไซด์จำนวน 32 ซี่ ฟันทุกซี่ได้รับการบูรณะด้วยครอบฟันเหล็กไร้สนิม และติดตามผลทางคลินิกและภาพรังสีที่ระยะเวลา 6 เดือนหลังรักษา ผลการศึกษา: ฟันกรามน้ำนมล่างผุจำนวน 57 ซี่ จากเด็กจำนวน 32 คน ได้รับการตรวจติดตามผลทางคลินิกและภาพรังสีที่ระยะเวลา 6 เดือน พบว่ากลุ่มที่รักษาเนื้อเยื่อในโดยอ้อมด้วยคลอร์เฮกซิดีนกลูโคเนต และแคลเซียมไฮดรอกไซด์ ให้ผลสำเร็จในการรักษาทางคลินิกและภาพรังสีเท่ากับร้อยละ 88.89 และ 86.67 ตามลำดับ โดยไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างกลุ่ม สรุป: ผลสำเร็จในการรักษาเนื้อเยื่อในโดยอ้อมด้วยคลอร์เฮกซิดีนกลูโคเนตให้ผลไม่แตกต่างกับแคลเซียมไฮดรอกไซด์


ความต้านทานการแตกหักของฟันกรามน้อยบนที่ผ่านการรักษาคลองรากฟันและมีโพรงฟันแบบเอ็มโอดีเมื่อบูรณะด้วยเรซินคอมโพสิตแบบตรงร่วมกับเดือยฟันคอมโพสิตเสริมเส้นใยชนิดต่างๆ, นฎาประไพ ขวัญพ่วง Jan 2019

ความต้านทานการแตกหักของฟันกรามน้อยบนที่ผ่านการรักษาคลองรากฟันและมีโพรงฟันแบบเอ็มโอดีเมื่อบูรณะด้วยเรซินคอมโพสิตแบบตรงร่วมกับเดือยฟันคอมโพสิตเสริมเส้นใยชนิดต่างๆ, นฎาประไพ ขวัญพ่วง

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความต้านทานการแตกหักและรูปแบบของการแตกหักของฟันกรามน้อยบนที่ผ่านการรักษารากฟันและมีโพรงฟันแบบเอ็มโอดีเมื่อบูรณะด้วยเรซินคอมโพสิตแบบตรงร่วมกับการใช้เดือยฟันคอมโพสิตเสริมเส้นใยแบบสำเร็จรูป และที่ร่วมกับการใช้เดือยฟันคอมโพสิตเสริมเส้นใยที่ยังไม่ได้รับการบ่มตัว ฟันกรามน้อยบนทั้งสิ้น 40 ซี่ถูกแบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มที่ 1 ฟันที่ไม่ผ่านการเตรียมโพรงฟัน การรักษารากฟัน และการบูรณะ กลุ่มที่ 2 ฟันที่ผ่านการเตรียมโพรงฟัน รักษารากฟัน แต่ไม่ได้รับการบูรณะ กลุ่มที่ 3 ฟันที่ผ่านการเตรียมโพรงฟัน รักษารากฟัน และบูรณะด้วยเรซินคอมโพสิตเพียงอย่างเดียวกลุ่มที่ 4 ฟันที่ผ่านการเตรียมโพรงฟัน รักษารากฟัน และบูรณะด้วยเรซินคอมโพสิตร่วมกับเดือยฟันคอมโพสิตเสริมเส้นใยแบบสำเร็จรูป กลุ่มที่ 5 ฟันที่ผ่านการเตรียมโพรงฟัน รักษารากฟัน และบูรณะด้วยเรซินคอมโพสิตร่วมกับเดือยฟันคอมโพสิตเสริมเส้นใยที่ยังไม่ได้รับการบ่มตัว นำกลุ่มตัวอย่างทั้ง 5 กลุ่ม มาผ่านการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิจำนวน 20,000 รอบ จากนั้นจึงให้แรงแบบซ้ำๆ 50 นิวตัน 500,000 รอบ ความถี่ 4 Hz นำไปทดสอบความต้านทานต่อการแตกหักโดยการให้แรงกดที่ปุ่มฟันด้านลิ้นทำมุม 45 องศาต่อแนวแกนฟันจนเกิดการแตกหัก ผลการศึกษาพบว่าฟันกรามน้อยกลุ่มควบคุมผลบวกมีค่าความต้านทานต่อการแตกหักมากที่สุด (510.92 ± 106.54 N) ในขณะที่กลุ่มควบคุมผลลบมีความต้านทานต่อการแตกหักต่ำที่สุด (73.88 ± 20.52 N) เมื่อบูรณะด้วยเรซินคอมโพสิตร่วมกับเดือยฟันคอมโพสิตเสริมเส้นใยสามารถเพิ่มความต้านทานต่อการแตกหักได้อย่างมีนัยสำคัญเมื่อเปรียบเทียบกับการบูรณะด้วยเรซินคอมโพสิตเพียงอย่างเดียว อย่างไรก็ตามไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่างเดือยฟันทั้งสองชนิด นอกจากนี้ยังพบว่าชิ้นงานส่วนใหญ่มีรูปแบบการแตกหักแบบพึงประสงค์ กล่าวโดยสรุปคือ การบูรณะฟันกรามน้อยที่ผ่านการรักษารากและมีโพรงฟันแบบเอ็มโอดีด้วยเรซินคอมโพสิตร่วมกับเดือยฟันคอมโพสิตเสริมเส้นใยสามารถเพิ่มความต้านทานต่อการแตกหักได้เมื่อเปรียบเทียบกับการบูรณะด้วยเรซินคอมโพสิตเพียงอย่างเดียว ชิ้นงานส่วนใหญ่มีรูปแบบการแตกหักแบบพึงประสงค์ และชนิดของเดือยฟันไม่ส่งผลต่อความต้านทานต่อการแตกหัก


การศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าความแข็งแรงพันธะแรงเฉือนระดับจุลภาค เมื่อใช้สารยึดติดระบบต่างๆ กับวัสดุไฮบริดเซรามิกสําหรับงานแคดแคม, ศีลัสยา ลีลาพงศ์ฤทธิ์ Jan 2019

การศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าความแข็งแรงพันธะแรงเฉือนระดับจุลภาค เมื่อใช้สารยึดติดระบบต่างๆ กับวัสดุไฮบริดเซรามิกสําหรับงานแคดแคม, ศีลัสยา ลีลาพงศ์ฤทธิ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของชนิดของระบบสารยึดติดร่วมกับเรซินซีเมนต์ และชนิดของไฮบริดเซรามิกสำหรับงานแคดแคม ต่อค่าความแข็งแรงพันธะแรงเฉือนระดับจุลภาค โดยศึกษาในห้องปฏิบัติการ ยึดติดไฮบริดเซรามิก 3 ชนิด คือ เรซินนาโนเซรามิก กลาสเซรามิกที่อยู่ในโครงข่ายเมทริกซ์ของเรซิน และเซอร์โคเนียซิลิกาเซรามิกที่อยู่ในโครงข่ายเมทริกซ์ของเรซิน กับเนื้อฟันด้านใกล้แก้มที่ขัดเรียบของฟันกรามน้อยที่ถูกถอนมาแล้ว ด้วยสารยึดติด และเรซินซีเมนต์ใน 3 ระบบ คือ ระบบเอทช์แอนด์ริ้นส์ ระบบเซลฟ์เอทช์ และระบบยูนิเวอร์ซอลในรูปแบบเอทช์แอนด์ริ้นส์ ชิ้นทดสอบมีทั้งหมด 99 ชิ้น แบ่งเป็น 9 กลุ่ม หลังจากผ่านกระบวนการจำลองการใช้งานในช่องปากด้วยเครื่องควบคุมอุณหภูมิร้อนเย็นเป็นจังหวะ 10,000 รอบ นำไปทดสอบหาค่าความแข็งแรงพันธะแรงเฉือนระดับจุลภาค วิเคราะห์ผลทางสถิติโดยกำหนดระดับนัยสำคัญที่ร้อยละ 95 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของค่าความแข็งแรงพันธะแรงเฉือนระดับจุลภาคระหว่างกลุ่มด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง และทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยด้วยการเปรียบเทียบเชิงซ้อนชนิดทูคี จากการทดสอบพบว่า เมื่อยึดติดวัสดุทั้งสามชนิดด้วยสารยึดติด และเรซินซีเมนต์ที่ใช้รูปแบบเอทช์แอนด์ริ้นส์ (Optibond FL® ร่วมกับ Nexus3® และ Scotchbond Universal® ร่วมกับ RelyX™Ultimate®) ทำให้ค่าความแข็งแรงพันธะแรงเฉือนระดับจุลภาคมากกว่ากลุ่มที่ใช้สารยึดติดร่วมกับเรซินซีเมนต์ ระบบเซลฟ์เอทช์ (Optibond XTR® ร่วมกับ Nexus3®) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ภายใต้ข้อจำกัดของการศึกษานี้ทำให้สรุปได้ว่า ชนิดของสารยึดติดร่วมกับเรซินซีเมนต์ และชนิดของไฮบริดเซรามิกมีผลต่อค่าความแข็งแรงพันธะแรงดึงระดับจุลภาค ซึ่งพบว่าเมื่อเลือกใช้ชิ้นงานที่ทำจากไฮบริดเซรามิกจะแนะนำให้ใช้สารยึดติด และเรซินซีเมนต์ในรูปแบบเอทช์แอนด์ริ้นส์


Comparison Of Resistance To Sliding In Posterior Units With Various Angulations Of Molar Tubes, Pornhathai Liewsaitong, Paiboon Techalertpaisarn Jan 2019

Comparison Of Resistance To Sliding In Posterior Units With Various Angulations Of Molar Tubes, Pornhathai Liewsaitong, Paiboon Techalertpaisarn

Chulalongkorn University Dental Journal

Background/objectives This study aimed to investigate the effect of one or two brackets on orthodontic frictional forces and to compare frictional forces of posterior segments when a molar tube had different degrees of tipping. Materials and Methods Five different types of posterior segment templates with six templates per type were constructed. Templates A and B had one and two brackets with an untipped tube, respectively. Templates C, D, and E had two brackets and a 3°, 6° or 9° tipped tube. Each template was coupled with 0.016″ x 0.022″ stainless steel wire and ligated with elastomeric ligatures. Static frictions were …


Microtensile Bond Strength Between Zirconia Ceramics To Resin Composite Using Different Resin Cements, Putsadee Srisomboonkamon, Prarom Salimee Jan 2019

Microtensile Bond Strength Between Zirconia Ceramics To Resin Composite Using Different Resin Cements, Putsadee Srisomboonkamon, Prarom Salimee

Chulalongkorn University Dental Journal

Background/Objective: This study aimed to evaluate the microtensile bond strength (MTBS) of three zirconia ceramics from different manufacturers bonded to resin composite using three different resin cements. Materials and methods: Three fully-sintered zirconia ceramic blocks (5x5x10 mm) from Katana (Nuvodent, Japan), Lava (3M ESPE, Germany) and Cercon (Degudent, Germany) were fabricated and bonded to resin composite blocks (Filtek Z250, 3M ESPE, USA) with the same size using one of the three resin cements : Panavia F 2.0 (Kuraray, USA), Superbond C&B (Sun Medical, Japan) and RelyX Unicem (3M ESPE, USA). After 24 h, each block was cut under water coolant …


The Comparison Of The Surface Roughness And Surface Morphology Of Sintered And Chairside Polished Monolithic Zirconia Implant Crown, Wasan Vatanasak, Kamolporn Wattanasirmkit Jan 2019

The Comparison Of The Surface Roughness And Surface Morphology Of Sintered And Chairside Polished Monolithic Zirconia Implant Crown, Wasan Vatanasak, Kamolporn Wattanasirmkit

Chulalongkorn University Dental Journal

Background: Low temperature degradation, also known as ageing, is the major challenge we cannot avoid in zirconia restorations. Changes in temperature, pressure, mechanical force and moisture are few of the factors which contribute to ageing which eventually leads to failure of zirconia restorations. Objectives: To compare the phase transformation, surface roughness and grain morphology as indications of low temperature degradation that might occur in translucent monolithic zirconia after try in procedure which finished the restoration by chairside polishing or annealing technique. Materials and methods: A total of 10 single implant crowns would be milled from the one Vita HT (VITA-Zahnfabrik, …


Review Of Literatures: Importance Of Vitamin D In Dentistry, Wareeratn Chengprapakorn Jan 2019

Review Of Literatures: Importance Of Vitamin D In Dentistry, Wareeratn Chengprapakorn

Chulalongkorn University Dental Journal

This article is aimed to review of literatures on vitamin D roles in overall health and its effects in dentistry, particularly, periodontal disease, orthodontics tooth movement, dental implant osseointegration and also osteonecrosis of the jaw. On account of new insights of vitamin D implication in immune response. This article will also focus on vitamin D effects on oral response to various dental procedures.


Fracture Resistance Of Endodontically Treated Maxillary Premolars Restored With Lithium Disilicate Restorations Using Three Different Retentive Techniques, Pakwan Varapongsittikul, Top Chitkraisorn, Nichamon Chaianant, Terawat Tosiriwatanapong, Boonsong Prateepsawangwong Jan 2019

Fracture Resistance Of Endodontically Treated Maxillary Premolars Restored With Lithium Disilicate Restorations Using Three Different Retentive Techniques, Pakwan Varapongsittikul, Top Chitkraisorn, Nichamon Chaianant, Terawat Tosiriwatanapong, Boonsong Prateepsawangwong

Chulalongkorn University Dental Journal

To compare fracture resistance of endodontically treated maxillary premolars restored with ceramic restorations using three retentive techniques. Forty maxillary premolars were randomly selected as a control (Group 1), composite core/crown (Group 2), fiber-reinforced composite post/ composite core/crown (Group 3) and endocrown (Group 4). All restorations were thermo-cycled and subjected to vertical loading. Fracture load and fracture modes were analyzed. The results showed that Group 3 recorded a significantly highest fracture load (2304 ± 737 N). Pairwise comparisons showed no significant difference between Group 2 (1229 ± 303 N) and group 4 (1609 ± 395 N). Type of coronal-radicular retention was …


Painting-On Topical Fluoride Gel Markedly Reduces The Fluoride Gel Amount Compared With Tray Application, Kamonwan Sriwongchai, Wacharaporn Tasachan, Kasekarn Kasevayuth, Chutima Trairatvorakul Jan 2019

Painting-On Topical Fluoride Gel Markedly Reduces The Fluoride Gel Amount Compared With Tray Application, Kamonwan Sriwongchai, Wacharaporn Tasachan, Kasekarn Kasevayuth, Chutima Trairatvorakul

Chulalongkorn University Dental Journal

Background/objectives: Professional topical fluoride (F) gel application has been used to prevent dental caries with a concern about safety in young children. The aim of this study is to evaluate a paint-on technique using a No. 8 paint brush for applying professional topical F gel as an alternative method in children at a safer, lower dose compared with a tray. Materials and Methods: Twenty-one healthy children (12-15-year-old) participated in this clinical crossover study. The amounts of F gel used were 0.4 ml in the paint-on or 5.0 ml in the tray. Saliva and interproximal fluid were collected before, and immediately, …


Influence Of Curved Root Canal On Retreatment Efficacy Of Bioceramic Sealer, Kasemsun Sujaritwanit Jan 2019

Influence Of Curved Root Canal On Retreatment Efficacy Of Bioceramic Sealer, Kasemsun Sujaritwanit

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

This study evaluated the influence of a curved root canal on the retreatment efficacy of root canals sealed with bioceramic sealer. 60 mandibular molars were divided into 4 subgroups of severely curved canal filled with AH Plus, slightly curved canal filled with AH Plus, severely curved canal filled with BioRoot RCS and slightly curved canal filled with BioRoot. Two weeks after root canal obturation, retreatment was performed with WaveOne Gold Primary and ProTaper Next X3 following with passive ultrasonic irrigation. The retreatment efficacy parameters were regaining canal patency, retreatment time and residual filling material. MicroCT and confocal microscope were used …


Antimicrobial Effect Against Oral Microbiota After Continuous Use Of Natural Oral Spray Products, Chanon Suwanprapis Jan 2019

Antimicrobial Effect Against Oral Microbiota After Continuous Use Of Natural Oral Spray Products, Chanon Suwanprapis

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

So far as we know there were several natural extracts possessed antimicrobial activity against oral microbiota. These natural extracts can be used as an alternative to replace chlorhexidine mouthwash which retains unfavorable flavor and also has some adverse effects. However, the antimicrobial activity of the natural extracts in commercial products have never been demonstrated especially in vivo studies. Therefore, the purpose of this study is to investigate the antimicrobial activity of natural oral spray against oral bacteria compared with chlorhexidine mouthwash, and patient satisfaction. Participants had used two types of commercial natural oral spray products, including essential oil and essential …


The Prevalence And Risk Factors Of Oral Soft Tissue Lesions In Kidney Transplant Recipients, Charinrat Sirivichayakul Jan 2019

The Prevalence And Risk Factors Of Oral Soft Tissue Lesions In Kidney Transplant Recipients, Charinrat Sirivichayakul

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Background: Kidney transplantation is considered to be the best treatment for end-stage renal disease patient, and widely accepted it improves quality and length of life. However, the kidney transplant recipient has to receive long-term immunosuppressive therapy in order to prevent kidney transplant rejection, causing the immune function system declined. Oral and dental problems also increase in these patients, which mostly develop as a result of side effects and drug interaction. This study aims to determine the prevalence and risk factors of oral soft tissue lesions in kidney transplant recipients. Methodology: The cross-sectional study was conducted in April to October 2019. …