Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Medicine and Health Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Articles 1 - 21 of 21

Full-Text Articles in Medicine and Health Sciences

การวินิจฉัยโรคพยาธิหัวใจในสุนัขจากภาพเอ็กซเรย์และคลื่นไฟฟ้าหัวใจ, ฉันทน์ ภัทรโกศล, ปานใจ สุขวัฒนา, นวชาติ ทองวิชิต, มาริษศักร์ กัลล์ประวิทธ์, รัตนาภรณ์ พรหมาสา, ดวงนฤมล ประชันคดี Dec 1991

การวินิจฉัยโรคพยาธิหัวใจในสุนัขจากภาพเอ็กซเรย์และคลื่นไฟฟ้าหัวใจ, ฉันทน์ ภัทรโกศล, ปานใจ สุขวัฒนา, นวชาติ ทองวิชิต, มาริษศักร์ กัลล์ประวิทธ์, รัตนาภรณ์ พรหมาสา, ดวงนฤมล ประชันคดี

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ศึกษาภาพถ่ายเอ็กซเรย์ช่องอกและลักษณะคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG) ของสุนัข 35 ตัวที่มีตัวอ่อนของพยาธิหัวใจ (microfilaria) ในกระแสโลหิต เปรียบเทียบกับสุนัข 15 ตัวที่ตรวจไม่พบ microfilaria และไม่มีอาการของโรคพยาธิหัวใจ พบว่าสุนัขที่มี microfilaria 27 ตัว มีอายุไม่น้อยกว่า 4 ปี สุนัขทุกตัวที่ตรวจพบ microfilaria จะมีความผิดปกติของหัวใจ ทั้งที่วินิจฉัยจากภาพเอ็กซเรย์ และจาก ECG สุนัขที่มี ECG ผิดปกติมีจำนวนแตกต่างจากกลุ่มที่ตรวจไม่พบ microfilaria อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะที่จำนวนสุนัขที่มีลักษณะของหัวใจผิดปกติในภาพ เอ็กซเรย์ไม่แตกต่างกัน ภาพเอ็กซเรย์ของสุนัขที่มีพยาธิหัวใจส่วนใหญ่แสดง right heart enlargement, lung edema, pulmonary knob, และ whole heart enlargement พบว่า ECG สามารถวินิจฉัยพยาธิสภาพของหัวใจได้ละเอียดกว่าภาพถ่ายเอ็กซเรย์ สุนัขส่วนใหญ่มี cardiac rhythm ผิดปกติคือ bundle branch block หรือ ventricular premature beat และพบ right atrial hypertrophy, right ventricular hypertrophy a myocardial stress


What Is Your Diagnosis, Pranee Tuntivanich Dec 1991

What Is Your Diagnosis, Pranee Tuntivanich

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


Identification Of Pasteurella Anatipestifer By Apizym, Pornpen Pathana, Tipa Tantichanroenyos, Tetsuo Morozumi Dec 1991

Identification Of Pasteurella Anatipestifer By Apizym, Pornpen Pathana, Tipa Tantichanroenyos, Tetsuo Morozumi

The Thai Journal of Veterinary Medicine

Enzymatic activities of 42 strains of Pasteurella anatipestifer (P.a.) were determined along with 46 strains of Pasteurella hemolytica (P.h.) and 40 strains of Pasteurella multocida (P.m.) using APIZYM. All of P.a. strains tested possessed 6 enzymes as fo


Poxvirus Infection In A Tucuman Amazon Parrtot (Amazona Tucumata) : A Case Report, Jiroj Sasipreeyajan Dec 1991

Poxvirus Infection In A Tucuman Amazon Parrtot (Amazona Tucumata) : A Case Report, Jiroj Sasipreeyajan

The Thai Journal of Veterinary Medicine

Eosinophilic intracytoplasmic inclusion bodies or Bollinger bodies were visualized histologically in hypertrophied epithelial cells of epidermis of an eyelid of a tucuman Amazon parrot (Amazona tucumata). Material prepared from an eyelid was inoculated onto the chorio-allantoic membrance (CAM) of ten-day-old embryonated hen eggs. Bollinger bodies were visualized histologically from pock-like lesions on the CAM. Electron microscopy revealed typical poxvirus in the inclusions.


การเจริญเติบโตของตัวอ่อนสุกรหลังเพาะเลี้ยงและย้ายฝากในสุกรตัวรับ, มงคล เดชะกำพุ, วิชัย ทันตศุภารัก Dec 1991

การเจริญเติบโตของตัวอ่อนสุกรหลังเพาะเลี้ยงและย้ายฝากในสุกรตัวรับ, มงคล เดชะกำพุ, วิชัย ทันตศุภารัก

The Thai Journal of Veterinary Medicine

นำตัวอ่อนระยะ 1-2 เซลล์ จำนวน 122 ตัวอ่อน มาเลี้ยงในน้ำยาเพาะเลี้ยงชนิด Modified Kreb's Ringer เป็นเวลา 24 ชม. พบว่ามีอัตราการเจริญเป็นตัวอ่อนระยะ 4 เซลล์ จำ นวน 96 ตัวอ่อน คิดเป็น 78.7 % (96/122) หลังจากนั้นนำตัวอ่อนที่เพาะเลี้ยงจำนวน 40 ตัว อ่อน ไปฝากในสุกรตัวรับ จำนวน 3 ตัว ที่มีวงจรการเป็นสัดใกล้เคียงกับอายุตัวอ่อน ผลได้อัตรา การตั้งท้อง 100% (3/3), อัตราการเจริญเป็นตัวฟิตัสเท่ากับ 42.5% (17/40) และอัตราการ เจริญเป็นลูกสุกรปกติเท่ากับ 40% (16/40) ซึ่งพบว่าไม่ต่างกับกลุ่มควบคุมที่ได้รับตัวอ่อนที่ไม่ได้ เพาะเลี้ยง โดยมีอัตราต่าง ๆ เท่ากับ 75% (3/4), 46% (29/62) และ 35.5% (22/62) ตามลำ ดับ ลูกสุกรที่เกิดมาจากตัวอ่อนที่ผ่านการเพาะเลี้ยงมีน้ำหนักแรกคลอด และการเจริญเติบโตตั้งแต่ 1 ถึง 8 สัปดาห์ ใกล้เคียงกับกลุ่มควบคุม การศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าตัวอ่อนสุกรสามารถพัฒนาตัว เองได้ หลังนำมาเลี้ยงนอกร่างกายนาน 24 ชม.


Electrocardiography Of The Wildlife Animals, Prapa Loypetjra Sep 1991

Electrocardiography Of The Wildlife Animals, Prapa Loypetjra

The Thai Journal of Veterinary Medicine

The electrocardiogram of wildlife animals was recorded using hexaxial lead system. The animals were seventeen crocodiles, one gibbon, three lorises, three tigers, four elephants and one binturong. All of them were conscious during the measurement. The Lead II of electrocardiogram was used in evaluating heart rate, rhythm and measuring the amplitude, time interval and segment. Standard limb leads were employed to calculate mean electrical axis of the ventricles. Electrocardiopgraphic features of P, QRS and T waves in all species were normal without slurring or notching. The values of heart rate per minute of crocodile, gibbon, loris, tiger, elephant and binturong …


Anthelmintic Activity Of Closantel Against Fasciola Gigantica And Other Parasites In Cattle, Vichitr Sukhapesna, Darunee Tuntasuvan, Worapong Suriyajantratong Sep 1991

Anthelmintic Activity Of Closantel Against Fasciola Gigantica And Other Parasites In Cattle, Vichitr Sukhapesna, Darunee Tuntasuvan, Worapong Suriyajantratong

The Thai Journal of Veterinary Medicine

Anthelmintic activity of a single subcutaneous injection of closantel at the dose of 2.5 milligrams per kilogram of body weight was determined by the critical test method against Fasciola gigantica and other parasites in 5 naturally infected cattle. Closantel was shown to remove 100 per cent of mature F. gigantica. The drug was also 100 per cent effective against mature Mecistocirrus digitatus, Oesophagostomum radiatum and Bunostomum phlebotomum, whereas it was ineffective against Paramphistomum spp.


โรคพาร์โวไวรัส (Hpv) ในกุ้งน้ำจืด, ระบิล รัตนพานี, นงลักษณ์ ตันติลิปิกร Sep 1991

โรคพาร์โวไวรัส (Hpv) ในกุ้งน้ำจืด, ระบิล รัตนพานี, นงลักษณ์ ตันติลิปิกร

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ตรวจพบโรคพาร์โวไวรัส (HPV) ในกุ้งน้ำจืด โดยกุ้งไม่ได้แสดงอาการของโรค จาก การตรวจทางจุลพยาธิวิทยาพบ basophilic inclusion bodies ขนาดใหญ่ รูปร่างกลม อยู่ภายใน nucleus ที่บวมโตของ hepatopancreatic cells


การเกิดโรคอิเพอร์ริโทรซูนในลูกสุกรหย่านม, จิรา วายุโซติ, ลัดดา ตรงวงศา, ทัศนีย์ ชมภูจันทร์, ชิต ศิริวรรณ์ Sep 1991

การเกิดโรคอิเพอร์ริโทรซูนในลูกสุกรหย่านม, จิรา วายุโซติ, ลัดดา ตรงวงศา, ทัศนีย์ ชมภูจันทร์, ชิต ศิริวรรณ์

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ลูกสุกรหย่านม 5 ตัว อายุ 45-60 วัน ถูกส่งมายังสถาบันสุขภาพสัตว์และผลิตสัตว์แห่งชาติ ด้วยอาการป่วยเรื้อรัง อาการเด่นชัดคือ ตัวเหลือง ซีด ซึม เบื่ออาหาร มีไข้และร่างกายทรุด โทรม จากการตรวจเลือดพบเชื้อ Eperythrozoon suis จำนวนมาก ผลทางโลหิตวิทยา พบว่าเม็ดเลือดแดงอัดแน่น (PCV) และฮีโมโกลบินต่ำกว่าปกติ จากการผ่าซากสุกรทั้ง 5 ตัว พบชั้นใต้ ผิวหนังเหลืองและบวมนำ หัวใจมีสีเหลือง โดยเฉพาะที่ coronary fat มีการบวมน้ำร่วมด้วย ตับมีสีเหลือง บวม เนื้อแน่น บางตัวพบจุดเนื้อตายสีขาวแทรกอยู่ในเนื้อตับ น้ำดีในถุงน้ำดีมีลักษณะข้น ม้ามโต บวมและนิ่ม พบปอดบวมและช่องท้องอักเสบในสุกร 1 ตัว ผลตรวจทางจุลพยาธิวิทยา พบฮีโมซิเดอร์รินจำนวนมากในตับ เนื้อตับพบลักษณะของ vacuolar และหย่อมเนื้อตาย ม้ามมีเลือดคั่ง ได้ทำการรักษาลูกสุกรป่วยที่เหลือด้วยยา oxytetracycline ปรากฏว่าลูกสุกรมีอาการดีขึ้นและ ตรวจไม่พบเชื้อหลังการรักษา


การรักษา Papilloma ที่ผิวหนังช้าง ด้วยศัลยกรรมเยือกแข็ง : รายงานสัตว์ป่วย, อติชาต พรหมาสา Sep 1991

การรักษา Papilloma ที่ผิวหนังช้าง ด้วยศัลยกรรมเยือกแข็ง : รายงานสัตว์ป่วย, อติชาต พรหมาสา

The Thai Journal of Veterinary Medicine

รายงานการรักษา papilloma ที่ผิวหนังในช้างเอเซีย (Elephas maximus) 2 รายโดยใช้ ศัลยกรรมเยือกแข็ง (cryosurgery)


Short Communication The Expression Of S-100 Protein In Canine Malignant Fibrous Histiocytoma (Mfh), Achariya Sailasuta, Tatsuya Fukatsu, Susumu Tateyama, Ryoji Yamag Jun 1991

Short Communication The Expression Of S-100 Protein In Canine Malignant Fibrous Histiocytoma (Mfh), Achariya Sailasuta, Tatsuya Fukatsu, Susumu Tateyama, Ryoji Yamag

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


การบิดของลำไส้เล็กส่วนต้นในพ่อโค : รายงานสัตว์ป่วย, รุ่งโรจน์ ธนาวงษ์นุเวช, เทอด เทศประทีป Jun 1991

การบิดของลำไส้เล็กส่วนต้นในพ่อโค : รายงานสัตว์ป่วย, รุ่งโรจน์ ธนาวงษ์นุเวช, เทอด เทศประทีป

The Thai Journal of Veterinary Medicine

รายงานอุบัติการการบิดของลำไส้เล็กส่วนต้นในพ่อโคพันธุ์ฮินดูบราซิล อายุ 3 ปี ผลของการชันสูตรซากพบช่องท้องขยายใหญ่ภายในกระเพาะผ้าขี้ริ้ว (rumen) เต็มไปด้วยแก๊ส การบิดของลำไส้เล็กส่วนต้นบริเวณที่พบห่างจากกระเพาะแท้(abomasum) 18 นิ้ว โดยบิดเป็นห่วงตามเข็มนาฬิกา 360° ยาวประมาณ 24 นิ้ว ภายในพบของเหลว สีแดงคล้ำ ถุงน้ำดีขยายใหญ่กว่าปกติ 5-6 เท่า โคเสียชีวิตจากภาวะ intoxication.


Efficacy Of Toltrazuril In Prophylaxis And Treatment Of Chicken Caecal Coccidiosis : Battery Trial, Manop Muagyai, Nopamart Trakarnrungsie, Chote Buranathai Jun 1991

Efficacy Of Toltrazuril In Prophylaxis And Treatment Of Chicken Caecal Coccidiosis : Battery Trial, Manop Muagyai, Nopamart Trakarnrungsie, Chote Buranathai

The Thai Journal of Veterinary Medicine

Prevention and treatment of caecal coccidiosis in chickens with toltrazuril in the concentration of 25 and 75 ppm in drinking water were tested in 16 groups of chicken for 24 and 8 hours respectively. Eimeria tenella oocysts were inoculated in the number 10a 10 Medication were given on days -4, -2, 0, 2, 4, 5 and 6. The results revealed that the 25 ppm concentration was the most effective from day 0 to 2 and from day -2 to 2 of infection for the 75 ppm concentration. The parameters used were lesion score reading, haematocrit, oocyst per gram count, clinical …


การใช้ปริมาณน้ำนมที่จุดสูงสุดหลังคลอดทำนายปริมาณน้ำนมทั้งหมดที่จะได้ในหนึ่งช่วงของการให้นม, ปรียพันธุ์ อุดมประเสริฐ, พีระศักดิ์ จันทร์ประทีป, อุดม วังตาล Jun 1991

การใช้ปริมาณน้ำนมที่จุดสูงสุดหลังคลอดทำนายปริมาณน้ำนมทั้งหมดที่จะได้ในหนึ่งช่วงของการให้นม, ปรียพันธุ์ อุดมประเสริฐ, พีระศักดิ์ จันทร์ประทีป, อุดม วังตาล

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ปริมาณน้ำนมที่สูงสุด (PEAK) จะเกิดขึ้นประมาณ 40-70 วันหลังคลอด ซึ่งมีความสัมพันธ์กับปริมาณน้ำนมในหนึ่งช่วงของการให้นม (LTYIELD) อย่างมีนัยสำคัญทาง ยิ่งไปกว่านั้น PEAK ยังสามารถอธิบายความผันแปรของ LTYIELD ได้มากกว่า 95 เปอร์เซ็นต์ ความสัมพันธ์ดังกล่าวสำหรับแม่โคสาวท้องแรกสามารถแสดงอยู่ในรูปของ สมการคือ LTYIELD = 230 * PEAK (N = 37, P = 0.00, R2 = 0.97) ส่วนความสัมพันธ์สำหรับแม่โคท้องอื่น ๆ อยู่ในรูปของสมการ LTYIELD = 213 * PEAK (N = 63, P = 0.00, R2 = 0.98) การทราบถึงความสัมพันธ์ดังกล่าวจะช่วยให้ผู้เลี้ยงหรือสัตวแพทย์ สามารถตัดสินใจในการคัดโคสาวออกจากฝูงได้แต่เนิน ๆ โดยไม่ต้องรอให้โคสาวนั้นให้นมจนสิ้นสุด ช่วงการให้นมก่อน ช่วยในการจัดทำ Standard lactation shape เพื่อการวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการให้อาหารแม่โค หรือปัญหาเกี่ยวกับโรคที่เป็นแบบ subclinical นอกจากนี้ยังเป็นหลักฐานทางวิชาการที่ใช้อ้างอิงถึงความสูญเสียที่จะได้รับ อันเป็นผลเนื่องมา เลี้ยงดูแม่โคในช่วงหลังคลอดไม่ดีพอ ทำให้แม่โคไม่สามารถให้นมได้ถึงจุดสูงสุด


การตรวจสอบหาไวรัสอหิวาต์สุกรน่าสเตรนชนิดผ่านกระต่ายโดยใช้การเพาะเลี้ยงเซลล์, กัญญา สุวินทรากร, อนุทิน หาญวีระพล Jun 1991

การตรวจสอบหาไวรัสอหิวาต์สุกรน่าสเตรนชนิดผ่านกระต่ายโดยใช้การเพาะเลี้ยงเซลล์, กัญญา สุวินทรากร, อนุทิน หาญวีระพล

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ทำการตรวจสอบหาเชื้อและไตเตอร์ของ Lapinized swine fever virus,China strain โดยวิธี Fluorescent antibody cell culture techniqne (FACCT )- 2 Steps และ Exaltation of Newcastle Disease virus (END) - 2 Step FACCT - 2 Steps : เพาะเลี้ยง seed lapinized swine fever virus, China strain ใน Swine testicle (ST) cell line ทำการ harvest หลังจากเพาะเลี้ยง ที่อุณหภูมิ 37° c. นาน 72, 96 และ 120 ชั่วโมง เป็นไวรัสกลุ่มที่ 1, 2 และ 3 ตามลำดับ


Study On Efficacy Of Inermectin Against Gnathostoma Spinigerum (Nematoda : Spiruroidea Advanced Third Stage Larva In Rats), J. Waikagul, S. Nuamtanong, M.T. Anantaphruti, S. Nithiuthai Jun 1991

Study On Efficacy Of Inermectin Against Gnathostoma Spinigerum (Nematoda : Spiruroidea Advanced Third Stage Larva In Rats), J. Waikagul, S. Nuamtanong, M.T. Anantaphruti, S. Nithiuthai

The Thai Journal of Veterinary Medicine

Gnathostomiasis is one of the fatal nematode infections which at present effective chemotherapy is unavailable. Recently, ivermectin has been reported to be highly effective against intestinal and tissue nematodes. The efficacy against advanced third stage larvae of G. spinigerum of ivermectin were tested in the white rats with a single dose or multidoses of 2 mg/kg. Worm reductions observed at week 20 after treatment were about 90 % in average but there was no cure rate.


Prophy Laxis And Treatment Of Chicken Coccidiosis In Replacement Pullets With Toltrazuril, Manop Muagyai, Surasak Sirichokchatchawan, Virote Juranukul Mar 1991

Prophy Laxis And Treatment Of Chicken Coccidiosis In Replacement Pullets With Toltrazuril, Manop Muagyai, Surasak Sirichokchatchawan, Virote Juranukul

The Thai Journal of Veterinary Medicine

Toltrazuril in drinking water in the concentration of 25 and 50 ppm were given to 2 layer replacement pullet groups for 8 hours each period. To enhance immunity production, totrazuril using in the prevention programme was given as a single 5 and double 10 days intervals alternately in chickens 10 days of age onward. Group 3 was a non-medicated control. Clinical and subclinical of coccidiosis could be observed in week 6 in groups 1 and 3. The infected groups were treated with toltrazuril 25 and 50 ppm in drinking water for 24 and 8 hours respectively. Coccidiosis was not observed …


Toxicity Of Freshwater Puffer Tetraodon Fangi, T. Palembangensis And T. Suvattii From Uorn-Thani Province In Thailand, Kriengsag Saitanu, Payak Pariyawongskul Mar 1991

Toxicity Of Freshwater Puffer Tetraodon Fangi, T. Palembangensis And T. Suvattii From Uorn-Thani Province In Thailand, Kriengsag Saitanu, Payak Pariyawongskul

The Thai Journal of Veterinary Medicine

Toxicity of freshwater puffer, Tetraodon fangi, T. palembangensis and T. Suvattii collected from Amphur Shrangkom, Udorn Thani Province of Thailand was described. The specimens were collected from March through November 1989. The most toxic concentration of 3569 MU/g. The toxicity of the skin of the rest of the samples during the study period was generally lower than 50 MU/g. Tetraodon fangi was the most toxic species followed by T. palembangensis and T. suvattii respectively. Skin of all specimens was the most toxic organ.


Application Of The Immunohistochemical Method For Detection Of Aujeszky's Disease Viral Antigen In The Fild Cases Of Hog Cholera In Thailand, Boonmee Sunyasootcharee, Yuko Mutoh, Ted Tesaprateep, Susumu Tateyama, Achariya Sailasuta, Ryoji Yamaguch Mar 1991

Application Of The Immunohistochemical Method For Detection Of Aujeszky's Disease Viral Antigen In The Fild Cases Of Hog Cholera In Thailand, Boonmee Sunyasootcharee, Yuko Mutoh, Ted Tesaprateep, Susumu Tateyama, Achariya Sailasuta, Ryoji Yamaguch

The Thai Journal of Veterinary Medicine

Avidin-biotin-complex (ABC) method for Aujeszky's disease viral antigen was applied to cases suspected of hog cholera. Paraffin-embedded specimens of twenty-five such cases were retrieved. Aujeszky's disease viral antigen was detected in cerebrum (1/18), cerebellum (6/20), medulla oblongata (1/3) and tonsils (2/9). Totally, the viral antigen was found in eleven cases out of twenty-five. These results strongly suggested the possibility of concurrent infection of Aujeszky's disease and hog cholera.


อิทธิของจำนวนท้องต่อการให้นมของแม่โค, ปรียพัยพันธุ์ อุดมประเสริฐ, อุดม วังตาล, พีระศักดิ์ จันทร์ประทีป, สุวิชัย โรจนเสถียร, สมุทร สิริเวชพันธุ์ Mar 1991

อิทธิของจำนวนท้องต่อการให้นมของแม่โค, ปรียพัยพันธุ์ อุดมประเสริฐ, อุดม วังตาล, พีระศักดิ์ จันทร์ประทีป, สุวิชัย โรจนเสถียร, สมุทร สิริเวชพันธุ์

The Thai Journal of Veterinary Medicine

จำนวนท้อง (lactation number) มีอิทธิพลต่อปริมาณน้ำนมทั้งหมดที่ได้ในหนึ่ง ช่วงของการให้นม (lactation yield) ปริมาณน้ำนมที่ได้ในท้องที่ 4 จะมากกว่าใน ท้องที่ 1 ประมาณ 29 เปอร์เซ็นต์ ความสัมพันธ์อาจแสดงได้ในรูปของสมการเส้นตรง คือ ปริมาณน้ำนม = 3087.8 + (331.8 * จำนวนท้อง)(P = 0.012, R2 = 0.099) การคัดแม่โคที่มีปัญหาออกจากฝูงก่อนที่จะให้ผมถึงท้องที่ 4 จะทำให้เสียโอกาสที่จะได้น้ำนม เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยท้องละ 331 กิโลกรัม / ระยะการให้นม ฝูงโคนมที่มีประสิทธิภาพการผลิตดี นอกจากจะต้องมีช่วงคลอดถึงคลอดเฉลี่ยอยู่ที่ 365-390 วันแล้ว ยังจะต้องสามารถควบคุม อัตราการคัดทิ้งจากฝูงให้มีค่าประมาณ 25 เปอร์เซ็นต์ของขนาดฝูงแม่โค เพื่อค่าเฉลี่ยของจำนวนท้องของฝูงจะได้มีค่าประมาณ 4 (100/25).


ผลของยาอาโทรปินต่อการขับแบเรียมซัลเฟตของกระเพาะอาหารสุนัข, ปราณี ตันติวนิช Mar 1991

ผลของยาอาโทรปินต่อการขับแบเรียมซัลเฟตของกระเพาะอาหารสุนัข, ปราณี ตันติวนิช

The Thai Journal of Veterinary Medicine

จากการป้อนแบเรียมซัลเฟตที่มีความเข้มข้น 30, 40 และ 50 % w/v ขนาด 10 ml/kg แก่สุนัข 15 ตัว ก่อนและหลังการฉีดอาโทรปีนขนาด 0.02 mg/lb เข้าใต้หนัง 15 นาที และถ่ายเอ็กซเรย์ที่ 0, 15, 30, 45, 60 นาที และทุก ๆ 60 นาที ตามลำดับ จนกว่าแบเรียมจะถูกขับออกหมดจากกระเพาะอาหาร พบว่าเวลาที่กระเพาะ อาหารเริ่มขับแบเรียมซัลเฟตออกและขับออกหมดก่อนและหลังการให้อาโทรปืน ไม่มีความ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ถ้าใช้แบเรียมที่มีความเข้มข้นสูง (50 % w/v) จะ ถูกขับออกจากกระเพาะอาหารได้เร็วกว่า แต่จะขับออกหมดช้ากว่าแบเรียมที่มีความเข้มข้นต่ำกว่า