Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Medicine and Health Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Articles 1 - 30 of 44

Full-Text Articles in Medicine and Health Sciences

Non-Opsonic Attachment Of Bordetella Bronchiseptica Mediated By Cd11/Cd18 And Cell Surface Carbohydrates, Karen B. Register, Mark R. Ackermann, Marcus E. Kehrli Jr. Dec 1994

Non-Opsonic Attachment Of Bordetella Bronchiseptica Mediated By Cd11/Cd18 And Cell Surface Carbohydrates, Karen B. Register, Mark R. Ackermann, Marcus E. Kehrli Jr.

Mark R. Ackermann

Porcine atrophic rhinitis associated with Bordetella bronchiseptica is characterized by a severe inflammatory response in the mucosa of the nasal turbinates. Initial infiltrates of polymorphonuclear leukocytes (PMN) are followed by accumulations of mononuclear cells. In this report, we have investigated the interaction between porcine PMN and B. bronchiseptica. PMN incubated in PBS with a fluorescently labeled hemagglutinating porcine isolate, but not a non-hemagglutinating variant, had high levels of cell-associated fluorescence as determined by flow cytometry. Light microscopy indicated that most cell-associated bacteria were ingested. Transmission electron microscopy confirmed the presence of intracellular bacteria, which were contained within membrane-bound phagosomes. A …


อุบัติการของโรคกระดูกอ่อนและการรักษาโรค Nutritional Secondary Hyperparathyroidism ในสุนัข, สุภัทรา ยงศิริ, อชิรญา เหล่าวณิชยวิทย์, กมล สกุลวิระ, มาริษศักร์ กัลล์ประวิทธ์ Dec 1994

อุบัติการของโรคกระดูกอ่อนและการรักษาโรค Nutritional Secondary Hyperparathyroidism ในสุนัข, สุภัทรา ยงศิริ, อชิรญา เหล่าวณิชยวิทย์, กมล สกุลวิระ, มาริษศักร์ กัลล์ประวิทธ์

The Thai Journal of Veterinary Medicine

การศึกษาอุบัติการของโรคกระดูกอ่อนในสุนัขพันธุ์ใหญ่ ที่มารับบริการตรวจรักษาและ ฉีดวัคซีนที่โรงพยาบาลสัตว์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากสุนัขที่ตรวจ 31 ตัว พบเป็นโรคกระดูกอ่อน 21 ตัว (67.7%) ในจำนวนนี้เป็นโรค nutritional secondary hyperparathyroidism (NSH) 18 ตัว (85.7%) และ retained enchondral cartilage core ที่กระดูก ulna 3 ตัว (14.3%) พบมากที่สุดในพันธุ์ร้อตไวเลอร์ 8 ตัว (38.1%) สุนัข ป่วยอายุน้อยกว่า 6 เดือน 15 ตัว (71.4%) ระหว่าง 6-12 เดือน 4 ตัว (19.0%) และมาก กว่า 12 เดือน 2 ตัว (9.5%) เป็นเพศผู้ 15 ตัว (71.4%) และเพศเมีย 6 ตัว (28.6%) การ รักษาโรค NSH ในสุนัข 4 ตัวด้วยสารประกอบแคลเซี่ยมคาร์บอเนต เปรียบเทียบกับการ ใช้สารประกอบที่มีแคลเซี่ยมต่อฟอสฟอรัส อัตราส่วน 4 ต่อ 1 ในสุนัข 3 ตัว พบว่าสาร ประกอบแคลเซี่ยมฟอสฟอรัสไม่สามารถปรับอัตราส่วนแคลเซี่ยมต่อฟอสฟอรัสในซีรั่ม ในขณะที่แคลเซี่ยมคาร์บอเนตสามารถปรับอัตราส่วนของแคลเซี่ยมต่อฟอสฟอรัสในซีรั่ม ให้สูงอย่างเห็นได้ชัดภายหลังรักษา 2 สัปดาห์ ซึ่งแตกต่างจากก่อนการรักษาอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่สัปดาห์ที่ 3 และ 4


What Is Your Diagnosis, Pranee Tuntivanich Dec 1994

What Is Your Diagnosis, Pranee Tuntivanich

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


การเตรียมและศึกษาคุณสมบัติของโมโนโคลนอล แอนติบอดี ต่อเชื้อไวรัสออเจสกี้ ที่แยกได้ในประเทศไทย, สุจิรา ปาจริยานนท์, อุราศรี ตันตสวัสดิ์, วาสนา ภิญโญชนม์ Dec 1994

การเตรียมและศึกษาคุณสมบัติของโมโนโคลนอล แอนติบอดี ต่อเชื้อไวรัสออเจสกี้ ที่แยกได้ในประเทศไทย, สุจิรา ปาจริยานนท์, อุราศรี ตันตสวัสดิ์, วาสนา ภิญโญชนม์

The Thai Journal of Veterinary Medicine

เตรียมโมโนโคลนอล แอนติบอดี (MAb) ต่อเชื้อไวรัสออเจสกี้ (ADV) ที่แยกได้ในประเทศไทย ได้ MAb ที่มีคุณสมบัติแตกต่างกันจำนวน 4 โคลน ทดสอบคุณสมบัติของ MAb โดยวิธีเวสเทินบลอท พบว่า MAb 59D3 85B8 และ MAb 61E6 51D9 ทำปฏิกริยากับไกลโคโปรตีน gII และ gIII ตามลำดับ คุณสมบัติการเกาะยึดกับ ADV โดยวิธีอินไดเรคอิมมูโนฟลูออเรสเซนต์ (IFA) พบว่าทุกโคลนให้ผลบวกต่อ ADV สเตรน ที่ใช้เตรียม MAb, ADV Shope strain และ ADV ที่แยกได้จากท้องที่จำนวน 34 ตัวอย่าง คุณสมบัติการนิวทราลไลซ์กับ ADV พบว่า MAb 59D3 และ 51D9 สามารถนิวทราลไลซ์ ADV ทั้ง 3 กลุ่มได้ในกรณีที่มีคอมพลีเมนท์เท่านั้น ส่วน MAb 85B8 และ 61E6 นิวทราลไลซ์ ADV ที่ใช้ในการเตรียม MAb ได้ทั้งในกรณีที่มีและไม่มีคอมพลีเมนท์ MAb ที่เตรียมได้นี้จึงเหมาะสำหรับใช้ในการชันสูตรโรค ADV ในห้องปฏิบัติการ


ระดับของเอนไซม์โฆลีนเอสเทอเรสในซีรั่มสัตว์ 10 ชนิด, วรา พานิชเกรียงไกร, ดานิศ ทวีติยานนท์ Dec 1994

ระดับของเอนไซม์โฆลีนเอสเทอเรสในซีรั่มสัตว์ 10 ชนิด, วรา พานิชเกรียงไกร, ดานิศ ทวีติยานนท์

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ได้วัดระดับของเอนไซม์โซลีนเอสเทอเรสในซีรั่มสัตว์ 10 ชนิด โดยการวัดสีที่เกิดจาก ปฏิกริยาที่มีอะซีทิลไธโอโพลีน (acetylthiocholine) เป็น substrate พบระดับของเอนไซม์ ในสัตว์แต่ละชนิดแตกต่างกัน ลิงจะมีระดับเอนไซม์สูงสุด (3,038.67 ± 516.97 U/L) รองลงมาคือม้า (2,202.86 ± 516.81 U/L) และสุนัข (1,562.85 ± 388.07 U/L) สัตว์ เคี้ยวเอื้องประเภทแกะ โค กระบือ จะมีเอนไซม์ในระดับต่ำกว่า 300 U/L ส่วนสัตว์ที่มีระดับเอนไซม์ปานกลาง ได้แก่ เป็ด ไก่ สุกร และกระต่าย


การรักษาโรคติดเชื้อ อี. โคลัย ที่เกิดจากการทดลองในไก่กระทงด้วยยาเจนตามัยซิน และไทโลซินรวมกับสเตรปโตมัยซิน, สมศักดิ์ ภัคภิญโญ, จิโรจ ศศิปรียจันทร์, สุวิทย์ อุปสัย, ศักดิ์ดา เตโช, สำรวย บุตรเณร Dec 1994

การรักษาโรคติดเชื้อ อี. โคลัย ที่เกิดจากการทดลองในไก่กระทงด้วยยาเจนตามัยซิน และไทโลซินรวมกับสเตรปโตมัยซิน, สมศักดิ์ ภัคภิญโญ, จิโรจ ศศิปรียจันทร์, สุวิทย์ อุปสัย, ศักดิ์ดา เตโช, สำรวย บุตรเณร

The Thai Journal of Veterinary Medicine

แบ่งไก่กระทงจำนวน 80 ตัว เป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 20 ตัว ไก่กลุ่ม 1, 2 และ 3 ได้รับเชื้อ อี. โคลัย สเตรน 078 โดยการฉีดเข้าถุงลมช่องอกคู่หลังด้านซ้าย ไก่กลุ่มที่ 1 และ 2 ได้รับยาทันทีพร้อมกับการฉีดเชื้อ อี. โคลัย โดยไก่กลุ่มที่ 1 ได้รับยาเจนตามัยซิน 4 มก.ต่อ น้ำหนักตัว 1 กก. และไก่กลุ่มที่ 2 ได้รับยาไทโลซิน 35 มก.ต่อน้ำหนักตัว 1 กก. รวมกับ ยาเสตรปโตมัยซิน 210 มก.ต่อน้ำหนักตัว 1 กก. ส่วนไก่กลุ่มที่ 4 ไม่ได้รับเชื้อและไม่ได้ รับยา เก็บไก่ไว้ 10 วันภายหลังการฉีดเชื้อ พบว่าไก่กลุ่มที่ 2 และ 3 ตายกลุ่มละ 1 ตัว น้ำหนักเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นของไก่กลุ่มที่ 1 และ 2 ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ น้ำหนักเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นของกลุ่มที่ 3 ต่ำกว่ากลุ่มที่ 1 และ 4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ


A Preliminary Study On Boar Semen Quality And Fertilization Rate, Mongkol Techakumphu, Wichai Tantasuparak Dec 1994

A Preliminary Study On Boar Semen Quality And Fertilization Rate, Mongkol Techakumphu, Wichai Tantasuparak

The Thai Journal of Veterinary Medicine

Fertilizing capacity of three boars from different breeds; Meishan, Landrace and Large White; were tested. Semen quality was macroscopically evaluated. A direct observation of embryonic quality were performed after surgical collection from natural mated gilts. A total of nine gilts, equally divided into three groups was used in this experiment. Each group was mated with each boar. The result showed that there was a relationship between a quality of semen and a quality of recovered eggs. High percentage of fertilized eggs (90%) were obtained in each gilt and the stage attained was related to the day of collection. The method …


Pulmonary Lesions In Fetuses Exposed In Utero To Porcine Reproductive And Respiratory Syndrome Virus, Kelly M. Lager, Mark R. Ackermann Oct 1994

Pulmonary Lesions In Fetuses Exposed In Utero To Porcine Reproductive And Respiratory Syndrome Virus, Kelly M. Lager, Mark R. Ackermann

Mark R. Ackermann

The salient features of a porcine reproductive and respiratory syndrome (PRRS) epizootic include respiratory disease followed by reproductive failure. The respiratory component is usually recognized first in finishing pigs or in the breeding herd as a mild flu-like disease with a high morbidity for all ages and high mortality in younger pigs. In breeding herds, acute maternal reproductive failure often follows the onset of respiratory disease. PRRS is characterized by a sudden increase in early farrowings, late-term abortions, stillborn and mummified fetuses, weak neonates with high mortality, late returns to estrus, and repeat breeders. No consistent histopathology has been obseived …


ความชุกของการติดเชื้อ Bovine Leukemia Virus ในโคนมในภาคกลางของประเทศไทย, รื่นฤดี บุณยะโหตระ, อารี ทรัพย์เจริญ, ชิต ศิริวรรณ์, อุราศรี ตันตสวัสดิ์ Sep 1994

ความชุกของการติดเชื้อ Bovine Leukemia Virus ในโคนมในภาคกลางของประเทศไทย, รื่นฤดี บุณยะโหตระ, อารี ทรัพย์เจริญ, ชิต ศิริวรรณ์, อุราศรี ตันตสวัสดิ์

The Thai Journal of Veterinary Medicine

การสำรวจภาวะการติดเชื้อ bovine leukemia virus ด้วยวิธีอการ์เจลอิมมูโนดิฟฟิวชั่น โดยเก็บตัวอย่างเลือดโคนมใน 10 จังหวัดในเขตภาคกลาง โดยสุ่มตัวอย่างจากโคนมที่สภาพภายนอกปกติ พบว่า 222 ตัวจากทั้งหมด 1,658 ตัวให้ผลบวก คิดเป็น 13.39% จังหวัดที่ให้ผลบวกมากที่สุด คือลพบุรี (26.90%) นอกจากนี้ได้ทำการทดสอบกลุ่มโคนำเข้า จากประเทศออสเตรเลีย เม็กซิโกและคอสตาริกา พบโคที่ให้ผลบวกคิดเป็น 0.4%


การศึกษาโรคสเตร็ปโตคอกโคซีสในสุกร, อินทิรา กระหม่อมทอง, ทาริกา ประมูลสินทรัพย์, จิรา คงครอง Sep 1994

การศึกษาโรคสเตร็ปโตคอกโคซีสในสุกร, อินทิรา กระหม่อมทอง, ทาริกา ประมูลสินทรัพย์, จิรา คงครอง

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ได้ทำการวิเคราะห์โรคของสุกรป่วยตายจากผู้ส่งตรวจ 106 ราย ซึ่งสามารถแยกเชื้อ สเตร็ปโตคอกชัยได้ 131 สเตรน จากผลการตรวจทางพยาธิร่วมกับการแยกกลุ่มเชื้อทางซีรั่ม วิทยาด้วยวิธีของแลนซ์ฟิลด์ พบโรคสเตร็ปโตคอกโคซีส เป็นสาเหตุสำคัญของการตาย 28 ราย ซึ่งเกิดจากกลุ่ม Streptococcus suis ถึง 44% พบเป็นสาเหตุร่วมกับโรคติดเชื้ออื่น ๆ 12 ราย มักเกิดจากกลุ่ม D และ Streptococcus suis เชื้อดังกล่าวทำให้เกิดวิการเยื่อ หุ้มสมองและหรือสมองอักเสบ ปอดอักเสบ เยื่อหุ้มหัวใจหรือกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ ข้ออักเสบ และโลหิตเป็นพิษ นอกนั้นเป็นโรคซึ่งมิได้มีวิการเกี่ยวข้องกับเชื้อสเตร็ปโตคอกซีสที่แยกได้ 66 ราย ส่วนใหญ่แยกเชื้อได้จากอวัยวะภายใน ผลการทดสอบความไวของยาปฏิชีวนะ 17 ชนิด ต่อเชื้อ 41 สเตรน ปรากฏว่ายา เซฟฟาโลติน และเพนนิซิลินเป็นยาที่ให้ผลดีที่สุด


การศึกษาผลการใช้วัคซีนป้องกันโรคปอดบวมในสุกรพันธุ์, นิวัตร จันทร์ศิริพรชัย, สมเกียรติ อุรโสภน, รุ่งโรจน์ ธนาวงษ์นุเวช, อนุเทพ รังสีพิพัฒน์, วิจิตร เกียรติพัฒนสกุล, เทอด เทศประทีป Sep 1994

การศึกษาผลการใช้วัคซีนป้องกันโรคปอดบวมในสุกรพันธุ์, นิวัตร จันทร์ศิริพรชัย, สมเกียรติ อุรโสภน, รุ่งโรจน์ ธนาวงษ์นุเวช, อนุเทพ รังสีพิพัฒน์, วิจิตร เกียรติพัฒนสกุล, เทอด เทศประทีป

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ศึกษาผลการใช้วัคซีน Mycoplasma hyopneumoniae bacterin ในการป้องกันโรคปอดอักเสบ ในสุกรพันธุ์ โดยแบ่งการทดลองออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ฉีดวัคซีนในแม่สุกรและลูกสุกร กลุ่มที่ 2 ฉีดวัคซีนในแม่สุกร ส่วนลูกสุกรไม่ฉีดวัคซีน กลุ่มที่ 3 ไม่ฉีด วัคซีนในแม่สุกร ส่วนลูกสุกรฉีดวัคซีน กลุ่มที่ 4 เป็นกลุ่มควบคุม หลังจากนำสุกรส่งโรงฆ่า ได้ทำการตรวจรอยโรคที่ปอดสุกรทุกตัวแล้วให้คะแนน พบว่า กลุ่มที่ 1 มีค่าเฉลี่ยรอยโรค ปอดน้อยที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับทุกกลุ่มและน้อยกว่ากลุ่มที่ 3 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) แต่เมื่อดูร้อยละของปอดที่พบรอยโรค พบว่าทั้ง 4 กลุ่มมีความแตกต่างอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.01) โดยพบว่ากลุ่ม 3 มีจำนวนปอดที่พบรอยโรคมากที่สุด


What Is Your Diagnosis, Pranee Tuntivanich Sep 1994

What Is Your Diagnosis, Pranee Tuntivanich

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


การศึกษาเบื้องต้นถึงเทคนิคการทำน้ำเชื้อสุนัขแช่แข็ง, เกวลี ฉัตรดรงค์, มานิต รุ่งศรัทธาธรรม, มนคม ตรีศิริโรจน์, ชัยณรงค์ โลหชิต, ปราจีน วีรกุล, สุดสรร ศิริไวทยพงศ์ Sep 1994

การศึกษาเบื้องต้นถึงเทคนิคการทำน้ำเชื้อสุนัขแช่แข็ง, เกวลี ฉัตรดรงค์, มานิต รุ่งศรัทธาธรรม, มนคม ตรีศิริโรจน์, ชัยณรงค์ โลหชิต, ปราจีน วีรกุล, สุดสรร ศิริไวทยพงศ์

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ทดลองรีดน้ำเชื้อสุนัขเพศผู้ 2 ตัว ด้วยวิธีกระตุ้นด้วยมือ และไม่ใช้สุนัขเพศเมียเป็นตัวล่อ ใช้ egg yolk Tris เป็นสารเจือจางและเก็บรักษาน้ำเชื้อร่วมกับ glycerol ในระดับ ความเข้มข้นต่าง ๆ กัน คือ 4 6 และ 9 เปอร์เซ็นต์ พบว่าเปอร์เซ็นต์การเคลื่อนไหวของ ตัวอสุจิภายหลังการเก็บรักษาที่ -196 องศาเซลเซียส นาน 5 นาที 14 วัน 28 วัน และ 42 วัน มีค่าใกล้เคียงกัน


การเตรียมแอนติเจนเพื่อใช้วินิจฉัยโรคพาร์โวไวรัสสุกรโอยวิธีฮีแมกกลูติเนชั่น อินฮิบิชั่น, วาสนา ภิญโญชนม์, สุจิรา ปาจริยานนท์, อุราศรี ตันตสวัสดิ์ Sep 1994

การเตรียมแอนติเจนเพื่อใช้วินิจฉัยโรคพาร์โวไวรัสสุกรโอยวิธีฮีแมกกลูติเนชั่น อินฮิบิชั่น, วาสนา ภิญโญชนม์, สุจิรา ปาจริยานนท์, อุราศรี ตันตสวัสดิ์

The Thai Journal of Veterinary Medicine

แอนติเจนพาร์โวไวรัสสุกร เตรียมได้จากการเก็บเชื้อไวรัส หลังการเพาะเชื้อไวรัส สเตรน 90/HS/1 ผ่านเซลล์เพาะเลี้ยง embryonic swine kidney (ESK) อายุ 3-4 ชั่วโมง แอนติเจนมีความคงทนที่อุณหภูมิ -20°C, -70°C และสภาพแห้งในสุญญากาศที่ 4°C สามารถเก็บได้นานมากกว่า 1 ปี โดยไตเตอร์ไม่เปลี่ยนแปลง การทดสอบมาตรฐานของวิธีฮีแมกกลูติเนชั่น อินฮิบิชั่น พบว่าการใช้ kaolin 25% ใน borate saline buffer pH 9.0 ใช้กำจัด non-antibody inhibitor ในซีรั่มได้ผลดีกว่า และให้ไตเตอร์สูงกว่าการใช้ kaolin 25% ใน phosphate saline buffer pH 7.2 เม็ดเลือดแดงหนูตะเภามีความไวกว่าและใช้กำจัด natural hemagglutinin ได้ดีกว่าการ ใช้เม็ดเลือดแดงไก่สำหรับการหาไตเตอร์โดยวิธีฮีแมกกลูติเนชั่น อินฮิบิชั่น และพบว่าการ อบที่ 37°C 2 ชั่วโมง ให้ผลใกล้เคียงกับอบที่ 4°C ค้างคืน แอนติเจนใช้ได้ผลดีในการตรวจซีรั่มสุกรจากท้องที่โดยทดสอบกับซีรั่ม 1,013 ตัวอย่าง จาก 12 จังหวัด


An Abattoir Study Of Tuberculosis In A Herd Of Farmed Elk, Terry L. Whiting, Stacy V. Tessaro Aug 1994

An Abattoir Study Of Tuberculosis In A Herd Of Farmed Elk, Terry L. Whiting, Stacy V. Tessaro

Michigan Bovine Tuberculosis Bibliography and Database

The purpose of this study was to examine the prevalence and distribution of grossly visible lesions of tuberculosis in a herd of 344 North American elk (Cervus elaphus) depopulated during a three-month period in 1991. Abattoir inspection detected mycobacterial lesions in 134 (39.8%) of the 337 animals received for slaughter. The prevalence of lesions increased with the age of the animals. Lesions were predominantly suppurative rather than caseous, and mineralization was less evident than in tuberculous lesions in cattle. Lesions occurred predominantly -in lymph nodes, and lungs were the only organs in which mycobacterial lesions were found. The …


ค่านิยมในการบริโภคนมเปรี้ยว ตอนที่ 2 นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม. 4-ม.6), สุวรรณา กิจภากรณ์ Jun 1994

ค่านิยมในการบริโภคนมเปรี้ยว ตอนที่ 2 นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม. 4-ม.6), สุวรรณา กิจภากรณ์

The Thai Journal of Veterinary Medicine

นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจำนวน 1,475 คน เป็นนักเรียนชายร้อยละ 49 นักเรียนหญิงร้อยละ 51 จากโรงเรียนหญิงล้วน ชายล้วน และสหศึกษาอย่างละ 3 โรงเรียน เป็นกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการสำรวจค่านิยมในการบริโภคนมเปรี้ยว ซึ่งออกสำรวจในเดือน กันยายน 2536 ข้อมูลทั้งหมดถูกนำมาวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSSPC ผลการวิเคราะห์ตั้งอยู่บนฐานของจำนวนผู้ที่ตอบแบบสอบถามในข้อนั้น ๆ ผลการสำรวจพบว่านักเรียนร้อยละ 93 เคยบริโภคนมเปรี้ยว เนื่องจากชอบในรสชาติ ร้อยละ 47 แรงจูงใจในการบริโภคครั้งแรกเกิดจากความอยากลอง (ร้อยละ 66) มากกว่าที่จะเล็งเห็นคุณประโยชน์ นักเรียนส่วนใหญ่บริโภคนานๆ ครั้งแล้วแต่โอกาส และบริโภคเพียงวันละ 80-120 ซีซี กลิ่นรสที่นักเรียนนิยมบริโภคคือรสส้ม รองลงไปเป็นรสสตรอเบอรี่ รสนม และรสมะนาว ในการเลือกซื้อนมเปรี้ยวนักเรียนร้อยละ 85 พิจารณาวันหมดอายุก่อนซื้อ เครื่องหมายการค้าที่นักเรียนนิยมซื้อบริโภคเรียงจากมากไปหาน้อย ได้แก่ โยโมสต์ ยาคูลท์ และดัชมิลล์ เหตุผลที่เลือกเนื่องจากความสะดวกในการบริโภคซึ่งรวมถึงการหาซื้อง่ายสำหรับราคา นักเรียนร้อยละ 26 ยังเห็นว่าแพงเกินไป นักเรียนมากกว่าร้อยละ 50 ไม่ทราบถึงคุณประโยชน์แท้จริงของนมเปรี้ยว แต่นักเรียนเลือกบริโภคนมเปรี้ยวชนิดมีเชื้อมากกว่าไม่มี เชื้อถึงร้อยละ 65.4 โดยเลือกบริโภคนมเปรี้ยวพร้อมดื่มมากที่สุด รองลงมาเป็นนมเปรี้ยว เข้มข้นหรือโยเกิร์ต และนมเปรี้ยว ยู เอช ที นักเรียนให้ความเห็นว่า กลิ่นรสเป็นสาเหตุสำคัญ ที่ทำให้ประชาชนไม่นิยมบริโภคนมเปรี้ยว และการชักจูงผู้ที่ไม่บริโภคนมเปรี้ยวให้หันมาบริโภคนมเปรี้ยว ควรใช้วิธีการให้ความรู้ร่วมกับการแจกให้ทดลองบริโภค นอกจากนี้ยังได้ ทำการวิเคราะห์ค่านิยมในการบริโภคนมเปรี้ยวแต่ละประเภทไว้ด้วย


การศึกษาโรคอีฟีเมอรัลในโค ตอนที่ 1 การแยกเชื้อในสัตว์ทอดลองและเซลล์เพาะเลี้ยง, อารี ทรัพย์เจริญ, รื่นฤดี บุณยะโหตระ, T. Morimoto Jun 1994

การศึกษาโรคอีฟีเมอรัลในโค ตอนที่ 1 การแยกเชื้อในสัตว์ทอดลองและเซลล์เพาะเลี้ยง, อารี ทรัพย์เจริญ, รื่นฤดี บุณยะโหตระ, T. Morimoto

The Thai Journal of Veterinary Medicine

แยกเชื้อไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคอีฟีเมอรัล หรือไข้สามวัน จากตัวอย่างเลือดโคที่ มาจากฝูงที่มีอาการคล้ายโรคอีฟีเมอรัล เมื่อเปรียบเทียบการแยกเชื้อโดยฉีดเชื้อเข้าสมองลูกหนู mice อายุ 1-3 วัน และเซลล์เพาะเลี้ยง hamster lung (HmLu) ในลูกหนูพบแอนติบอดีต่อไวรัสอีฟีเมอรัลใน ที่ passage 2 โดยลูกหนูไม่แสดงอาการของโรคและพบอาการทางประสาทใน passage ที่ 3 ส่วนในเซลล์เพาะเลี้ยงเกิดการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ (CPE) ใน passage ที่ 2 และพบว่า inoculum ที่มีความเข้มข้นมากไม่ทำให้เกิด CPE ในเซลล์เพาะเลี้ยง ไวรัสที่ passage ในลูกหนู mice ก่อน จะทำให้เกิด CPE ในเซลล์เพาะเลี้ยง ตั้งแต่ passage แรก และได้ทดสอบชนิดของไวรัส ด้วยวิธี cross neutralization test โดยใช้ reference virus และ immune serum จากประเทศญี่ปุ่นทดสอบกับ immune serum ที่ผลิตขึ้นจากกระต่าย และไวรัสที่แยกได้ พบค่า neutralizing index ระหว่าง 2.75-3.0 ซึ่งแสดงว่า ไวรัสทั้งสองเป็นไวรัสเดียวกัน


ศึกษาการผลิตวัคซีนบรูเซลโลซีสด้วยเครื่องเฟอร์เมนเตอร์, อนุทิน หาญวีระพล, ลักษณา นิลฉวี, วุฒิพร รุ่งเวชวุฒิวิทยา Jun 1994

ศึกษาการผลิตวัคซีนบรูเซลโลซีสด้วยเครื่องเฟอร์เมนเตอร์, อนุทิน หาญวีระพล, ลักษณา นิลฉวี, วุฒิพร รุ่งเวชวุฒิวิทยา

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ศึกษาการผลิตวัคซีนบรูเซลโลซีสด้วยการเพาะเชื้อบรูเซลล่า อะบอร์ตัส สเตรน 19 โดยใช้เครื่องเฟอร์เมนเตอร์ เปรียบเทียบกับการผลิตโดยเลี้ยงเชื้อบนอาหารเลี้ยงเชื้อชนิดแข็ง พบว่าจำนวนวัคซีนเฉลี่ยที่ผลิตได้มีค่า 9,683 โด๊ส/ชุด และ 8,902 โต๊ส/ชุด ตามลำดับ เมื่อนำวัคซีนทั้ง 2 ชนิด ฉีดเข้าใต้ผิวหนังลูกโคเพศเมียอายุ 3-6 เดือน เก็บเลือดเป็นระยะจนครบ 6 เดือน ไม่พบความแตกต่างของซีรั่มแอกกลูติเนตติ้งแอนติบอดีไตเตอร์ของทั้ง 2 กลุ่ม ที่ระดับความมีนัยสำคัญ 0.01 (P > 0.01)


What Is Your Diagnosis, Pranee Tuntivanich Jun 1994

What Is Your Diagnosis, Pranee Tuntivanich

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


ผลของฤดูกาล ปริมาณน้ำนม ช่วงเวลาที่ให้น้ำนม ระยะการให้น้ำนม และอายุของแม่โค ต่อโรคเต้านมอักเสบชนิดไม่แสดงอาการ, อัมพวัน ตกฤษณารมย์, นุชา สิมะสาธิตกุล, วิสุทธิ์ หิมารัตน์, มาโนช รุ่งสวัสดิ์, ธวัชชัย อินทรตุล Jun 1994

ผลของฤดูกาล ปริมาณน้ำนม ช่วงเวลาที่ให้น้ำนม ระยะการให้น้ำนม และอายุของแม่โค ต่อโรคเต้านมอักเสบชนิดไม่แสดงอาการ, อัมพวัน ตกฤษณารมย์, นุชา สิมะสาธิตกุล, วิสุทธิ์ หิมารัตน์, มาโนช รุ่งสวัสดิ์, ธวัชชัย อินทรตุล

The Thai Journal of Veterinary Medicine

จากการศึกษาโรคเต้านมอักเสบชนิดไม่แสดงอาการในโคนมของศูนย์วิจัยและบํารุง พันธุ์สัตว์เชียงใหม่ โดย California Mastitis Test ทุกเดือนติดต่อกัน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2528 ถึง เดือนกันยายน 2532 จากแม่โคจำนวน 89 ตัว ที่มีอายุระหว่าง 2 ปี 4 เดือน ถึง 10 ปี 4 เดือน ให้น้ำนมในช่วง 1 ถึง 18 เดือน ในแลคเตชั่นที่ 1 ถึง 7 ปริมาณน้ำนม 1.4-23.4 กก./วัน ปรากฏว่าอัตราการเกิดโรคในแม่โคฝูงนี้ตลอดระยะการศึกษา เท่ากับ 38.07% โดยช่วงฤดูหนาวจะมีอัตราการเกิดโรคสูงกว่าฤดูอื่น ๆ อย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ (P < 0.01) และแม่โคที่ให้น้ำนมน้อยกว่า 5 กก./ตัว/วัน จะมีอัตราการเกิดโรคสูงกว่า แม่โคกลุ่มที่ให้น้ำนมมากกว่าอย่างมีนัยสำคัญยิ่ง (P < 0.01) อัตราการเกิดโรคเต้านมอักเสบชนิดไม่แสดงอาการของแม่โคที่ให้น้ำนมในช่วงเดือนที่ 4-6 และแม่โคที่ให้น้ำนมช่วงเดือนที่ 7-9 จะสูงกว่ากลุ่มที่ให้น้ำนมในช่วงเดือนที่ 1-3 และ กลุ่มที่ให้น้ำนมนานกว่า 10 เดือนขึ้นไปอย่างมีนัยสำคัญ (P < 0.05) และสูงขึ้นตามอายุสัตว์ โดยในแลคเตชั่นที่ 6 มีอัตราการเกิดของโรคสูงสุดแตกต่างจากแลคเตชั่นอื่นอย่างมีนัยสำคัญ (P < 0.05)


พิษเฉียบพลันของเมททิลพาราไธออนในปลากะพงขาว (Lates Calcarifer), สุพัตรา ศรีไชยรัตน์, ภัทรา หาญจริยากูล, จิรศักดิ์ ตั้งตรงไพโรจน์ Jun 1994

พิษเฉียบพลันของเมททิลพาราไธออนในปลากะพงขาว (Lates Calcarifer), สุพัตรา ศรีไชยรัตน์, ภัทรา หาญจริยากูล, จิรศักดิ์ ตั้งตรงไพโรจน์

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ปลากะพงขาวขนาด 8.5 ± 0.5 ซม. 10 กลุ่ม ๆ ละ 50 ตัวสัมผัสกับสารฆ่าแมลง เมททิลพาราไธออนที่ขนาดความเข้มข้น 0.5-2.5 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยวิธีแบบแช่ นาน 96 ชั่วโมง พบว่าค่า LC50 ภายใน 96 ชั่วโมงเท่ากับ 1.48 มิลลิกรัมต่อลิตร อัตราการตายและ ความรุนแรงของอาการเป็นพิษในปลาเพิ่มขึ้นตามขนาดของความเข้มข้นของสารฆ่าแมลงที่ให้ ในขณะเดียวกันพบว่าสมรรถนะของเอนไซม์โฆลีนเอสเทอเรสในกล้ามเนื้อ และสมองลดลงอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) มีความสัมพันธ์กันระหว่างสมรรถนะของเอนไซม์ในสมองและ ในกล้ามเนื้อที่ลดลงกับความเข้มข้นของสารฆ่าแมลง ผลการตรวจทางจุลพยาธิวิทยาแสดงให้เห็นว่ามีการตายของเซลล์ตับและกล้ามเนื้อ เหงือกถูกทำลายโดยทั่วไป ผลทางจุลพยาธิ เห็นได้เด่นชัดหลังจากปลาสัมผัสกับเมททิลพาราไธออนไปแล้ว 48 ชั่วโมง ปลาส่วนใหญ่ที่สัมผัสกับเมททิลพาราไธออนที่ความเข้มข้นสูงตายทันทีหลังจากสัมผัสสาร แต่ไม่แสดงความ ผิดปกติทางพยาธิสภาพเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าการวัดสมรรถนะของเอนไซม์โฆลีนเอสเทอเรสในสมอง และกล้ามเนื้อปลากะพงขาวสามารถนำมาใช้เป็นดัชนีบ่งชี้ความเป็นพิษของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชกลุ่มออแกโนฟอสเฟตในปลาได้


Distribution Of Anti-Cd68 (Ebm11) Immunoreactivity In Formalin-Fixed, Paraffin-Embedded Bovine Tissues, Mark R. Ackermann, B. M. Debey, T. J. Stabel, J. H. Gold, K. B. Register, J. T. Meehan May 1994

Distribution Of Anti-Cd68 (Ebm11) Immunoreactivity In Formalin-Fixed, Paraffin-Embedded Bovine Tissues, Mark R. Ackermann, B. M. Debey, T. J. Stabel, J. H. Gold, K. B. Register, J. T. Meehan

Mark R. Ackermann

A commercially acquired anti-human macrophage antibody (anti-CD68; EBM11) was used in an immunocytochemical technique to detect macrophages in formalin-fixed, paraffin-embedded tissues from cattle, pigs, humans, rats, turkeys, dogs, and cats. In healthy cattle, the antibody labeled alveolar macrophages, pulmonary intravascular cells (presumably intravascular macrophages), and macrophage-like cells in other tissues. In bovine lungs infected with Pasteurella haemolytica, EBM11 antibody labeled 95% of alveolar macrophages and macrophages within alveolar septa but only 0–2% of streaming or “oat” leukocytes. Alveolar macrophages were also stained by EBM11 in pigs but not in rats, turkeys, dogs, and cats. The antibody also stained macrophage aggregates …


An Ethicist's Commentary On Whether Veterinarians Should Report Cruelty, Bernard E. Rollin Apr 1994

An Ethicist's Commentary On Whether Veterinarians Should Report Cruelty, Bernard E. Rollin

Animal Welfare Collection

No abstract provided.


Phenotypic Expression Of Recombinant Plasmids Pkt107 And Phk11 In An Avirulent Avian Escherichia Coli, Richard E. Wooley, Lisa K. Nolan, John Brown, Penelope S. Gibbs, Denise I. Bounous Mar 1994

Phenotypic Expression Of Recombinant Plasmids Pkt107 And Phk11 In An Avirulent Avian Escherichia Coli, Richard E. Wooley, Lisa K. Nolan, John Brown, Penelope S. Gibbs, Denise I. Bounous

Lisa K. Nolan

An avirulent wild-type avian Escherichia coli strain (Av) was electrotransformed with plasmids coding for complement resistance (pKT107) and Colicin V (ColV) production (pHK11) in order to study the effects of complement resistance and ColV production on virulence. Transformants were also compared with the wild type for embryo lethality, uptake by macrophages, motility, growth rate, plasmid content, and hemolysis. Growth rates and complement resistance patterns of strain Av and transformant Av+pHK1 1 were similar, but Av+pHK11 caused a significantly greater number of deaths in embryos and acquired motility. Transformant Av+pKT107 had a lower rate of phagocytosis, a slower growth rate, and …


Characterization Of An Avirulent Mutant Of A Virulent Avian Escherichia Coli Isolate, Lisa K. Nolan, Richard E. Wooley, Catherine W. Giddings, John Brown Mar 1994

Characterization Of An Avirulent Mutant Of A Virulent Avian Escherichia Coli Isolate, Lisa K. Nolan, Richard E. Wooley, Catherine W. Giddings, John Brown

Lisa K. Nolan

A virulent, complement-resistant avian Escherichia co/lisolate and its avirulent, complement-sensitive, transposon-insertion mutant were compared for the purpose of revealing structures associated with complement resistance. Both had a smooth lipopolysaccharide layer, contained traT, and lacked a capsule, but the mutant possessed a 16.2-kilodalton outer-membrane protein (OMP) not present in the wild-type. This protein may be the product of a coding region interrupted by transposon insertion. Such results suggest that an OMP greater than 16.2 kilodaltons in size may be responsible for the complement resistance and virulence of this wild-type E. coli.


Infected Cell Types In Ovine Lung Following Exposure To Bovine Respiratory Syncytial Virus, J. T. Meehan, R. C. Cutlip, H. D. Lehmkuhl, J. P. Kluge, Mark R. Ackermann Mar 1994

Infected Cell Types In Ovine Lung Following Exposure To Bovine Respiratory Syncytial Virus, J. T. Meehan, R. C. Cutlip, H. D. Lehmkuhl, J. P. Kluge, Mark R. Ackermann

Mark R. Ackermann

Sixteen adult sheep (ten females, six males obtained from a closed flock at National Animal Disease Center, Ames, IA) were experimentally infected with bovine respiratory syncytial virus strain 375 (BRSV), and lung tissues were stained for viral antigen. Two infected sheep were euthanatized at each of the following post-inoculation times: 12, 24, 36, 48, 72, 96, 144, and 192 hours. Lung, nasal turbinates, trachea, right cranial bronchial and mediastinal lymph nodes, liver, and spleen were collected for histologic evaluation. An indirect immunoperoxidase technique was performed on routine paraffin-embedded sections of lung tissue, trachea, turbinates, and bronchial and mediastinal lymph nodes …


Effect Of Normal Intestinal Flora Of Chickens On Colonization By Virulent Colicin V-Producing, Avirulent, And Mutant Colicin V-Producing Avian Escherichia Coli, Richard E. Wooley, John Brown, Penelope S. Gibbs, Lisa K. Nolan, Kathy R. Turner Mar 1994

Effect Of Normal Intestinal Flora Of Chickens On Colonization By Virulent Colicin V-Producing, Avirulent, And Mutant Colicin V-Producing Avian Escherichia Coli, Richard E. Wooley, John Brown, Penelope S. Gibbs, Lisa K. Nolan, Kathy R. Turner

Lisa K. Nolan

Colonization of the intestinal tracts of newly hatched chicks with Escherichia coli was attempted by swabbing test organisms onto the air-shell of 19-day-old embryos. Test organisms consisted of two virulent E. coli isolates, one avirulent isolate, and one laboratory-derived mutant of the avirulent isolate carrying a recombinant plasmid coding for Colicin V production. Chicks were cultured weekly for 3 weeks for total E. coliand for the test organisms using selective media. Control chicks were sampled on weeks 1 and 5, and the normal E. coli intestinal microflora were examined for the production of colicins. The two virulent E. coli isolates …


Serological Responses In Yong Cattle And Buffalo To Two Different Vaccination Regimes In Villages In Nortern Thailand, P.C. Cleland, P. Chammanpood, M.D. Robertson, F.C. Baldock, L.J. Gleeson Mar 1994

Serological Responses In Yong Cattle And Buffalo To Two Different Vaccination Regimes In Villages In Nortern Thailand, P.C. Cleland, P. Chammanpood, M.D. Robertson, F.C. Baldock, L.J. Gleeson

The Thai Journal of Veterinary Medicine

A 210-day trial was undertaken in northern Thailand to compare the serological responses of 6 to 18 month-old cattle and buffalo to 2 different vaccination regimes using a trivalent O, A and Asia 1 vaccine. Animals were pair matched and randomly allocated into one of 2 groups. Group 1 was vaccinated on days 0 and 180 and group 2 was vaccinated on days 0, 30 and 180. Blood samples were collected from both groups on days 0, 30, 60, 180 and antibody titres measured by the serum neutralisation test (SNT). Group 2 had significantly higher mean titres and percentage of …


การแยกและพิสูจาน์เชื้อ Herpesvirus จากนกพิราบ, อารุณี ชัยสิงห์, ลัดดา ตรงวงศา, อุราศรี ตันตสวัสดิ์, จิรา คงครอง Mar 1994

การแยกและพิสูจาน์เชื้อ Herpesvirus จากนกพิราบ, อารุณี ชัยสิงห์, ลัดดา ตรงวงศา, อุราศรี ตันตสวัสดิ์, จิรา คงครอง

The Thai Journal of Veterinary Medicine

นกพิราบอายุ 1 เดือน ป่วยตายด้วยอาการ อาเจียน ท้องเสีย ผอมแห้ง ชันสูตร ซากพบ ม้ามโต ตับโตและมีจุดเนื้อตาย การตรวจทางจุลพยาธิวิทยาพบ eosinophilic intranuclear inclusion bodies ที่ตับและลำไส้ ตรวจแยกเชื้อไวรัสโดยใช้เซลล์เพาะเลี้ยงจากไตไก่ พบเซลล์มีการเปลี่ยนแปลง (cyto- pathic effect) แบบ syncytia เมื่อผ่านเชื้อที่แยกได้เข้าไข่ไก่ฟักทาง chorioallantoic membrane (CAM) พบคัพภะไก่มีขนาดเล็กกว่าปกติ มีจุดเนื้อตายที่ตับ และมี pock ขนาด 0.5-1 มม. กระจายทั่วไปบน CAM และพบ intranuclear inclusion bodies เมื่อศึกษาทางจุลพยาธิวิทยา ผลการตรวจอนุภาคไวรัสด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอนพบ herpesvirus nucleocapsid ขนาด 75-100 nm. ในนิวเคลียสของเซลล์


การทดลองวัคซีนรวมอหิวาต์เป็ดไก่และกาฬโรคเป็ดในเป็ด ตอนที่ 1 ขบวนการผลิต และประสิทธิภาพของวัคซีนรวม, สุวรรณี ท้วมแสง, วันชัย ตีรถะวรวรรณ Mar 1994

การทดลองวัคซีนรวมอหิวาต์เป็ดไก่และกาฬโรคเป็ดในเป็ด ตอนที่ 1 ขบวนการผลิต และประสิทธิภาพของวัคซีนรวม, สุวรรณี ท้วมแสง, วันชัย ตีรถะวรวรรณ

The Thai Journal of Veterinary Medicine

การทดลองผลิตวัคซีนรวมอหิวาต์เป็ดไก่และกาฬโรคเป็ด เป็นการผลิตวัคซีนรวมอยู่ใน รูปทำแห้ง ขนาดบรรจุขวดละ 50 โด๊ส โดยผลิตวัคซีนอหิวาต์เป็ดไก่ชนิดเชื้อตายชนิดผ่าน ขบวนการ pasteurization แล้วนำมารวมกับวัคซีนกาฬโรคเป็ดชนิดเชื้อเป็นตามมาตรฐาน การผลิตที่กำหนดโดยกรมปศุสัตว์ นำไปทดสอบประสิทธิภาพในเป็ดทดลอง พบว่าสามารถสร้างภูมิคุ้มโรคในเป็ดต่อเชื้อกาฬโรคเป็ดได้ 100 เปอร์เซนต์ และต่อเชื้อ Pasteurella multocida serotype 8 : A ได้ 90 เปอร์เซนต์