Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Life Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Medicine and Health Sciences

Chulalongkorn University

Theses/Dissertations

2020

Articles 1 - 4 of 4

Full-Text Articles in Life Sciences

Effects Of Single Bolus Injection Of Pimobendan On Cardiac Function, Hemodynamics, And Heart Rate Variability In Healthy Dogs, Poonavit Pichayapaiboon Jan 2020

Effects Of Single Bolus Injection Of Pimobendan On Cardiac Function, Hemodynamics, And Heart Rate Variability In Healthy Dogs, Poonavit Pichayapaiboon

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

In veterinary medicine, pimobendan has been recommended for management of dogs with congestive heart failure for decades. Recently, an intravenous injectable solution of this drug has been launched. However, the effects of this preparation on electrocardiography, cardiac functions, hemodynamics, heart rate variability (HRV), and the pharmacokinetics (PK) in dogs are still limited. Therefore, the objective of this investigation is to investigate the hemodynamics, cardiac functions, electrocardiographic parameters, the PK profiles and its active metabolite, O-desmethyl pimobendan (ODMP), as well as its effect on HRV of a single bolus pimobendan in healthy dogs. Nine dogs were anesthetized and instrumented to obtained …


Phytochemical Screening, In Vitro Antimalarial Activity And Genetic Diversity Of Selected Asteraceae Medicinal Plants Indigenous To Thailand, Desy Liana Jan 2020

Phytochemical Screening, In Vitro Antimalarial Activity And Genetic Diversity Of Selected Asteraceae Medicinal Plants Indigenous To Thailand, Desy Liana

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The emergence of artemisinin resistance leaded the effort to find the new antimalarial drug or artemisinin activity booster. Due to the chance that secondary metabolites can be evolutionary conserved, combining phylogeny with ethnobotanical data for screening antimalarial activity may be helpful to predict bioactivity and minimize the expenditure and time for laboratory research. The aimed of this study is screening the antimalarial activity, phytochemicals and genetic diversity of selected Asteraceae medicinal plants generated by combinatorial phylogeny and ethnobotanical data. 733 medicinal plants were obtained from literature search however only 340 taxa were met the inclusion and exclusion criteria hence these …


ความหลากหลายของจีนเคซีนของแพะนมในประเทศไทย, นภารัตน์ เนาวนัด Jan 2020

ความหลากหลายของจีนเคซีนของแพะนมในประเทศไทย, นภารัตน์ เนาวนัด

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษาความหลากหลายของจีนเคซีนทั้ง 4 ชนิดในฐานะของจีนแคนดิแดท ที่มีผลต่อลักษณะการปริมาณน้ำนมในแพะจำนวน 65 ตัวแบ่งเป็นกลุ่มแพะที่มีบันทึกการให้ผลผลิตแล้วอย่างน้อย 1 ลำดับการให้นมและมีข้อมูลของลูกแพะ จำนวน 26 ตัว และกลุ่มแพะที่ไม่มีบันทึกการให้ผลผลิต จำนวน 35 ตัว จากการตรวจสอบความหลากหลายทางพันธุกรรมของจีนทั้ง 4 ชนิดด้วยวิธี DNA sequencing พบอัลลีลของจีนอัลฟาเอส 1 เคซีนทั้งหมด 3 ชนิด ได้แก่ A, C และ E มีความถี่ของอัลลีล เท่ากับ 0.577, 0.177 และ 0.246 ตามลำดับ มีความถี่จีโนไทป์ของ AA, AC, AE, CC และ EE เท่ากับ 0.292, 0.292, 0.277, 0.031 และ 0.108 ตามลำดับ จีนเบต้าเคซีน พบอัลลีลทั้งหมด 2 ชนิด ได้แก่ A และ F มีความถี่ของอัลลีล เท่ากับ 0.538 และ 0.462 ตามลำดับ มีความถี่จีโนไทป์ของ AA, AF และ FF เท่ากับ 0.246, 0.585 และ 0.169 ตามลำดับ จีนอัลฟาเอส 2 เคซีน พบอัลลีลทั้งหมด 2 ชนิด ได้แก่ A และ B มีความถี่ของอัลลีล เท่ากับ 0.862 และ 0.138 ตามลำดับ มีความถี่จีโนไทป์ของ AA และ AB เท่ากับ 0.723 และ …


แนวโน้มทางพันธุกรรมของระยะเวลาอุ้มท้องและความสัมพันธ์ของระยะเวลาอุ้มท้องกับลักษณะทางการสืบพันธุ์ในแม่สุกร, ระวิวรรณ บำเพ็ญกุล Jan 2020

แนวโน้มทางพันธุกรรมของระยะเวลาอุ้มท้องและความสัมพันธ์ของระยะเวลาอุ้มท้องกับลักษณะทางการสืบพันธุ์ในแม่สุกร, ระวิวรรณ บำเพ็ญกุล

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ข้อมูลสุกรพันธุ์แท้แลนด์เรซ (Landrace, LR) ลาร์จไวท์ (Large White, LW) ดูรอค (Duroc, DR) และข้อมูลสุกรลูกผสมที่มาจากฟาร์มสุกรเชิงพาณิชย์ จำนวน 158,313 บันทึก เป็นข้อมูลของแม่สุกรที่คลอดในปี 2549 ถึง 2562 ถูกนำมาวิเคราะห์อิทธิพลของปัจจัยคงที่ด้วยวิธี GLM ในโปรแกรม SAS และประมาณค่าองค์ประกอบความแปรปรวนด้วยวิธี average information restricted maximum likelihood (AI - REML) ผลการศึกษาพบว่า พันธุ์สุกรและลำดับอุ้มท้องมีอิทธิพลต่อทุกลักษณะที่ทำการศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.05) ฝูง - ปี - เดือนที่ผสมพันธุ์มีอิทธิพลต่อระยะเวลาอุ้มท้องของแม่สุกร (gestation length, GL) และจำนวนลูกสุกรแรกเกิดทั้งหมด (total number of piglets born, TB) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.05) ฝูง - ปี - เดือนที่แม่สุกรคลอดลูกมีอิทธิพลต่อจำนวนลูกสุกรเกิดมีชีวิต (number of piglets born alive, BA) จำนวนลูกสุกรตายแรกเกิด (number of stillborn piglets, SB) และน้ำหนักแรกเกิดเฉลี่ยของลูกสุกร (average birth weight, BW) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.05) ค่าอัตราพันธุกรรมของ GL TB BA SB และ BW มีค่าเท่ากับ 0.20 ± 0.00, 0.10 ± 0.00, 0.09 ± 0.00, 0.03 ± 0.00 และ 0.12 ± 0.01 ตามลำดับ ค่าสหสัมพันธ์ทางพันธุกรรมระหว่าง GL กับ TB และ GL กับ BA มีค่าใกล้ศูนย์ (P < 0.05) ไม่พบความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมระหว่าง GL กับ SB และ GL กับ BW (P > 0.05) ค่าสหสัมพันธ์ทางพันธุกรรมระหว่าง TB กับ BA มีค่าเท่ากับ 0.99 ± 0.00 ค่าสหสัมพันธ์ทางพันธุกรรมระหว่าง TB กับ SB และ BA กับ SB มีค่าเท่ากับ 0.49 ± 0.05 และ 0.40 ± 0.05 ตามลำดับ และค่าสหสัมพันธ์ทางพันธุกรรมระหว่าง TB กับ BW และ BA กับ BW มีค่าเท่ากับ -0.56 ± 0.03 และ -0.59 ± 0.02 ตามลำดับ แนวโน้มทางพันธุกรรมของ GL มีค่าเพิ่มขึ้น 0.02 ± 0.01 และ 0.03 ± 0.01 วันต่อปี ในสุกรพันธุ์ LR และ LW ตามลำดับ และมีค่าลดลงเท่ากับ -0.02 ± 0.01 วันต่อปี ในสุกรพันธุ์ 50LW …