Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Education Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Journal of Education Studies

Journal

2004

Articles 31 - 52 of 52

Full-Text Articles in Education

การเรียนรู้จากประสบการณ์ : แนวทางสู่การปฏิบัติในการศึกษานอกระบบโรงเรียน, อาชัญญา รัตนอุบล Mar 2004

การเรียนรู้จากประสบการณ์ : แนวทางสู่การปฏิบัติในการศึกษานอกระบบโรงเรียน, อาชัญญา รัตนอุบล

Journal of Education Studies

No abstract provided.


มุมห้องเรียน, สุมาลี ชิโนกุล Mar 2004

มุมห้องเรียน, สุมาลี ชิโนกุล

Journal of Education Studies

No abstract provided.


โรงเรียน บ้าน : การผสานความร่วมมือเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน, รัชนีกร หงส์พนัส Mar 2004

โรงเรียน บ้าน : การผสานความร่วมมือเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน, รัชนีกร หงส์พนัส

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การประเมินหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร ๔ ปี), จันทร์เพ็ญ เชื้อพานิช Mar 2004

การประเมินหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร ๔ ปี), จันทร์เพ็ญ เชื้อพานิช

Journal of Education Studies

No abstract provided.


เปิดประเด็น : พลิกหน้าดินการพนันแห่งชาติ "หวย บอล บ่อน" ถูกกฎหมาย : ผลกระทบทางสังคม วัฒนธรรม และการศึกษา, จุมพล พูลภัทรชีวิน Mar 2004

เปิดประเด็น : พลิกหน้าดินการพนันแห่งชาติ "หวย บอล บ่อน" ถูกกฎหมาย : ผลกระทบทางสังคม วัฒนธรรม และการศึกษา, จุมพล พูลภัทรชีวิน

Journal of Education Studies

No abstract provided.


ปฏิบัติการที่คลาดเคลื่อนในการประเมินภายในและแนวทางการแก้ปัญหา, สุมล ว่องวาณิช Mar 2004

ปฏิบัติการที่คลาดเคลื่อนในการประเมินภายในและแนวทางการแก้ปัญหา, สุมล ว่องวาณิช

Journal of Education Studies

No abstract provided.


กลไกการจัดการสหกิจศึกษา, ปทีป เมธาคุณวุฒิ Mar 2004

กลไกการจัดการสหกิจศึกษา, ปทีป เมธาคุณวุฒิ

Journal of Education Studies

No abstract provided.


คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของครูประถมศึกษา : ครูยุคใหม่, อุมา สุคนธมาน Mar 2004

คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของครูประถมศึกษา : ครูยุคใหม่, อุมา สุคนธมาน

Journal of Education Studies

No abstract provided.


แนะนำหนังสือ, สร้อยสน สกลรักษ์ Mar 2004

แนะนำหนังสือ, สร้อยสน สกลรักษ์

Journal of Education Studies

No abstract provided.


แนวคิด หลักการ แนวปฏิบัติและรูปแบบการสอนดนตรี : ข้อเสนอเพื่อปรับปรุง กระบวนการสอนดนตรี, ณรุทธ์ สุทธจิตต์ Mar 2004

แนวคิด หลักการ แนวปฏิบัติและรูปแบบการสอนดนตรี : ข้อเสนอเพื่อปรับปรุง กระบวนการสอนดนตรี, ณรุทธ์ สุทธจิตต์

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การพัฒนาตัวบ่งชี้ความสําเร็จของการปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน, เอื้อมพร หลินเจริญ Feb 2004

การพัฒนาตัวบ่งชี้ความสําเร็จของการปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน, เอื้อมพร หลินเจริญ

Journal of Education Studies

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพของ ตัวบ่งชี้ความสําเร็จของการปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานและเกณฑ์ วิธีการดดำเนิน การวิจัยใช้วิธีผสมผสานระหว่างวิธีการเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มี ๕ ขั้นตอน ขั้นตอนแรก เป็นการศึกษาวรรณคดีเพื่อสร้างกรอบความคิดสําหรับการวิจัย ขั้นตอนที่สอง เป็นการพัฒนาและคัดเลือกตัวบ่งชี้ด้วยเทคนิคเดลฟาย ขั้นตอน ที่สาม เป็นการกำหนดน้ำหนักความสำคัญของตัวบ่งชี้ด้วยวิธีการเชิงประจักษ์ ขั้นตอนที่สี่ เป็นการพัฒนาเกณฑ์ตัดสินความสําเร็จของการปฏิรูปการศึกษาขั้น พื้นฐาน และขั้นตอนที่ห้า เป็นการตรวจสอบคุณภาพของตัวบ่งชี้และเกณฑ์ที่ พัฒนาด้วยการรับฟังความคิดเห็นผู้ทรงคุณวุฒิ กลุ่มตัวอย่างเป็นศึกษานิเทศก์ เขตการศึกษา ๗ จำนวน ๒๕ คน สำหรับเทคนิคเดลฟาย กลุ่มผู้บริหาร ครู นักเรียน กรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครองจากโรงเรียนในเขตพื้นที่การ ศึกษาสุโขทัย รวม ๕,๑๙๖ คน สําหรับการรวบรวมข้อมูลเชิงประจักษ์ และกลุ่ม ผู้ทรงคุณวุฒิและนักการศึกษาผู้เกี่ยวข้องรับเชิญ ๑๕๐ คน สําหรับการรับฟัง ความคิดเห็น เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามสําหรับเทคนิคเดลฟาย ๓ ชุด สําหรับเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงประจักษ์ ๔ ชุด สําหรับพัฒนาเกณฑ์บอก ระดับความสําเร็จ ๑ ชุด และสําหรับการรับฟังความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิ ๑ ชุด วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา สถิติบรรยาย และการ วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผลการวิจัยพบว่า ๑. ตัวบ่งชี้ความสําเร็จของการปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานที่พัฒนาขึ้นมี ๘ องค์ประกอบ ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ย่อย ๑๒๙ ตัวบ่งชี้ ได้แก่ องค์ประกอบ ด้านสิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา ๑๓ ตัวบ่งชี้ ด้านระบบการศึกษา ๕ ตัวบ่งชี้ ด้านแนวการจัดการศึกษา ๔๒ ตัวบ่งชี้ ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา ๑๕ ตัวบ่งชี้ ด้านมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ๙ ตัวบ่งชี้ ด้านครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ๑๘ ตัวบ่งชี้ ด้านทรัพยากรและการ ลงทุนทางการศึกษา ๑๔ ตัวบ่งชี้ และด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ๑๒ ตัวบ่งชี้ เมื่อจำแนกตามระบบการศึกษาได้ตัวบ่งชี้ด้านปัจจัยนําเข้า …


การพัฒนารูปแบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของอาจารย์สถาบันราชภัฏ, อมรรัตน์ ทิพยจันทร์, รัตนะ บัวสนธ์ Feb 2004

การพัฒนารูปแบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของอาจารย์สถาบันราชภัฏ, อมรรัตน์ ทิพยจันทร์, รัตนะ บัวสนธ์

Journal of Education Studies

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) วิเคราะห์และสังเคราะห์แนวคิด ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของอาจารย์สถาบันราชภัฏ ๒) สร้าง ๓) ทดลอง และ ๔) ประเมินรูปแบบประเมินผลการปฏิบัติงานของอาจารย์สถาบันราชภัฏ วิธีการวิจัยมี ๔ ตอน คือ ๑) การศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์แนวคิดใน การประเมินผลการปฏิบัติงานและภารกิจของอาจารย์สถาบันราชภัฏ จากเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ จํานวน ๑๗ คน ๒) สร้าง รูปแบบการประเมินผลการปฏิบัติงานและคู่มือการดำเนินการประเมินผลการ ปฏิบัติงานของอาจารย์ราชภัฏ โดยใช้เทคนิคเดลฟายที่มีผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ ความตรงเชิงสอดคล้องของรูปแบบ จํานวน ๒๗ คน และผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ คู่มือการดําเนินการประเมินผลการปฏิบัติงาน จํานวน ๗ คน ๓) ทดลองใช้รูป แบบการประเมินผลการปฏิบัติงานกับอาจารย์สถาบันราชภัฏพระนครศรีอยุธยา โดยมีผู้เข้าร่วมทดลองใช้รูปแบบ ประกอบด้วยผู้ถูกประเมิน จำนวน ๑๙ คน ผู้ ทำการประเมินที่เป็นฝ่ายบริหารและเพื่อนร่วมงาน จํานวน ๓๕ คน ผู้เรียน จำนวน ๓๖๓ คน ผู้ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับรูปแบบหลังทดลองใช้ ประกอบด้วย ฝ่าย บริหาร เพื่อนร่วมงานและตนเอง จำนวน ๗ คน ผู้เรียน จำนวน ๑๐ คน และ ๔) ประเมินรูปแบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของอาจารย์สถาบันราชภัฏ โดยผู้เข้าร่วมทดลองใช้รูปแบบ จํานวน ๓๒ คน


การติดตามผลผู้สำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาบัณฑิต และ ระดับบัณฑิตศึกษาปีการศึกษา ๒๕๔๕ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สุลักษณ์ ศรีบุรี, เพียงใจ ศุขโรจน์, เอมอร จังศิริพรปกรณ์ Feb 2004

การติดตามผลผู้สำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาบัณฑิต และ ระดับบัณฑิตศึกษาปีการศึกษา ๒๕๔๕ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สุลักษณ์ ศรีบุรี, เพียงใจ ศุขโรจน์, เอมอร จังศิริพรปกรณ์

Journal of Education Studies

การวิจัยเพื่อติดตามผลผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตและ ระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ของคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษาภูมิหลัง ระยะเวลาในการได้ งานทำ ลักษณะของงานและความพึงพอใจในงานที่ทำในปัจจุบัน ๒) เพื่อศึกษา ความคิดเห็นของผู้สําเร็จการศึกษาที่มีต่อหลักสูตรสาขาวิชาที่ศึกษา และ ๓) เพื่อ ศึกษาความพึงพอใจของผู้บังคับบัญชาในการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา ประชากรที่ศึกษาได้แก่ ผู้สำเร็จการศึกษาระดับระดับปริญญาบัณฑิต และ ระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๕ และผู้บังคับบัญชาของผู้สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๔๒ - ๒๕๔๕ โดยมีวิธีดําเนินการวิจัยแบ่งเป็น ๒ ส่วนคือ ส่วนที่ ๑ การศึกษาภูมิหลัง ระยะเวลาในการได้งานทำ ลักษณะของงาน ความ พึงพอใจในงานที่ทําในปัจจุบัน และความคิดเห็นของผู้สําเร็จการศึกษาที่มีต หลักสูตรสาขาวิชาที่ศึกษา ส่วนที่ ๒ การศึกษาความพึงพอใจของผู้บังคับบัญชา ในการปฏิบัติงานของผู้สําเร็จการศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๔๒ - ๒๕๔๕


ประสบการณ์เมื่อครูเป็นพี่เลี้ยงการปฏิรูปการเรียนรู้, แขก มูลเดช Feb 2004

ประสบการณ์เมื่อครูเป็นพี่เลี้ยงการปฏิรูปการเรียนรู้, แขก มูลเดช

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมในการเรียนวิชาสังคมศึกษาโดยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบเบญจขันธ์, ทศพร เชาน์ดี, สมนึก ปฏิปทานนท์ Feb 2004

การปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมในการเรียนวิชาสังคมศึกษาโดยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบเบญจขันธ์, ทศพร เชาน์ดี, สมนึก ปฏิปทานนท์

Journal of Education Studies

No abstract provided.


มุมห้องเรียน : การสารวจการใช้สถิติในวิทยานิพนธ์ปีการศึกษา ๒๕๔๓-๒๕๔๕ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สุชาดา บวรกิติวงศ์, ชยุตม์ ภิรมย์สมบัติ Feb 2004

มุมห้องเรียน : การสารวจการใช้สถิติในวิทยานิพนธ์ปีการศึกษา ๒๕๔๓-๒๕๔๕ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สุชาดา บวรกิติวงศ์, ชยุตม์ ภิรมย์สมบัติ

Journal of Education Studies

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจที่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ (๑) นิสิตรู้จัก การวางแผน ในการทำวิจัย (๒) นิสิตแสวงหาความรู้และสามารถสร้าง องค์ความรู้ด้วยตนเอง (๓) นิสิตเข้าใจการประยุกต์ใช้สถิติในงานวิจัย และ (๔) นิสิตมีประสบการณ์ตรงในการทำวิจัย กลุ่มตัวอย่าง คือวิทยานิพนธ์ระดับ บัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา ๒๕๔๓-๒๕๔๕ เครื่องมือที่ใช้ คือแบบบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ บรรยาย ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ๑. สถิติบรรยายที่วิทยานิพนธ์ทุกภาควิชานิยมใช้เรียงจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และ ร้อยละ (Percent) ๒. สถิติอ้างอิงที่วิทยานิพนธ์ทุกภาควิชานิยมใช้เรียงจากมากไปหาน้อย ได้แก่ สหสัมพันธ์ (Correlation) การถดถอย (Regression) การทดสอบที่ (t-test) การทดสอบเอฟ (F-test) และ การทดสอบไค-สแควร์ (X-test) โดยมีวิทยานิพนธ์ของภาควิชาวิจัยการศึกษาที่ใช้สถิติที่แปลกใหม่ เช่น โมเดล เชิงเส้นตรงระดับลดหลั่น (Hierarcical Linear Model: HLM) โมเดล ลิสเรล (LISREL Model) งานวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของการสอนแบบเน้นวิจัยเป็นฐานโดยได้รับทุนสนับสนุนจากคณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๖ ๓. การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือพบว่า วิทยานิพนธ์ส่วนใหญ่นิยมการตรวจสอบความ ตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ค่าอำนาจ จําแนก (Discrimination Power: r) ค่าความยาก (Level of Difficulty: P) ค่า ความเที่ยงตามสูตรของคูเดอร์-ริชาร์ดสัน20 (Kuder-Richardson 20:KR20) นอกจากนี้ ยังพบว่ามีการใช้วิธีพหุลักษณะ - พหุวิธี (Multitrait-Multimethod: MTMM) ใน วิทยานิพนธ์ของภาควิชาอุดมศึกษาบางเล่ม


แนะนำหนังสือ, วรรณี เจตจำนง Feb 2004

แนะนำหนังสือ, วรรณี เจตจำนง

Journal of Education Studies

No abstract provided.


ปัญหาและความต้องการของนักศึกษาพยาบาล, เกียรติกำจร กุศล Feb 2004

ปัญหาและความต้องการของนักศึกษาพยาบาล, เกียรติกำจร กุศล

Journal of Education Studies

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและความต้องการของ นักศึกษาพยาบาล รวมทั้งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัญหาและความต้องการ ของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ทุกชั้นปี ที่ กำลังศึกษาในหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ราชชนนีนครศรีธรรมราช จำนวน ๑๖๐ คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคำนวณค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ๑. นักศึกษาพยาบาลส่วนใหญ่มีปัญหาด้านการปรับตัวทางการเรียน ด้านศาสนาและศีลธรรม และด้านการบริหารของสถาบันอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนปัญหาด้านสุขภาพ ด้านการเงิน ด้านบุคลิกภาพ ด้านเพศ ด้านเพื่อนและ สังคม ด้านการจัดการหลักสูตรการศึกษา ด้านการสอนและความสัมพันธ์กับ อาจารย์ ด้านกิจกรรม และด้านหอพัก มีปัญหาอยู่ในระดับเล็กน้อย ๒. นักศึกษาพยาบาลส่วนใหญ่มีความต้องการการจัดด้านสถานศึกษา ด้านกิจกรรมนักศึกษา ด้านสุขภาพ ด้านการบริหารของสถาบันและบรรยากาศ ทั่วไป ด้านการปรับตัวตารางเรียน และด้านการสอน และความสัมพันธ์กับอาจารย์ อยู่ในระดับมาก ส่วนความต้องการด้านเพื่อนและการเข้าสังคม ด้านบุคลิกภาพ ด้านศาสนาและศีลธรรม ด้านการเงิน และด้านการปรับตัวทางเพศ มีความ ต้องการอยู่ในระดับปานกลาง ๓. ความสัมพันธ์ระหว่างปัญหาและความต้องการของนักศึกษาพยาบาล พบว่ามีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (r = 0.349, p = 0.01)


เปิดประเด็น : จิตสำนึกใหม่เรียกหา เมื่ออนาคตไล่ล่าคุณ New Consciousnes Is Needed As The Future Catches You, จุมพล พูลภัทรชีวิน Feb 2004

เปิดประเด็น : จิตสำนึกใหม่เรียกหา เมื่ออนาคตไล่ล่าคุณ New Consciousnes Is Needed As The Future Catches You, จุมพล พูลภัทรชีวิน

Journal of Education Studies

No abstract provided.


กรณีการศึกษา : การเรียนรู้จากการบริการในวิชาสันติศึกษา, วลัย พานิช Feb 2004

กรณีการศึกษา : การเรียนรู้จากการบริการในวิชาสันติศึกษา, วลัย พานิช

Journal of Education Studies

No abstract provided.


ผลการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด Sts โดยใช้ เนื้อหาความรู้ของภูมิปัญญาไทยที่มีต่อความสามารถในการคิด แก้ปัญหาเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕*, เอมอร บูชาบุพพาจารย์ Feb 2004

ผลการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด Sts โดยใช้ เนื้อหาความรู้ของภูมิปัญญาไทยที่มีต่อความสามารถในการคิด แก้ปัญหาเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕*, เอมอร บูชาบุพพาจารย์

Journal of Education Studies

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาเชิง วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ที่เรียนวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด STS โดยใช้เนื้อหาความรู้ของภูมิปัญญาไทยกับที่เรียนโดยวิธีปกติ กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่าย ประถม จำนวน ๒ ห้องเรียน ห้องเรียนละ ๓๐ คน โดยจับสลากได้กลุ่มทดลอง คือ ห้องป.๕/๑ เรียนวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดของ STS โดยใช้เนื้อหาความรู้ ของภูมิปัญญาไทย และกลุ่มควบคุมคือห้อง ป.๕/๒ เรียนวิทยาศาสตร์โดยวิธีปกติ ซึ่งผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลองนักเรียน กลุ่มทดลองที่เรียนวิทยาศาสตร์ ตามแนวคิดของ STS โดยใช้เนื้อหาความรู้ของภูมิปัญญาไทย และกลุ่มควบคุม ที่เรียนวิทยาศาสตร์โดยวิธีปกติ มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาเชิง วิทยาศาสตร์ไม่แตกต่างกันที่ระดับความมีนัยสำคัญ ๐.๐๕ และจากการวิเคราะห์ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาเชิงวิทยาศาสตร์โดยแยกประเภท ของคำถาม ๔ ประเภท ได้แก่ ความสามารถในการระบุปัญหา ความสามารถ ในการวิเคราะห์ปัญหา ความสามารถในการเสนอวิธีแก้ปัญหาและความสามารถ ในการตรวจสอบผลลัพธ์ พบว่า นักเรียนกลุ่มควบคุมที่เรียนวิทยาศาสตร์โดยวิธีปกติมีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาเชิงวิทยาศาสตร์ทุกประเภทของ คำถามก่อนและหลังเรียนไม่แตกต่างกันที่ระดับความมีนัยสำคัญ ๐.๐๕ แต่กลุ่ม ทดลองที่เรียนวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด STS โดยใช้เนื้อหาความรู้ของภูมิ ปัญญาไทย มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาเชิงวิทยาศาสตร์ในด้านการ วิเคราะห์ปัญหาและการเสนอวิธีการแก้ปัญหาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕


เมื่อฉันสอบวัดคุณสมบัติผ่านแต่เพียงผู้เดียว, พรธิดา วิเชียรปัญญา, ปารเมนทร ปวีณ์วรรณ, วัชรินทร์ ฐิติอดิศัย Feb 2004

เมื่อฉันสอบวัดคุณสมบัติผ่านแต่เพียงผู้เดียว, พรธิดา วิเชียรปัญญา, ปารเมนทร ปวีณ์วรรณ, วัชรินทร์ ฐิติอดิศัย

Journal of Education Studies

No abstract provided.