Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Education Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Teacher Education and Professional Development

PDF

Theses/Dissertations

2017

Institution
Keyword
Publication

Articles 511 - 528 of 528

Full-Text Articles in Education

The Effect Of Ged Candidate Race And Motivation Factors On Exam Outcomes, Kathi L. Middleton Jan 2017

The Effect Of Ged Candidate Race And Motivation Factors On Exam Outcomes, Kathi L. Middleton

Walden Dissertations and Doctoral Studies

Earning a General Educational Development (GED) credential can have positive results in a student's life including higher wages and better job opportunities. The 2014 version of the GED exam changed the format from a paper-based test to a computer-based test. This change coincided with a 35% decline in the pass rate indicating not all students are prepared to pass the new computer-based test (CBT). The purpose of this quantitative study was to evaluate the influence of a candidate's race and reason for taking the exam on the pass or fail outcome of the new computer-based GED exam. The study used …


The Gap Between Engineering Education And Postgraduate Preparedness, Abdulla Farah Warsame Jan 2017

The Gap Between Engineering Education And Postgraduate Preparedness, Abdulla Farah Warsame

Walden Dissertations and Doctoral Studies

Engineering students entering the workforce often struggle to meet the competency expectations of their employers. Guided by constructivist theory, the purpose of this case study was to understand engineers' experiences of engineering education, deficiencies in practical skills, and the self-learning methods they employed to advance their technical and professional competencies. Working engineers were asked about their experiences overcoming practical skill deficiencies and bridging the gap between education and practice. Interviews with 15 chemical, civil, mechanical, and electrical engineers were analyzed by coding for common statements and identifying themes. Firsthand experiences of the participants captured 3 themes: overall perceptions of engineering …


Qualitative Examination Of Strategies To Overcome Resistance To Change In Lean Manufacturing, Elizabeth Burmester Jan 2017

Qualitative Examination Of Strategies To Overcome Resistance To Change In Lean Manufacturing, Elizabeth Burmester

Walden Dissertations and Doctoral Studies

Approximately 80% of lean manufacturing program initiatives are abandoned in the first year of implementation. Only 2% of organizations that embark on the lean journey complete it with the results and the sustainability they expected. There is a gap in past research regarding, the leadership strategies organizations can use to overcome resistance to change during lean manufacturing program implementations. The problem in this study was that leaders have limited information to overcome resistance to change when implementing these programs. The purpose of this study was to explore how leaders within manufacturing organizations may overcome resistance to change through leadership strategy. …


History Teachers' Perspectives Of Time Constraints, Engagement, And Relevance In The Curriculum, Christy Mimie Davis Jan 2017

History Teachers' Perspectives Of Time Constraints, Engagement, And Relevance In The Curriculum, Christy Mimie Davis

Walden Dissertations and Doctoral Studies

Over the last 20 years, many state school administrators have reduced social studies instructional time in favor of time dedicated to reading or math skills due to the pressure of standardized testing. The purpose of this qualitative case study, which was based on constructivist theories about learning and schema theory, was to analyze teachers' perspectives on teaching history lessons, in terms of engagement and relevance, while working within new time constraints. Purposeful sampling was used to select 6 teachers for interviews; all had experience teaching social studies courses at the upper elementary and middle levels in a public school district …


How High School Teachers Perceive The Quality Of Professional Development, Leslie Puente-Ervin Jan 2017

How High School Teachers Perceive The Quality Of Professional Development, Leslie Puente-Ervin

Walden Dissertations and Doctoral Studies

New Jersey is 1 of 46 states to enroll in President Obama's Race-to-the-Top Initiative. Participating states must adopt national standards, revise teacher evaluation procedures, and administer new state assessments. States are prioritizing quality professional development (PD) to prepare teachers for these rapid shifts. The overall problem studied was how high school teachers perceive the quality of PD in a high school in New Jersey. While substandard PD alone is not enough to lose tenure, it has recently become one of the evaluative measures for teacher performance according to a new tenure law signed in 2012 by Governor Chris Christie. Such …


Intergenerational Conversation: Authentic Learning Through Critical Reflection Of A Community Engagement Learning Experience, Amy Davison Jan 2017

Intergenerational Conversation: Authentic Learning Through Critical Reflection Of A Community Engagement Learning Experience, Amy Davison

Dissertations and Theses @ UNI

The purpose of this study was to determine the type of reflection students are using in their final reflection stories to see if there was evidence of reflection in relation to authentic learning. Assignments from four Human Relations courses that included a community engagement learning component provided the data for a qualitative content analysis to determine authentic learning through the reflective writing assignments. Levels of reflection outlined in Kember, McKay, Sinclair, and Wong’s (2008) four category scheme for coding and assessing the level of reflection was applied to students’ written work. The student’s final essay written about their intergenerational community …


Students' Experiences With Personalized Learning: An Examination Using Self-Determination Theory, Steven Netcoh Jan 2017

Students' Experiences With Personalized Learning: An Examination Using Self-Determination Theory, Steven Netcoh

Graduate College Dissertations and Theses

In recent years, personalized learning has become a buzzword in the field of education and an approach that schools across the United States have adopted in their attempts to account for the diverse interests, aspirations, and needs of their students. Despite the growing interest in personalized learning, there is a dearth of empirical research on this educational approach, particularly as it relates to the student experience. Given the paucity of research in this area, little is known about the extent to which personalized learning can offer students a more beneficial quality of experience than traditional educational methods. This question is …


แนวทางการนิเทศการสอนครูผู้สอนภาษาอังกฤษโรงเรียนประถมศึกษา สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร, วิไลพร ชิมชาติ Jan 2017

แนวทางการนิเทศการสอนครูผู้สอนภาษาอังกฤษโรงเรียนประถมศึกษา สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร, วิไลพร ชิมชาติ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและความคาดหวังของครูเกี่ยวกับการนิเทศการสอนครูผู้สอนภาษาอังกฤษ 2) เพื่อเสนอแนวทางในการนิเทศการสอนครูผู้สอนภาษาอังกฤษ ดำเนินการเป็น 2 ตอน โดยตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบันและความคาดหวังของครูเกี่ยวกับการนิเทศการสอนครูผู้สอนภาษาอังกฤษ ประชากร คือ โรงเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน 431 โรงเรียน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 431 คน สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบสอบถาม 1 ฉบับ แบบมาตราส่วนประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์การจัดลำดับความสำคัญของการต้องการจำเป็นโดยวิธี Modified Priority Needs Index (PNI) ตอนที่ 2 การศึกษาแนวทางการนิเทศการสอนครูภาษาอังกฤษ เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ จาก ศึกษานิเทศก์ จำนวน 5 คน ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 5 คน ครูผู้นิเทศการสอนภาษาอังกฤษ จำนวน 5 คน รวม 15 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า แนวทางการนิเทศการสอนครูผู้สอนภาษาอังกฤษ ด้านหลักสูตร 1) ควรกำหนดนโยบายการนิเทศการสอนครูผู้สอนภาษาอังกฤษอย่างเป็นระบบ 2) ควรจัดอบรมให้ความรู้เรื่องการพัฒนาหลักสูตรภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียนกรุงเทพมหานครโดยเฉพาะ เช่น หลักสูตรท้องถิ่นเป็นภาษาอังกฤษ หลักสูตร Jolly phonics เป็นหลักสูตรเพิ่มเติมทุกโรงเรียน 3) ต้องมีนโยบายให้ครูจัดทำและส่งแผนการจัดการเรียนรู้เป็นประจำ ติดตาม ประเมินผลอย่างต่อเนื่อง 4) ควรนิเทศการสอนครูผู้สอนโดยการนิเทศแบบคลินิก Lesson Study, Instructional Rounds หรือ Mini Observation เป็นต้น ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1) ควรจัดอบรมเพื่อพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษแนวใหม่ตามกรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษที่เป็นสากล (CEFR) 2) ควรจัดศึกษานิเทศก์ภาษาอังกฤษให้มีจำนวนเพียงพอที่จะสามารถนิเทศครูภาษาอังกฤษได้ทุกโรงเรียน 3) ส่งเสริมให้ครูผู้สอนภาษาอังกฤษและครูชาวต่างชาติ ร่วมกับโรงเรียนในเครือข่ายหรือสำนักงานเขต จัดกิจกรรมร่วมกัน 4) ควรจัดตารางสอนให้ครูไทยเข้าสอนควบคู่กับครูชาวต่างชาติ 5) ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูเข้ารับการอบรมเกี่ยวกับจัดการเรียนการสอนและต้องส่งรายงานการอบรมทุกครั้ง …


แนวทางการพัฒนาครูไทยที่สอนในโครงการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตกรุงเทพมหานคร, ภานุพงศ์ ใจเยือกเย็น Jan 2017

แนวทางการพัฒนาครูไทยที่สอนในโครงการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตกรุงเทพมหานคร, ภานุพงศ์ ใจเยือกเย็น

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันเกี่ยวกับความรู้ทักษะและความคาดหวังในการพัฒนาครูไทยที่สอนในโครงการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ 2) เพื่อนำเสนอแนวทางการพัฒนาครูไทยที่สอนในโครงการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ ประชากรคือครูไทยที่สอนในโครงการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 253 คน ผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์ 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ฉบับ และแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง 2 ฉบับ ผลการวิจัย พบว่า แนวทางการพัฒนาครูไทยที่สอนในโครงการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ 1. การพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร ควรจัดสิ่งแวดล้อมระหว่างครูไทยกับครูต่างชาติให้นั่งทำงานอยู่ภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกันรวมถึงการจัดให้ทำกิจกรรมต่างๆ ให้ครูพัฒนาตนเองในการฝึกทักษะภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ควรกำหนดนโยบายให้ครูไทยที่สอนในโครงการ English Program สอบวัดทักษะภาษาอังกฤษทุกๆ 3 ปีและจัดสรรงบประมาณเพื่อส่งเสริมให้ครูไทยไปอบรมความรู้ด้านการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษทั้งในและต่างประเทศ 2. การพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ควรจัด English Program Boot Camp ให้ครูไทยที่สอนคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สุขศึกษา ก่อนที่จะเข้าสอนในโครงการ English Program ครูไทยควรวางแผนร่วมกับครูต่างชาติในการจัดทำแผนจัดทำแผนการเรียนรู้เป็นภาษาอังกฤษในรายวิชาโดยให้ครูต่างชาติเป็นผู้ตรวจสอบด้านภาษา ควรจัดสรรงบประมาณจากเงินอุดหนุนช่วยเหลือพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้กับครูไทยที่สามารถจัดการเรียนการสอนในโครงการ English Program จัดการนิเทศการสอนให้ครูไทยโดยใช้เทคนิคการนิเทศแบบคลินิค Mini Observation จัดการนิเทศ Lesson Study ให้ครูไทยได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครูต่างชาติ 3. การใช้สื่อและอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน ให้ครูไทยจัดทำเอกสารประกอบการจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษโดยมีครูต่างชาติเป็นผู้ตรวจสอบด้านภาษา จัด English teacher Camp เพื่อสร้างและใช้สื่อการเรียนการสอนที่เป็นภาษาอังกฤษ ให้ครูเลือกใช้สื่อออนไลน์ Google Classroom, Google App โดยเลือกให้สอดคล้องกับบทเรียน รายวิชา 4. การพัฒนาการวัดและประเมินผล สนับสนุนให้ครูไทยในกลุ่มเครือข่ายโรงเรียนประชุมและวางแผนเกี่ยวกับการวัดและประเมินผล ให้ครูไทยและครูต่างชาติร่วมกันออกแบบเครื่องมือในการวัดและประเมินผล 5. การพัฒนาการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร ให้ครูไทยไปร่วมทำกิจกรรม ฝึกทำกิจกรรม ศึกษาความรู้ในการทำกิจกรรมทั้งในและต่างประเทศ สนับสนุนการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรในลักษณะเครือข่ายโรงเรียนได้เข้าร่วมการแข่งขันทักษะ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สังคมศึกษาฯ โดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อกลางในการแข่งขัน


การวิเคราะห์พฤติกรรมการนิเทศของครูพี่เลี้ยงที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้และการปฏิบัติงานในสถานศึกษาของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู, ภานุพันธุ์ ขันธะ Jan 2017

การวิเคราะห์พฤติกรรมการนิเทศของครูพี่เลี้ยงที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้และการปฏิบัติงานในสถานศึกษาของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู, ภานุพันธุ์ ขันธะ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์พฤติกรรมการนิเทศของครูพี่เลี้ยงที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้และการปฏิบัติงานในสถานศึกษาของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จำนวน 320 คน โดยใช้การสุ่มแบบโควตาเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบข้อมูลเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเปรียบเทียบวิเคราะห์โดยหาค่าความถี่ และค่าร้อยละ แล้วนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปตารางประกอบคำบรรยายและวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า ระดับพฤติกรรมการนิเทศของครูพี่เลี้ยง ในภาพรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายพฤติกรรมพบว่าอยู่ในระดับมากทุกพฤติกรรม ระดับการจัดการเรียนรู้และการปฏิบัติงานในสถานศึกษาของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในภาพรวมอยู่ในระดับมาก พฤติกรรมการนิเทศของครูพี่เลี้ยงส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้และการปฏิบัติงานในสถานศึกษาของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูอยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกเป็นงานพบว่างานวิชาการ และงานด้านธุรการในชั้นเรียนพฤติกรรมการนิเทศแบบไม่ชี้นำส่งผลมากที่สุด ส่วนงานด้านปกครอง และงานพัฒนานักเรียนด้านต่าง ๆ พฤติกรรมการนิเทศแบบร่วมมือส่งผลมากที่สุด


ปัจจัยเชิงสาเหตุของการนิเทศที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะครูที่สอนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาโครงการโรงเรียนประชารัฐ, มารุต ทรรศนากรกุล Jan 2017

ปัจจัยเชิงสาเหตุของการนิเทศที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะครูที่สอนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาโครงการโรงเรียนประชารัฐ, มารุต ทรรศนากรกุล

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาโมเดลเชิงสาเหตุของปัจจัยด้านการนิเทศที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะครู (2) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลเชิงสาเหตุของปัจจัยด้านการนิเทศที่มีต่อสมรรถนะครูกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (3) เพื่อวิเคราะห์ความหลากหลายของความสัมพันธ์เชิงสาเหตุด้านการนิเทศที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะครู ประชากร คือ ครูโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาในโครงการโรงเรียนประชารัฐ จำนวน 21,812 คน กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Random Sampling) จำนวน 1,040 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ฉบับ มีทั้งหมด 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลด้านสถานภาพและสมรรถนะครู และตอนที่ 2 แบบสอบถามปัจจัยเชิงสาเหตุด้านการนิเทศ ในงานวิจัยนี้วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติอนุมานและสถิติเชิงสรุปอ้างอิง การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis) และโมเดลสมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling) ซึ่งผู้วิจัยใช้โปรแกรม SPSS for Window และ R ร่วมกันในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการนิเทศ พฤติกรรมการนิเทศและกิจกรรมการนิเทศเป็นปัจจัยเชิงสาเหตุของการนิเทศที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะครูโดยสามารถนำมาสร้างเป็นโมเดลเชิงสาเหตุของการนิเทศและวิเคราะห์ความหลากหลายได้ 4 โมเดล ดังนี้ 1. โมเดลเชิงสาเหตุของรูปแบบการนิเทศแบบคลินิก มีรูปแบบการนิเทศเป็นตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรงต่อสมรรถนะครูสูงสุด (β = 0.44) รองลงมาเป็นพฤติกรรมการนิเทศ (β = 0.29) และกิจกรรมการนิเทศ (β = 0.21) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีความผันแปรร่วมกับสมรรถนะครูร้อยละ 77.4 2. โมเดลเชิงสาเหตุของรูปแบบการนิเทศแบบร่วมพัฒนาวิชาชีพ มีพฤติกรรมการนิเทศเป็นตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรงต่อสมรรถนะครูสูงสุด (β = 0.42) ตามด้วยกิจกรรมการนิเทศ (β = 0.26) และรูปแบบการนิเทศ (β = 0.25) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีความผันแปรร่วมกับสมรรถนะครูร้อยละ 74.1 3. โมเดลเชิงสาเหตุของรูปแบบการนิเทศแบบพัฒนาตนเองมีรูปแบบการนิเทศ เป็นตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรงต่อสมรรถนะครูสูงสุด (β = 0.79) รองลงมาเป็นกิจกรรมการนิเทศ (β = …


ปัจจัยที่ส่งผลต่อการคงอยู่ของครูโรงเรียนประจำ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, รัตน์สินี รื่นนุสาน Jan 2017

ปัจจัยที่ส่งผลต่อการคงอยู่ของครูโรงเรียนประจำ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, รัตน์สินี รื่นนุสาน

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการคงอยู่ของครูโรงเรียนประจำ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประชากร คือ ครูที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียนประจำเป็นระยะเวลาตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป จำนวน 541 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็แบบสอบถาม 1 ฉบับ คือ (1) ปัจจัยด้านบุคคล (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการคงอยู่ของครูในโรงเรียนประจำ (3) การคงอยู่ของครูโรงเรียนประจำ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจงแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลศึกษาการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการคงอยู่ของครูโรงเรียนประจำพบว่า (1) ปัจจัยด้านบุคคลมีองค์ประกอบที่ส่งผลต่อการคงอยู่ของครูโรงเรียนประจำ คือ ด้านภาระครอบครัว ส่งผลต่อการคงอยู่ของครูโรงเรียนประจำด้านความผูกพันในงานของครู และส่งผลต่อด้านความสมดุลการมีชีวิตส่วนตัวกับการทำงาน กับด้านตำแหน่งที่ได้รับมอบหมาย ส่งผลต่อการคงอยู่ของครูโรงเรียนประจำด้านการยึดมั่นอุดมการณ์ในการทำงาน (2) ปัจจัยด้านพึงพอใจในงานมีองค์ประกอบที่ส่งผลต่อการคงอยู่ของครูโรงเรียนประจำคือ ด้านลักษณะงานส่งผลต่อการคงอยู่ของครูโรงเรียนประจำด้านความผูกพันในงานของครู และส่งผลต่อด้านการยึดมั่นอุดมการณ์ในการทำงาน และปัจจัยด้านความพึงพอใจในงานด้านภาระงาน ส่งผลต่อการคงอยู่ของครูโรงเรียนประจำ ด้านความสมดุลการมีชีวิตส่วนตัวกับการทำงาน (3) ปัจจัยด้านองค์กรที่ส่งผลต่อการคงอยู่ของครูโรงเรียนประจำทั้ง 3 ด้าน ด้านที่ส่งผลคือด้านวัฒนธรรมองค์กร ส่งผลด้านความผูกพันในงานของครูมากที่สุด และด้านความสมดุลการมีชีวิตส่วนตัวกับการทำงาน และด้านการยึดมั่นอุดมการณ์ในการทำงาน เมื่อเปรียบเทียบปัจจัยทั้งสามด้านพบว่า ปัจจัยด้านองค์กรด้านวัฒนธรรมองค์กรส่งผลต่อการคงอยู่ของครูโรงเรียนประจำมากที่สุด ซึ่งหมายความว่า ครูที่มีความพึงพอใจด้านวัฒนธรรมองค์กรมาก จะส่งผลต่อการคงอยู่ของครูโรงเรียนประจำมาก


ปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้องการการนิเทศการสอนของครูผู้สอนนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษระดับประถมศึกษาในโรงเรียนเรียนร่วม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร, สิทธิศักดิ์ ปะวันเณ Jan 2017

ปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้องการการนิเทศการสอนของครูผู้สอนนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษระดับประถมศึกษาในโรงเรียนเรียนร่วม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร, สิทธิศักดิ์ ปะวันเณ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้องการการนิเทศการสอนของครูผู้สอนนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษระดับประถมศึกษาในโรงเรียนเรียนร่วม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร ประชากร คือครูผู้สอนนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ จำนวน 202 คน จาก 37 โรงเรียน วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ผลการวิจัยพบว่า ครูผู้สอนมีความต้องการการนิเทศการสอนอยู่ในระดับมากทุกด้าน ตามลำดับดังนี้ ด้านการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) และแผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP) (µ=4.05) ด้านการเตรียมความพร้อมนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ (µ=4.03) ด้านเทคนิคการสอนและสื่อการสอน (µ=4.03) และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนอกห้องเรียน ( µ=3.94) ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้องการการนิเทศการสอน พบว่า 1) ปัจจัยด้านอายุ ช่วงอายุ 21 – 30 ปี ส่งผลต่อความต้องการการนิเทศการสอนด้านการเตรียมความพร้อมนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ มากที่สุด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ช่วงอายุ 31 – 40 ปี ส่งผลต่อความต้องการการนิเทศการสอนด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนอกห้องเรียน มากที่สุด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และช่วงอายุ 51 – 60 ปี ส่งผลต่อความต้องการการนิเทศการสอนด้านเทคนิคการสอนและสื่อการสอน มากที่สุด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ปัจจัยด้านวุฒิการศึกษา พบว่า วุฒิการศึกษาปริญญาตรีส่งผลต่อความต้องการการนิเทศการสอนทุกด้าน โดยส่งผลมากที่สุด คือด้านการเตรียมความพร้อมนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) ปัจจัยด้านระดับชั้นที่สอน พบว่า ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ส่งผลต่อความต้องการการนิเทศการสอนทุกด้าน โดยส่งผลมากที่สุด คือ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนอกห้องเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4) ปัจจัยด้านภาระงาน พบว่า ภาระงานที่รับผิดชอบมากกว่า 1 ภาระงาน และ 5) ปัจจัยด้านประสบการณ์การสอน พบว่า การที่ไม่เคยมีประสบการณ์การสอนนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ ส่งผลต่อความต้องการการนิเทศการสอนด้านการเตรียมความพร้อมนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ และ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนอกห้องเรียน มากที่สุด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ …


การพัฒนาตัวบ่งชี้ทัศนคติเชิงบวกต่อการนิเทศของครู, ศิริเดช เทพศิริ Jan 2017

การพัฒนาตัวบ่งชี้ทัศนคติเชิงบวกต่อการนิเทศของครู, ศิริเดช เทพศิริ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาตัวบ่งชี้ทัศนคติเชิงบวกต่อการนิเทศของครู (2) ตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลตัวบ่งชี้ทัศนคติเชิงบวกต่อการนิเทศของครูกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ประชากรคือ ครูระดับมัธยมศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 และ 2 กรุงเทพมหานคร โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้มีจำนวน 486 คน ซึ่งใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage random sampling) เครื่องมือในการวิจัยมี 2 ฉบับ ประกอบด้วย (1) แบบประเมินองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของทัศนคติเชิงบวกต่อการนิเทศของครู (2) แบบสอบถามทัศนคติเชิงบวกต่อการนิเทศของครู จากนั้นนำข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับลักษณะของกลุ่มตัวอย่างและทัศนคติเชิงบวกต่อการนิเทศของครูมาวิเคราะห์ โดยใช้สถิติบรรยาย ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) สัมประสิทธิ์การกระจาย (Coefficient of variation) ความเบ้ (Skewness) ความโด่ง (Kurtosis) รวมทั้งวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวบ่งชี้ด้วยการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson's product moment coefficient) ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Window และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง (Second Order Confirmatory Factor Analysis) สำหรับโมเดลตัวบ่งชี้ทัศนคติเชิงบวกต่อการนิเทศของครูกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ด้วยโปรแกรม LISREL ผลการพัฒนาตัวบ่งชี้ทัศนคติเชิงบวกต่อการนิเทศของครู พบว่า ทัศนคติเชิงบวกต่อการนิเทศของครูสามารถแบ่งได้เป็น 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) องค์ประกอบด้านปัญญา (Cognitive Component) ประกอบด้วย 3 ตัวบ่งชี้ 1.1 มีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องการนิเทศ 1.2 มีความเข้าใจในเรื่องการนิเทศ 1.3 มีความเชื่อมั่นว่าการนิเทศเป็นการพัฒนาวิชาชีพของครู 2) องค์ประกอบด้านความรู้สึก (Affective Component) ประกอบด้วย 3 ตัวบ่งชี้ 2.1 เห็นความสำคัญและประโยชน์ของการนิเทศ 2.2 มีความยินดีและเต็มใจที่จะรับการนิเทศ 2.3 ยอมรับและไว้วางใจผู้นิเทศ 3) องค์ประกอบด้านพฤติกรรม (Behavioral Component) …


กลยุทธ์การพัฒนาครูด้านการสอนคิดวิเคราะห์โรงเรียนมัธยมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต8, วิศนี ใจฉกาจ Jan 2017

กลยุทธ์การพัฒนาครูด้านการสอนคิดวิเคราะห์โรงเรียนมัธยมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต8, วิศนี ใจฉกาจ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของความต้องการในการพัฒนาครูด้านการสอนคิดวิเคราะห์ (2) เพื่อศึกษาสภาพพึงประสงค์ของความต้องการในการพัฒนาครูด้านการสอนคิดวิเคราะห์ (3) เพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมของการพัฒนาครูด้านการสอนคิดวิเคราะห์ (4) เพื่อนำเสนอกลยุทธ์การพัฒนาครูด้านการสอนคิดวิเคราะห์ ประชากร คือ ครูผู้สอนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 จำนวน 2,683 คน จาก 55 โรงเรียนกลุ่มตัวอย่างจำนวน 335 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ จากนั้นจึงเลือกการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือเป็นแบบสอบถามและแบบประเมินความเหมาะสมของร่างกลยุทธ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนี PNI Modified และการวิเคราะห์เนื้อหา​ ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันในภาพรวมพบว่า มีค่าเฉลี่ยในระดับมาก (x̄=3.88) แต่เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ การสอนคิดวิเคราะห์เนื้อหา มีค่าเฉลี่ยระดับมาก (x̄ = 3.93) สภาพพึงประสงค์ของการพัฒนาครูด้านการสอนคิดวิเคราะห์ ในภาพรวมพบว่า มีค่าเฉลี่ยระดับมาก (x̄ = 4.32) แต่เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ การสอนคิดวิเคราะห์เนื้อหา มีค่าเฉลี่ยระดับมาก (x̄ = 4.35) ผลการทดสอบค่าดัชนีจัดเรียงลำดับความสำคัญความต้องการจำเป็น (Modified Priority Needs Index; PNImodified) ในภาพรวมมีค่า PNImodified เท่ากับ 0.116 เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า การสอนคิดวิเคราะห์ความสัมพันธ์ มีค่า PNImodified เท่ากับ 0.120 เป็นลำดับที่หนึ่ง กลยุทธ์การพัฒนาครูด้านการสอนคิดวิเคราะห์โรงเรียนมัธยมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์หลัก และ 16 วิธีการ ดังนี้ 1) การพัฒนาศักยภาพครูด้านการได้รับความรู้ในการคิดวิเคราะห์ มี 5 วิธีการ 2) กลยุทธ์การพัฒนาศักยภาพครูด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบคิดวิเคราะห์ มี 4 วิธีการ 3) การพัฒนาศักยภาพครูด้านการใช้สื่อ …


Teaching In A Mixed Secondary Spanish Classroom: A Case Study Of Strategies And Successes Of Minnesota Teachers, Meredith Gunderson Jan 2017

Teaching In A Mixed Secondary Spanish Classroom: A Case Study Of Strategies And Successes Of Minnesota Teachers, Meredith Gunderson

All Graduate Theses, Dissertations, and Other Capstone Projects

The population of Spanish heritage language learners is increasing throughout the state of Minnesota. This change in demographics impacts schools in a variety of ways; one such consequence is the creation of classes for Spanish for Native Speakers in locations with high Latino populations. However, in most locations, such programs currently do not exist, resulting in Spanish heritage language learners enrolling in Spanish foreign language classes. These classrooms, called mixed classes due to the combination of second language learners and Spanish heritage language learners in the same classroom, pose a unique challenge to the foreign language instructors. This qualitative multiple …


Exploring The Impact Of Postgraduate Preservice Primary Science Education On Students’ Self-Efficacy, Christina Maria Norris Jan 2017

Exploring The Impact Of Postgraduate Preservice Primary Science Education On Students’ Self-Efficacy, Christina Maria Norris

Theses: Doctorates and Masters

The effectiveness of science teaching in primary school is dependent upon teachers’ self-efficacy to teach science. Low self-efficacy has been linked to avoidance of teaching primary science; therefore, preservice teacher self-efficacy requires fostering to have graduates keen to teach primary science. Through an embedded mixed method intrinsic-case study, this research explored the impact of postgraduate preservice primary science education on students’ self-efficacy. This research examined the postgraduate students’ self-efficacy as the lens to determine the effectiveness of the design and pedagogical instruction of the unit and its tutors. Data sources included the use of pre/post surveys encompassing the Science Teaching …


Shifting Pedagogy For Adolescent Refugees With Limited Or Interrupted Formal Education: A Case Study Of The Professional Experiences Of A Secondary English Literacy Development Teacher, Stephanie Ledger Jan 2017

Shifting Pedagogy For Adolescent Refugees With Limited Or Interrupted Formal Education: A Case Study Of The Professional Experiences Of A Secondary English Literacy Development Teacher, Stephanie Ledger

Theses and Dissertations (Comprehensive)

In recent years, there has been a large influx of refugees into settlement countries worldwide. In Canada, this displaced population includes many adolescent students of limited or interrupted formal education (SLIFE). Consequently, secondary school teachers are challenged to meet the print literacy needs of SLIFE within traditional ESL instructional settings.

The literature reveals an urgent desire and need for the use of early literacy instructional practices to address the print literacy needs of SLIFE. Despite this acknowledgement, many ESL/ELD secondary school educators are reluctant to shift their pedagogy from traditional ESL to early literacy pedagogy (Dooley, 2009; Dooley & Thangaperumal, …