Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Architecture Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Articles 1 - 30 of 96

Full-Text Articles in Architecture

Talking About Pen Sao In The 1950s-60s: An Exploration Through Discussion On A History Of Design And Manners, Juthamas Tangsantikul Dec 2018

Talking About Pen Sao In The 1950s-60s: An Exploration Through Discussion On A History Of Design And Manners, Juthamas Tangsantikul

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This paper presents a case study on the role objects played in the construction of Thai women as social subjects in the period of the American Era and Development. Based on the analysis of popular Thaietiquette manual Kritsana son nong: Naenam marayat thi ngam haeng araya samai, an oral history was generated through conducting interviews with women growing up in the period. The conversations brought to light the term pen sao and illustrated that while certain objects and practices were portrayed generally as signs of modernity and civilisation, they could also be perceived as suspicious when being viewed as signs …


A Study On The Relationship Of Spatial Planning Aspects In Occurrence Of Street Crimes In Dhaka City, Urmee Chowdhury, Ishrat Islam Dec 2018

A Study On The Relationship Of Spatial Planning Aspects In Occurrence Of Street Crimes In Dhaka City, Urmee Chowdhury, Ishrat Islam

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Street crime, like mugging and vehicle theft, are the significant crime problems in every developing city of the world. The study area for this research is Dhaka city, which is experiencing an situation ofincreasing street crime. This research focuses on the relationship between spatial planning and street crimes and tries to recommend different strategies for prevention of crime and violence in the streets of Dhaka city by proposing urban design and infrastructure planning. The study tries to assess the relationship from macro tomicro level through different spatial and physical planning components. For the detail level study, four Thana (police station) …


A Study Of Phayao's Historical Trading Communities To Encourage Recognizing Local History And To Promote Cultural Tourism, Phakthima Wangyao Dec 2018

A Study Of Phayao's Historical Trading Communities To Encourage Recognizing Local History And To Promote Cultural Tourism, Phakthima Wangyao

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Phayao is considered to be a city with a history of more than 700 years after Chao Luang Wong had evacuated people from Lampang and relocated them the city of Phayao. In order to gain useful information to promote cultural tourism, a study of Phayao's commercial community included its history, architectural styles, and the perceptions of people in the community. The methods used for research were collecting historical and physical data as well as conducting surveys. The area studied was divided into four groups which were determined by the characteristics of the area. Based on the study of data, there …


Site Selection Of Housing Development Projects In Thailand And Malaysia Border Trade Areas By Modified Sieve Analysis, Treechart Loakaewnoo Dec 2018

Site Selection Of Housing Development Projects In Thailand And Malaysia Border Trade Areas By Modified Sieve Analysis, Treechart Loakaewnoo

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This study sought to select the appropriate sites for the housing projects in Thailand and MalaysiaBorder Trade areas. The Modified Sieve Analysis was adopted as the instrument for searching and selecting sites. The Modified Sieve Analysis is the technique used to assess the urban expansion, which has been modified from the traditional sieve analysis by overlaying the map with its scores and calculate the total scores for selecting the suitable sites for the urban and housing development. The findings from this study help identify the suitable sites to build housing projects in the four cities - three sites for each.


Applying The Analytical Hierarchy Process (Ahp) Approach To Assess An Area-Based Innovation System In Thailand, Suwadee T. Hansasooksin, Nij Tontisirin Dec 2018

Applying The Analytical Hierarchy Process (Ahp) Approach To Assess An Area-Based Innovation System In Thailand, Suwadee T. Hansasooksin, Nij Tontisirin

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This paper examines the criteria that is significant in building an area-based innovation system inThailand. The Analytical Hierarchy Process (AHP) questionnaire was distributed to experts in thearea of urban planning, development, and policy studies. They assessed and prioritized indicators that could shape the innovation system on a regional scale. The study found that enhancing human capital, innovation collaboration, innovation capability, cultural/knowledge resources, and innovation capacity is more important, rather than focusing on physical infrastructure development. This implies that major elements for an area-based innovation system in Thailand highly depend on citizen, institutions, and linkages across sectors.


Analysis Of The Difference Between Two Approaches To Assessing Housing And Community Standards, Kundoldibya Panitchpakdi, Tirawat Pimwern, Thammanoon Laohpiyavisut Dec 2018

Analysis Of The Difference Between Two Approaches To Assessing Housing And Community Standards, Kundoldibya Panitchpakdi, Tirawat Pimwern, Thammanoon Laohpiyavisut

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This comparative study on housing and community comfortable living performance standards is a partof a participatory research conducted to meet the needs addressed by the Thai National HousingAuthority to improve existing housing and community standards. The research team conducted a case study of the Rim Khwae Awm Community in Samut Songkhram Province. This community had been identified as a model of comfortable living. This article presents the results of an analysis of comfortable living standards derived from a review of related literature and standards derived from the participatory process with the community case study. This research found that the standards …


Economicfactors Affecting The Changes In Temple Architecture In The Reign Of King Rama Ix, Pymporn Chaiyaporn Dec 2018

Economicfactors Affecting The Changes In Temple Architecture In The Reign Of King Rama Ix, Pymporn Chaiyaporn

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Economic factors reflecting the prosperity of foreign trades from the Ayutthaya to the Rattanakosinperiods, brought about growth and changes in dwellings. These factors also supported and maintained Buddhism by restoring, reconstructing, and building temples. Traditions changed in the reign of King Bhumibol Adulyadej, Rama IX, due to a capitalist economic system. This system, which has expanded its influence over land use planning, tourism development, and economic revitalization, led to different directions in the development of temple architecture. This article studies the roles of an economic system which affected the design of temple architecture during the Buddhawat area. The research was …


Perception Of Teachers And Parents On Appropriate Physical Environment For Learning Through Play In Malaysian Preschools, Pearly Pei Li Lim, Azizi Bahauddin, Nor Fadzila Aziz Dec 2018

Perception Of Teachers And Parents On Appropriate Physical Environment For Learning Through Play In Malaysian Preschools, Pearly Pei Li Lim, Azizi Bahauddin, Nor Fadzila Aziz

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

As physical environments play a role in supporting learning though play (LTP) in preschools, usersand interest group's perceptions of appropriate physical environment features for LTP become significant. This article examines perceptions of teachers and parents concerning an appropriate indoor physical environment for LTP in Malaysian preschools. A five-point Likert s cale and preference ranking were employed to understand teachers' and parents' perception of six features including sizing of spaces; material availability; spaces for creation and respite; indoor-outdoor connection; and provision of challenges. The findings included; variety of materials, spaces for personalization, spaces for challenges and good indoor-outdoor connection.


Land-Use, Street Configuration And Pedestrian Volume:The Case Of A Historic Town, Mymensingh, Bangladesh, Naimul Aziz Dec 2018

Land-Use, Street Configuration And Pedestrian Volume:The Case Of A Historic Town, Mymensingh, Bangladesh, Naimul Aziz

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This study explores the relative connections among pedestrian movement patterns, land use and street configurations by analyzing the pedestrian volume, existing land use patterns as well as the street configuration of Mymensingh. Mymensingh is a historic town in Bangladesh which was established by the British Colonists more than 200 years ago along the river Brahmaputra. The street patterns of Mymensingh was developed by the fusion of the wide streets made by British Colonists and the narrow streets made by the local inhabitants. The juxtaposition of these street patterns created a unique type of street configuration in Mymensingh. According to Space …


A Low Income Housing Needs And Affordability For Thailand's Strategic National Plan During 2017-2037, Chaweewan Denpaiboon, Kitti Limskul, Sarich Chotipanich Dec 2018

A Low Income Housing Needs And Affordability For Thailand's Strategic National Plan During 2017-2037, Chaweewan Denpaiboon, Kitti Limskul, Sarich Chotipanich

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This paper has developed a model to forecast the housing needs and affordability of the low-incomehouseholds in Thailand 2018-2037. The model has applied the baseline data from the Socioeconomicsurvey (SES 2015). Considering official population projections by the changing age structure and household formations based on income, forecasts can be made about housing needed by 'Renters', who are the target group of the low-income households. Given, heuristic scenarios on households' income growth over time, an initial planning model for affordable units of housing by types for renters has been proposed. Effective government policy to mobilize social resource for this low-income household …


Tha Tien: Case Study Of Use Transformation, Peeraya Boonprasong Jun 2018

Tha Tien: Case Study Of Use Transformation, Peeraya Boonprasong

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Use transformation is a process of changing a place within a transforming context through renewed placemaking. The framework for use transformation within a place attachment process is to understandthe responsive behaviour to place bonding when applying the process of changing use. People, process and place are analyzed by the manner of change relevant to existing place. This paper is a selective case study. The theoretically selected Tha Tien is a representative historic market that is facing development and displacement from a rapidly growing tourist market and fashionable urban lifestyle.


Paradigm Of Eco-Urban-Agriculture For The Sustainable City:Integrating The Concept For Urban Dhaka, Ayasha Siddiqua Jun 2018

Paradigm Of Eco-Urban-Agriculture For The Sustainable City:Integrating The Concept For Urban Dhaka, Ayasha Siddiqua

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

The geographical location of Bangladesh is gifted with enormous natural recourse: water, alluvial land, suitable climatic conditions for bio diversity and other natural assets. The capital, Dhaka, surrounded by rivers on four sides, was once a blue-green-built environment offering a healthy living atmosphere for its habitants. The city was dotted with huge and crisscrossed water bodies, a tolerable population density, and enough open spaces. Urban and peri-urban areas of the city complemented its food demand which subsequently maintained the environmental equilibrium. The modern concept of eco-urban-agriculture will definitely be beneficial in such a dense city which is rapidly losing its …


Students' Perceptions Of Shared Living In A University Hostel At Dhaka, Bangladesh:A Post Occupancy Evaluation, Asma Siddika, Zannatul Ferdous Jun 2018

Students' Perceptions Of Shared Living In A University Hostel At Dhaka, Bangladesh:A Post Occupancy Evaluation, Asma Siddika, Zannatul Ferdous

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Hostels are popular accommodations for students. Urban based educational systems in Bangladesh encourage students to come to the city where shared living is preferable option for them. Theseaccommodations are inadequate, are highly populated and shared rooms are common scenarios. However, although shared living raises the question of personal space, it facilitates better use of resource and is a feature of sustainability. This study examines the students' perception of shared living at one of the leading universities in Bangladesh. A post-occupancy evaluation is used to address physical and social variables. By assessing residential satisfaction, this paper hopes to provide valuable feedback …


Changing Scenarios Of Public Open Space In A British Colonial City: The Case Of The Ramna Area, Dhaka, Salma Begum Jun 2018

Changing Scenarios Of Public Open Space In A British Colonial City: The Case Of The Ramna Area, Dhaka, Salma Begum

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Dhaka is considered as one of the fastest growing megacity with a population of 15 million ranking 9th among the world. In the process of urbanization, throughout its history, many part of Dhaka has gonethrough many physical and functional transformations. Ramna area which was produced as a pleasure garden during Mughal period is one of those parts that has gone through consecutive manipulations. This has become one of the major public open space due to its uniqueness. This paper attempts to unfold the changing scenario of present Ramna Area.


Proposing A Conservation Management Plan For Bara Katra, Shirajom Monira Khondker, Mehnaz Tabassum Jun 2018

Proposing A Conservation Management Plan For Bara Katra, Shirajom Monira Khondker, Mehnaz Tabassum

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Dhaka, the capital of independent Bangladesh, since 1971 has a historical background of nearly 400 years which is expressed and traversed as a symbol of power, dignity and artistry. In this research the authors selected a unique historical and architectural monument of old Dhaka, named "Bara Katra". This historical artifact bears testimony to the style and design of Mughal architecture in Bengal that served the purpose of Caravan sarai. It is undoubtedly a magnificent edifice of grand scale and one of the most important historic remains playing an important role in representing the cultural heritage or glorious past of Bengal. …


Influences Of Urban Infrastructure Development On Urban Forms And Lifestyle Of Greater Bangkok, Chaweewan Denpaiboon, Kundoldibya Panitchpakdi, Hidehiko Kanegae, Pattamon Selanon, Yanisa Boonnun Jun 2018

Influences Of Urban Infrastructure Development On Urban Forms And Lifestyle Of Greater Bangkok, Chaweewan Denpaiboon, Kundoldibya Panitchpakdi, Hidehiko Kanegae, Pattamon Selanon, Yanisa Boonnun

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

By considering the influences of urban infrastructure development impact on land-use and structure, the objectives of this study are; (1) to categorizing urban networks into five index factors for analyzinga pattern of urban form, and (2) to analyze a relationship between urban forms and socioeconomic behavior with uses of urban geo-simulation modelling. The study employed the selection of four areas of study in the Greater Bangkok area. A measurement of each index of urban networks was analysis and then an analysis of the mutual relationships between the two variables was made. The findings demonstrate that residents in the areas understand …


Architects' Reflection Of Cities: Yenagoa Losing City, Lost Dream Of The Oil Rich Niger Delta, Allison John, Dimabo Fenibo, Crispin Allison, Gift Josiah Jun 2018

Architects' Reflection Of Cities: Yenagoa Losing City, Lost Dream Of The Oil Rich Niger Delta, Allison John, Dimabo Fenibo, Crispin Allison, Gift Josiah

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

A city's character influences behaviour while people's behaviour determines a city's character. As a development engine, the authors described cities impressions derived from media and how media caninfluence perceptions of Yenagoa, the oil rich city of the Niger Delta. The city can be described as a life support system with policies and human actions affecting a city. How Yenagoa has performed as perceived by visitors and its users 21years after. It will also include a discussion of the significance of cultural relativism in the developmental evolution of Yenagoa. It concludes by suggesting the imperative need for orientation of the Yenagoa's …


Differences In Patterns And Factors Influencing Preference And Willingness To Pay For Physical Developments Of A Streetscape In The Old Town Of Chiang Mai, Thailand, Apichoke Lekagul Jun 2018

Differences In Patterns And Factors Influencing Preference And Willingness To Pay For Physical Developments Of A Streetscape In The Old Town Of Chiang Mai, Thailand, Apichoke Lekagul

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This paper identifies the influences of environmental characteristics and personal factors on preference and willingness to pay (WTP) for the physical development of a streetscape, and the relationshipbetween preference and WTP. A questionnaire with computerized montage pictures portraying streetscape development solutions was used to collect data from 440 respondents in Chiang Mai city. Tobit models were formed to analyze the preference and WTP dependent variables with environmental and personal characteristic variables. The results revealed differences in patterns as well as influencing factors of preference and WTP for the development solutions. Preference was significantly influenced only by environmental variables, while WTP …


Re-Reading Dutch Architecture In Relation To Social Issues From The 1940s To The 1960s, Pat Seeumpornroj Jun 2018

Re-Reading Dutch Architecture In Relation To Social Issues From The 1940s To The 1960s, Pat Seeumpornroj

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This paper seeks to connect the work of J.J.P. Oud, Aldo van Eyck, and Herman Hertzberger, the three Dutch protagonists to the dominant social issues that occurred from the 1940s to the 1960s. Theyaddressed the following issues: poverty, the housing shortages from the pre-World War II period, the sociopolitical issues in the collective expression of the public, rapid economy recovery, large population growth, and white-collar labor in the post-World War II period. The author will examine the role played by the Dutch government in advancing a progressive social agenda, and will demonstrate both continuities and discontinuities between them.


The Motorcycle Taxi Driver As A Community Reporter: Guidelines For The Promotion Of A Marginalized Group's Participation In The Improvement Of Public Space By Using Information And Communication Technology, Nattapong Punnoi Jun 2018

The Motorcycle Taxi Driver As A Community Reporter: Guidelines For The Promotion Of A Marginalized Group's Participation In The Improvement Of Public Space By Using Information And Communication Technology, Nattapong Punnoi

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Motorcycle taxi drivers are a group of laborers in the informal sector who are socially shunned and are often harassed by the authorities and local infl uential people. Research has found that motorcycletaxi drivers have the potential to gather information concerning problems occurring in public spaces to be compiled into a database to encourage problem solving. Furthermore, smartphones are found to be a tool that assists motorcycle taxi drivers in effectively collecting information relating to problems that they encounter. Thus, the researcher, in collaboration with motorcycle taxi driver groups, has developed key concepts and an Information and Communication Technology (ICT) …


ติดตามผลที่ผู้อยู่อาศัยได้รับจากบ้านประหยัดพลังงานในโครงการบ้านจัดสรร กรณีศึกษาโครงการเสนาปาร์ค วิลล์ และโครงการเสนาพาร์คแกรนด์ รามอินทรา วงแหวน, มัลลิกา มงคลรังสฤษฎ์ Jan 2018

ติดตามผลที่ผู้อยู่อาศัยได้รับจากบ้านประหยัดพลังงานในโครงการบ้านจัดสรร กรณีศึกษาโครงการเสนาปาร์ค วิลล์ และโครงการเสนาพาร์คแกรนด์ รามอินทรา วงแหวน, มัลลิกา มงคลรังสฤษฎ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา แนวคิดของผู้ประกอบการที่ส่งผลต่อการออกแบบบ้านประหยัดพลังงาน ขนาด 135-259 ตารางเมตร รวมถึงศึกษาลักษณะการใช้งาน และทัศนคติของผู้อยู่อาศัยที่มีต่อรูปแบบบ้านประหยัดพลังงาน โดย วิธีการสัมภาษณ์จากผู้ประกอบการ และแจกแบบสอบถามกลุ่มตัวอย่าง ที่เป็นผู้อยู่อาศัยในโครงการบ้านประหยัดพลังงานที่เป็น กรณีศึกษาทั้ง 2 โครงการ ได้แก่ เสนาพาร์ควิลล์ และ เสนาพาร์คแกรนด์ จำนวน 90 ตัวอย่าง สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณและใช้การ สัมภาษณ์เชิงลึก 10 ตัวอย่างสำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ การศึกษาแนวความคิดบ้านประหยัดพลังงาน ทั้งด้านสถาปัตยกรรมและด้านงานระบบที่ส่งผลให้เกิดการประหยัด พลังงานภายในบ้าน ค้นพบว่า บ้านประหยัดพลังงานมีช่องเปิดระบายอากาศ และ สัดส่วนอาคารต่อที่ดิน สูงกว่ามาตรฐานกำหนดไว้ อีกทั้ง ระบบ Solar cell ที่ช่วยให้ลดค่าใช้จ่ายไฟฟ้า ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยอยู่ที่ 700 - 4,100 ต่อเดือน ซึ่งจัดอยู่ในระดับค่าไฟฟ้าค่อนข้าง ไม่สูงมากหนักเมื่อเทียบกับบ้านขนาดเดียวกันในโครงการอื่นๆ อันนี้เป็นตัวแปรสำคัญต่อการออกแบบบ้านประหยัดพลังงาน ผลการสำรวจด้านครัวเรือน และการใช้งานพื้นที่พบว่าผู้อยู่อาศัยบ้านประหยัดพลังงานทั้ง 5 รูปแบบ ส่วนใหญ่มี สมาชิกในครัวเรือนจำนวน 4 คน มีรายได้ครัวเรือนประมาณ 100,000 ขึ้นไป ช่วงเช้า – ช่วงเย็น จะใช้งานส่วนพื้นที่ห้องรับแขกเป็น หลัก เฉลี่ยอยู่บ้านต่อวันเป็น 17 ชม. นอกจากนี้ผู้อยู่อาศัยทั้ง 5 รูปแบบ การใช้ระบบภายในบ้านที่คล้ายกัน คือ การใช้ เครื่องปรับอากาศ เครื่องใช้ไฟฟ้า และแผงโซลาเซลล์ ผลที่ได้รับจากบ้านประหยัดพลังงาน (ก่อนอยู่) ทั้งด้านสถาปัตยกรรม และ ด้านระบบของบ้านประหยัดพลังงาน อยู่ในระดับปานกลาง และ ความพึงพอใจต่อบ้านประหยัดพลังงาน(อยู่อาศัย) ทั้งด้าน สถาปัตยกรรม และด้านระบบของบ้านประหยัดพลังงานอยู่ ในระดับมากการปรับปรุงด้านสถาปัตยกรรม 3 อันดับแรก คือ ปรับปรุง รูปแบบบ้านให้มีระแนงกันแดดเข้าถึงตัวบ้าน รองลงมาคือ รูปแบบบ้านน่าจะเหมาะสมกับราคามากกว่านี้ และ อยากให้ใช้สีกับตัว บ้านมีความโดดเด่นมากกว่านี้ ผู้อยู่อาศัย ต้องการให้เพิ่มแบตเตอรี่เก็บไฟตอนกลางคืน ข้อเสนอแนะด้านอื่นๆ อยากให้ปลูกต้นไม้ที่ …


ความสัมพันธ์ระหว่างราคาค่าเช่ากับลักษณะของอะพาร์ตเมนต์ในเขตกรุงเทพมหานคร, ชนากานต์ สุรมิตร Jan 2018

ความสัมพันธ์ระหว่างราคาค่าเช่ากับลักษณะของอะพาร์ตเมนต์ในเขตกรุงเทพมหานคร, ชนากานต์ สุรมิตร

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การเพิ่มขึ้นของจำนวนที่อยู่อาศัยประเภทเช่าตามความต้องการของผู้อยู่อาศัย ส่งผลให้อะพาร์ตเมนต์ในกรุงเทพมหานครมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น ซึ่งมีความหลากหลายของทำเลที่ตั้ง ลักษณะอาคาร รวมถึงระดับราคา งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพ ทำเลที่ตั้ง และราคาค่าเช่าของอะพาร์ตเมนต์ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยรวบรวมข้อมูลจากเว็บไซต์ในช่วงเดือนมีนาคม-มิถุนายน 2561 พบอะพาร์ตเมนต์ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 471 แห่ง นอกจากนี้ยังสำรวจอะพาร์ตเมนต์จำนวน 12 แห่ง เพื่อศึกษาสภาพอาคารและที่ตั้งวิเคราะห์ผลโดยวิธีสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน ผลการศึกษาพบว่า 1) อะพาร์ตเมนต์ในเขตกรุงเทพมหานครส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเขตชั้นในและชั้นกลางของเมือง คิดเป็นร้อยละ 40 และ 47 ตามลำดับ ส่วนในเขตชั้นนอกมีร้อยละ 13 ทั้งนี้พบว่าอะพาร์ตเมนต์ที่อยู่ในเขตเมืองชั้นในและชั้นกลางมักอยู่ใกล้แหล่งงาน ขณะที่อะพาร์ตเมนต์ในเขตเมืองชั้นนอกมักตั้งใกล้แหล่งจับจ่ายใช้สอย 2) อะพาร์ตเมนต์ส่วนใหญ่เปิดให้บริการมา 1-5 ปี ห้องพักส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก 12-27 ตารางเมตร โดยห้องขนาดใหญ่มักพบในเขตเมืองชั้นใน สำหรับสิ่งอำนวยความสะดวกภายในห้องพักที่พบมากที่สุด คือ เฟอร์นิเจอร์ เครื่องปรับอากาศ อินเตอร์เน็ตไร้สาย เคเบิลทีวี และเครื่องทำน้ำอุ่น 3) ราคาค่าเช่าเฉลี่ยของอะพาร์ตเมนต์ส่วนใหญ่อยู่ในระดับราคาปานกลาง (4,351-7,050 บาทต่อเดือน) โดยราคาค่าเช่าเฉลี่ยสูงสุดอยู่ในเขตเมืองชั้นใน ทั้งนี้พบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อราคาค่าเช่าอะพาร์ตเมนต์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ มี 6 ปัจจัย เรียงตามลำดับ ได้แก่ ขนาดหน่วยพัก สถานที่ขนส่งสาธารณะ จำนวนปีที่เปิดให้บริการ เขตที่ตั้ง สิ่งอำนวยความสะดวก และสถานศึกษาผลการศึกษาชี้ให้เห็นถึงลักษณะ (Characteristics) ของอะพาร์ตเมนต์ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยแบบเช่าซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเขตชั้นในและเขตชั้นกลางของกรุงเทพมหานคร โดยปัจจัยที่ส่งผลต่อราคาค่าเช่าอย่างมีนัยสำคัญคือทำเลที่ตั้ง ลักษณะของอพาร์ตเมนต์ และสิ่งอำนวยความสะดวก งานวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบการในการพัฒนาโครงการให้สอดคล้องกับระดับราคาซึ่งสะท้อนความสามารถในการจ่ายของผู้อยู่อาศัย นอกจากนี้ผลการศึกษายังสะท้อนให้เห็นลักษณะตลาดอสังหาริมทรัพย์ประเภทเช่าเพื่อนำไปสู่การวางแผนเรื่องที่อยู่อาศัยประเภทเช่าในเขตกรุงเทพมหานครต่อไป


แนวทางการพัฒนา Coworking Space บริเวณสถาบันการศึกษา กรณีศึกษา โครงการแนปแลป, โครงการเน็กซ์ดอทส์, โครงการทูฟาสทูสลีพ และ โครงการทูฟาสทูสลีพดอทเอสซีบี, วีรพล พืชธัญญากิจ Jan 2018

แนวทางการพัฒนา Coworking Space บริเวณสถาบันการศึกษา กรณีศึกษา โครงการแนปแลป, โครงการเน็กซ์ดอทส์, โครงการทูฟาสทูสลีพ และ โครงการทูฟาสทูสลีพดอทเอสซีบี, วีรพล พืชธัญญากิจ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ปัจจุบัน Coworking Space ในกรุงเทพได้เติบโตเพิ่มจำนวนขึ้นเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะตามแหล่งใจกลางย่านธุรกิจของเมือง เนื่องจากมีเส้นทางรถไฟฟ้าผ่าน และการเดินทางเข้าถึงได้สะดวก โดยเฉพาะบริเวณย่านสยามสแควร์และสามย่านมี Coworking Space เปิดให้บริการมากมายหลายรูปแบบ ซึ่งเมื่อพิจารณาพื้นที่บริเวณนี้พบว่ามีสถาบันการศึกษาที่สำคัญๆตั้งอยู่ใกล้เคียงหลายแห่ง โดยวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อศึกษาแนวคิดและข้อจำกัดในการดำเนินงาน Coworking Space บริเวณใกล้เคียงสถาบันการศึกษา รวมทั้งรูปแบบและการให้บริการที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการ Coworking Space ของผู้มาใช้บริการ ซึ่งใช้การเก็บข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์ การสำรวจ และแจกแบบสอบถามผู้มาใช้บริการนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ร่วมกับทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อนำมาซึ่งความเข้าใจในการจัดการพื้นที่และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เหมาะสมกับผู้เข้ามาใช้บริการ รวมทั้งเป็นประโยชน์แก่ผู้ประกอบการที่สนใจลงทุนในธุรกิจประเภทนี้ จากการศึกษาพบว่าผู้มาใช้งานส่วนใหญ่จะเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย มีอายุประมาณ 19-28 ปี ส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนน้อยกว่า 10,000 บาท ซึ่งความถี่ในการเข้าใช้บริการจะอยู่ที่ประมาณ 1-2 ครั้งต่อเดือน เข้าใช้บริการประมาณ 3-4 ชม.ต่อครั้ง โดยช่วงเวลาที่มีผู้เข้าใช้บริการมากที่สุดคือ 18.01น. - 21.00น. และค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครั้งจะตกอยู่ที่ครั้งละ 100 - 200 บาท จุดประสงค์ที่มาใช้งานเนื่องมาจากต้องการพื้นที่ทำงานมากที่สุด ส่วนสาเหตุที่เลือกใช้บริการเพราะมีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับทำงานครบครัน โดยผู้มาใช้บริการให้ความสำคัญกับปัจจัยด้านการสร้างและนำเสนอลักษณะทางกายภาพ เช่น การตกแต่งภายใน บรรยากาศผ่อนคลายไม่เครียด มากที่สุด ส่วนแนวความคิดที่มาของการทำ Coworking Space ของกรณีศึกษาเกิดจากการเห็นปัญหาความไม่สะดวกของนิสิตนักศึกษาที่ไปนั่งทำงานอ่านหนังสือตามร้านกาแฟหรือห้องสมุด จึงอยากช่วยสนับสนุนนิสิตนักเรียนนักศึกษาได้มีพื้นที่เพื่อใช้ประโยชน์สำหรับทำงานหรืออ่านหนังสือได้ตลอด 24 ชม. โดยปัญหาที่พบคือในช่วงปิดเทอมรายได้อาจลดลง เนื่องจากนักศึกษาจะกลับบ้านกัน จึงต้องมีการปรับเปลี่ยนพื้นที่บางส่วนเพื่อปล่อยเช่าเป็น Service Office รายเดือน หรือ จัดประชุม สัมมนาได้ โดยปัจจุบันแนวโน้มและการเติบโตของธุรกิจนี้ยังเติบโตได้อีก เพราะยังมีตลาดของคนที่ต้องการใช้งานพื้นที่ลักษณะนี้มากขึ้น ผู้ประกอบการรายย่อยต้องแข่งขันกับผู้ประกอบการรายใหญ่มากขึ้น แต่สิ่งสำคัญที่สุดของธุรกิจนี้คือ ทำเลที่ตั้งต้องอยู่ในที่ที่มีการคมนาคมสะดวกอยู่ใกล้กลุ่มเป้าหมาย และมีการสร้างจุดขายที่มีความน่าสนใจ เพื่อดึงดูดให้คนมาใช้งาน


รูปแบบเชิงพื้นที่ของพื้นที่ซอยท่าน้ำเจ้าพระยาในกรุงเทพมหานคร, ปณัฐพรรณ ลัดดากลม Jan 2018

รูปแบบเชิงพื้นที่ของพื้นที่ซอยท่าน้ำเจ้าพระยาในกรุงเทพมหานคร, ปณัฐพรรณ ลัดดากลม

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

พื้นที่สองฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาในกรุงเทพมหานครล้วนแต่เป็นที่ตั้งของสถานที่สำคัญ และ ย่านชุมชนริมน้ำดั้งเดิม ตั้งแต่การเริ่มตั้งถิ่นฐานของกรุงเทพฯ ทำให้มีพื้นที่ท่าน้ำแทรกตัวอยู่ตลอด พื้นที่ริมแม่น้ำ ทำหน้าที่เป็นพื้นที่สาธารณะมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน อย่างไรก็ดีในปัจจุบันพื้นที่ ท่าน้ำและบริเวณโดยรอบ มักมีการใช้งานที่ไม่เต็มศักยภาพ ทำให้พื้นที่ท่าน้ำเหล่านี้ไม่เอื้อ ประโยชน์ต่อคนในพื้นที่ ย่าน และเมืองตามที่ควรจะเป็น งานวิจัยชิ้นนี้ ต้องการจำแนกประเภทพื้นที่ซอยท่าน้ำและศึกษารูปแบบเชิงพื้นที่ อัน ประกอบด้วย โครงข่ายการสัญจรและพื้นที่สาธารณะ การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารรูปแบบมวล อาคารและพื้นที่ว่าง และรูปแบบพื้นที่มุมมอง ที่ส่งผลต่อรูปแบบการใช้พื้นที่อย่างอเนกประโยชน์ อันประกอบด้วย ความหลากหลายจากกลุ่มคนกิจกรรม และช่วงเวลาที่แตกต่างกัน ผลการศึกษา พบว่า พื้นที่ซอยท่าน้ำจำแนกได้ 6 ประเภท และพบว่ากลุ่มตัวอย่างที่มีรูปแบบการใช้พื้นที่อย่าง อเนกประโยชน์ จะมีรูปแบบเชิงพื้นที่ที่หลากหลายด้วย ผลการวิเคราะห์พบว่า โครงข่ายการสัญจรและพื้นที่สาธารณะมีผลต่อการเข้าใช้พื้นที่ อย่างอเนกประโยชน์มากที่สุด รองลงมาคือการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารและรูปแบบมวลอาคาร และพื้นที่ว่างตามลำดับ กล่าวคือ พื้นที่ซอยท่าน้ำที่มีโครงข่ายที่สานต่อเนื่องเป็นส่วนหนึ่งของย่าน และเมือง จะมีโอกาสเหนี่ยวนำผู้คนให้เข้ามาใช้งานพื้นที่ได้มากและหากพื้นที่ดังกล่าวมีการใช้ ประโยชน์ที่ดินและอาคารและรูปแบบมวลอาคารและพื้นที่ว่างที่หลากหลายด้วยแล้ว จะยิ่งทำให้มี ความแตกต่างของกลุ่มคน กิจกรรมและช่วงเวลาในการเข้าใช้งาน


ผลกระทบของแผนแม่บทการพัฒนาพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยต่อการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม ในเขตพาณิชยกรรมสวนหลวง-สามย่าน ในช่วงเปลี่ยนผ่าน, ฐานิตา แก้วกลัด Jan 2018

ผลกระทบของแผนแม่บทการพัฒนาพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยต่อการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม ในเขตพาณิชยกรรมสวนหลวง-สามย่าน ในช่วงเปลี่ยนผ่าน, ฐานิตา แก้วกลัด

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้ศึกษาผลกระทบจากการพัฒนาพื้นที่ตามแผนแม่บทของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพื้นที่สวนหลวง-สามย่าน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการพัฒนาที่เกิดขึ้น การโยกย้ายผู้เช่าเดิมในพื้นที่ และการเข้ามาของผู้เช่าใหม่ และศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคมที่เกิดขึ้นจากโครงการพัฒนาที่ดินบริเวณสวนหลวง-สามย่าน ตามแผนแม่บทฯ ในช่วงเปลี่ยนผ่าน ซึ่งเป็นช่วงเริ่มต้นของการโยกย้ายของผู้เช่าบางส่วนเข้าไปในพื้นที่ที่รองรับการโยกย้ายชั่วคราว เพื่อนำพื้นที่มาพัฒนาแบบรื้อแล้วสร้างใหม่ การพัฒนาที่เกิดขึ้นทำให้ผู้เช่าเดิมที่ได้รับผลกระทบต้องโยกย้ายการประกอบกิจการไปยังโครงการพัฒนาใหม่ที่รองรับ ตามนโยบายของแผนแม่บทฯ ซึ่งจะคัดเลือกกิจการบางประเภทของผู้เช่าให้อยู่ต่อในพื้นที่ได้ โดยจะได้รับสิทธิ์และเงื่อนไขในการพิจารณาจากสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งพื้นที่ที่สามารถรองรับการโยกย้ายของผู้เช่าเดิม มีด้วยกัน 3 พื้นที่ ได้แก่ โครงการสวนหลวงสแควร์ โครงการ Stadium One และตึกแถวริมถนนบรรทัดทอง ผลการศึกษา พบว่า หลังการโยกย้ายทำให้ผู้เช่ามีรายรับมากขึ้น แต่ด้วยค่าเช่าใหม่มีราคาสูงขึ้น ประกอบกับผู้เช่าได้ลงทุนทำร้านใหม่ จึงทำให้เงินออมของผู้เช่าส่วนใหญ่เท่าเดิม ทั้งนี้กลุ่มที่มีปัญหาในเรื่องรายได้และเงินออมมากที่สุด คือ กลุ่มผู้เช่าที่ประกอบกิจการประเภทจำหน่ายเสื้อผ้าและอุปกรณ์กีฬาที่โยกย้ายไปยังตึกแถวริมถนนบรรทัดทอง ส่วนทางด้านสังคม ความสัมพันธ์ของผู้เช่ากับร้านค้าโดยรอบเดิมลดลง เนื่องจากแยกย้ายกระจายกันไปประกอบกิจการตามหมอนต่างๆ และผู้เช่าส่วนใหญ่ยังไม่ได้สร้างความสัมพันธ์กับร้านค้าโดยรอบใหม่ เพราะเพิ่งย้ายมาประกอบการในที่แห่งใหม่ได้ไม่นาน


การศึกษาระบบนิเวศน้ำหลากและนิเวศบริการของทุ่งน้ำหลากพื้นที่ราบลุ่มสามเหลี่ยมแม่น้ำเจ้าพระยากรณีศึกษา ชุมชนลาดชะโด อำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, เกียรติกมล นิลาภรณ์กุล Jan 2018

การศึกษาระบบนิเวศน้ำหลากและนิเวศบริการของทุ่งน้ำหลากพื้นที่ราบลุ่มสามเหลี่ยมแม่น้ำเจ้าพระยากรณีศึกษา ชุมชนลาดชะโด อำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, เกียรติกมล นิลาภรณ์กุล

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

No abstract provided.


กระบวนการก่อสร้างเรือนปกาเกอะญอแบบดั้งเดิมกรณีศึกษาโครงการบ้านวัฒนธรรมบ้านโป่งลึก-บางกลอย อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี, พงศ์ชวิน อุดหนุนสมบัติ Jan 2018

กระบวนการก่อสร้างเรือนปกาเกอะญอแบบดั้งเดิมกรณีศึกษาโครงการบ้านวัฒนธรรมบ้านโป่งลึก-บางกลอย อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี, พงศ์ชวิน อุดหนุนสมบัติ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

หมู่บ้านโป่งลึก-บางกลอย อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี มีประวัติการตั้งถิ่นฐานของชาวปกาเกอะญอมาเป็นเวลานาน ภายหลังการขึ้นทะเบียนอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานชาวปกาเกอะญอได้รับผลกระทบจากการจัดสรรพื้นที่ทำกินทำให้วิถีของการดำเนินชีวิตเปลี่ยนแปลงไป จากการสำรวจพื้นที่ผลกระทบดังกล่าวส่งผลต่อด้านสถาปัตยกรรมของชาวปกาเกอะญอเป็นหลัก ผู้วิจัยเล็งเห็นความสำคัญในการจดบันทึกเก็บรายละเอียดการก่อสร้างเรือนปกาเกอะญอแบบดั้งเดิม เพื่อให้ภูมิปัญญาทางสถาปัตยกรรมแขนงนี้ไม่สูญหายไปตามกาลเวลา จึงได้ทำการศึกษาร่วมกับมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการก่อสร้างเรือนปกาเกอะญอแบบดั้งเดิมภายใต้โครงการวิจัยและพัฒนาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในชุมชนปกาเกอะญอ บ้างโป่งลึก - บางกลอย จังหวัดเพชรบุรี บนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อคงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ดั้งเดิมของชุมชน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจดบันทึกและวิเคราะห์ประเด็นสำคัญที่ได้จากการศึกษากระบวนการก่อสร้าง เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงซ่อมแซมบ้านเรือนในหมู่บ้านโป่งลึก-บางกลอยในอนาคต โดยลงพื้นที่เพื่อจดบันทึกตั้งแต่ขั้นตอนเริ่มการก่อสร้าง ระหว่างการก่อสร้าง ตลอดจนถึงหลังการก่อสร้าง โดยเน้นความสำคัญถึงเรื่องเทคนิคการก่อสร้างแบบดั้งเดิมของช่างปัจจุบันภายในหมู่บ้าน ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะแรงงานกับวันและเวลาในการก่อสร้าง และความสัมพันธ์ของการเตรียมวัสดุกับขั้นตอนการก่อสร้าง จากการศึกษาพบว่ากระบวนการก่อสร้างเรือนปกาเกอะญอดั้งเดิมใช้เวลาทั้งหมด 19 วัน ระบบโครงสร้างมีลักษณะเป็นแบบเรือนเครื่องผูกดั้งเดิม การก่อสร้างถูกดำเนินงานโดยช่างในหมู่บ้านซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ช่างอาวุโสภายในหมู่บ้าน ช่างประจำโครงการ และ แรงงานรับจ้างรายวัน


ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการทำงานและสิ่งอำนวยความสะดวกในพื้นที่ทำงาน, ลัญจ์ฉัตร นิลชัยโกวิทย์ Jan 2018

ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการทำงานและสิ่งอำนวยความสะดวกในพื้นที่ทำงาน, ลัญจ์ฉัตร นิลชัยโกวิทย์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ในปัจจุบันรูปแบบการทำงานมีการเปลี่ยนแปลงไป จากแบบเดิมที่เป็นทางการเข้าสู่การทำงานรูปแบบใหม่ที่มีการทำงานเป็นกลุ่ม และมีการทำงานขนานกันมากขึ้น ซึ่งการศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงประจักษ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพื้นที่ทำงาน และการใช้พื้นที่ทำงานของสายงานไอทีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบเนื่องเป็นการทำงานรูปแบบใหม่ จำนวน 10 กรณีศึกษา จาก 2 องค์กร โดยเป็นฝ่ายงานขนาดเล็ก จำนวน 7 กรณีศึกษา และฝ่ายงานขนาดใหญ่ จำนวน 3 กรณีศึกษา โดยเก็บรวมรวมเอกสารแบบผังพื้น การสำรวจพื้นที่ทำงาน การจัดวางผังและชุดโต๊ะทำงานพนักงาน ร่วมกับการสังเกตการณ์การใช้พื้นที่ทำงานใน 4 จุดเวลา จากการศึกษา พบว่า มีพื้นที่ทำงาน 2 แบบ คือ พื้นที่ทำงานแบบเปิดโล่ง 8 กรณีศึกษามีพื้นที่กิจกรรมสนับสนุนย่อย 2 แบบ คือ กระดานระบุสถานะ 7 กรณีศึกษา และโต๊ะส่วนกลาง 1 กรณีศึกษา และพื้นที่ทำงานแบบปิดล้อม 2 กรณีศึกษา มีพื้นที่กิจกรรมสนับสนุนย่อย คือ กระดานระบุสถานะและพื้นที่ทำงานกลุ่ม 1 กรณีศึกษา และกระดานระบุสถานะ 1 กรณีศึกษา ภายในพื้นที่ทำงานทั้ง 2 แบบมีชุดโต๊ะทำงานพนักงานประกอบด้วยโต๊ะทำงาน ตู้เก็บของล้อเลื่อน และเก้าอี้นั่งทำงาน จากการวิเคราะห์พื้นที่ทำงานของฝ่ายงานไอที พบว่า ชุดโต๊ะทำงานพนักงานพบ 2 แบบ คือแบบทำงานคนเดียว และแบบทำงานกลุ่ม การใช้พื้นที่ทำงานของฝ่ายงานขนาดเล็กพบว่ามีการใช้พื้นที่ทำงาน 2 แบบ คือ แบบที่มีการทำงานที่โต๊ะทำงานในการทำงานเพียงอย่างเดียว 5 กรณีศึกษา และแบบที่ใช้กระดานระบุสถานะในการทำงานร่วมกับการทำงานที่โต๊ะทำงาน 2 กรณีศึกษา การใช้พื้นที่ทำงานของฝ่ายงานขนาดใหญ่ พบว่า มีการใช้พื้นที่ทำงาน 2 แบบ คือ แบบที่มีการใช้กระดานระบุสถานะในการทำงานร่วมกับการทำงานที่โต๊ะทำงาน 2 กรณีศึกษา และแบบที่มีการใช้โต๊ะส่วนกลางในการทำงานร่วมกับการทำงานที่โต๊ะทำงาน 1 กรณีศึกษา การศึกษานี้ทำให้เข้าใจว่า พื้นที่ทำงานของสายงานไอทีประกอบด้วยพื้นที่ทำงานหลัก ซึ่งมีโต๊ะทำงานที่มีขนาดใหญ่กว่าโต๊ะทำงานขนาดมาตรฐาน และพื้นที่กิจกรรมสนับสนุนย่อย ซึ่งการออกแบบกระดานระบุสถานะที่อยู่ในพื้นที่เปิดโล่งจะอยู่ด้านข้างพื้นที่ทำงานของพนักงาน การออกแบบกระดานระบุสถานะในพื้นที่ปิดล้อมจะอยู่ตามแนวผนังห้อง โต๊ะส่วนกลางที่อยูในพื้นที่เปิดโล่งจะแทรกอยู่ในพื้นที่ทำงานของพนักงาน การทำงานที่กระดานระบุสถานะจะเกิดขึ้นในช่วงเช้า ก่อนจะแยกย้ายกันไปปฏิบัติงานที่โต๊ะทำงาน ซึ่งพบทั้งการทำงานแบบเดี่ยวและการทำงานแบบกลุ่มที่โต๊ะ


ทัศนคติของผู้อยู่อาศัยต่อการอยู่อาศัยในอาคารชุดที่อนุญาตให้เลี้ยงสัตว์: กรณีศึกษาโครงการแฮปปี้ คอนโด ลาดพร้าว 101 และโครงการเอ็ม จตุจักร, เชี่ยวชาญ ไพศาลธีระจิต Jan 2018

ทัศนคติของผู้อยู่อาศัยต่อการอยู่อาศัยในอาคารชุดที่อนุญาตให้เลี้ยงสัตว์: กรณีศึกษาโครงการแฮปปี้ คอนโด ลาดพร้าว 101 และโครงการเอ็ม จตุจักร, เชี่ยวชาญ ไพศาลธีระจิต

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การเพิ่มขึ้นของอาคารชุดที่อนุญาตให้เลี้ยงสัตว์ในปัจจุบัน เกิดขึ้นจากค่านิยมการเลี้ยงสัตว์ของคนเมือง งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของผู้อยู่อาศัยต่อการอยู่อาศัยในอาคารชุดที่อนุญาตให้เลี้ยงสัตว์ โดยศึกษาภาพรวมของอาคารชุด 13 แห่งในกรุงเทพมหานคร ใช้วิธีการสัมภาษณ์ผู้จัดการนิติบุคคลอาคารชุด จากนั้นเลือกกรณีศึกษา 2 แห่ง คือโครงการแฮปปี้ คอนโด ลาดพร้าว 101 (HCL) และโครงการเอ็ม จตุจักร (MJJ) ใช้การสอบถามผู้อยู่อาศัย โดยแบ่งเป็นผู้มีสัตว์เลี้ยงแห่งละ 105 ชุด และผู้ไม่มีสัตว์เลี้ยงแห่งละ 105 ชุด รวม 2 แห่งเป็น 420 ชุด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ และค่าร้อยละ ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้มีสัตว์เลี้ยงและไม่มีสัตว์เลี้ยงส่วนใหญ่มากกว่าร้อยละ 50 อยู่อาศัยเป็นคู่รักทั้งสมรส และไม่สมรส ซึ่งส่วนมากไม่มีบุตรถึงร้อยละ 95 ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรี และสูงกว่าปริญญาตรี ทั้งนี้กลุ่มผู้มีสัตว์เลี้ยงส่วนใหญ่เป็นผู้เช่าถึงร้อยละ 60 ในขณะที่ผู้ไม่มีสัตว์เลี้ยงร้อยละ 90 เป็นเจ้าของห้องชุด 2) การจัดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารชุด แบ่งได้ 3 ลักษณะ (1) สิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อสัตว์เลี้ยงโดยเฉพาะ เช่น คลินิกสัตว์เลี้ยง หรือพื้นที่ขับถ่ายสำหรับสัตว์เลี้ยง เป็นต้น (2) สิ่งอำนวยความสะดวกที่ให้สัตว์เลี้ยงใช้ร่วมกับคน ได้แก่ สวนรอบอาคาร และดาดฟ้าอาคาร (3) ไม่มีการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกให้สัตว์เลี้ยง โดยสัตว์เลี้ยงไม่สามารถออกไปเดินนอกห้องชุดได้ ยกเว้นการอุ้มเท่านั้น 3) ทัศนคติของผู้มีสัตว์เลี้ยงใน HCL เห็นว่าไม่มีปัญหาทั้งก่อนและหลังเข้าอยู่อาศัย ในขณะที่ผู้ไม่มีสัตว์เลี้ยงของ HCL เห็นว่าเป็นปัญหาทั้งก่อนและหลังเข้าอยู่อาศัย ส่วนผู้มีสัตว์เลี้ยงและไม่มีสัตว์เลี้ยงใน MJJ เห็นว่าไม่มีปัญหาก่อนเข้าอยู่อาศัย แต่พบว่ามีปัญหาหลังเข้าอยู่อาศัย 4) ผู้ไม่มีสัตว์เลี้ยงมีความพึงพอใจต่ออาคารชุดน้อยกว่าผู้มีสัตว์เลี้ยง โดยเฉพาะเรื่องความเหมาะสมของห้องชุดต่อการเลี้ยงสัตว์ การระบายอากาศ และการมีเพื่อนบ้านที่เลี้ยงสัตว์ ในขณะที่ผู้มีสัตว์เลี้ยงมีความพึงพอใจสูงในหลายด้าน ยกเว้นเรื่องการป้องกันเสียงเห่าหอนจากห้องข้างเคียง 5) ปัญหาส่วนใหญ่ที่ผู้มีสัตว์เลี้ยงและไม่มีสัตว์เลี้ยงพบตรงกันคือ ได้ยินเสียงรบกวนของสัตว์เลี้ยงจากห้องข้างเคียง รองลงมาคือพบสัตว์เลี้ยงตัวอื่นขับถ่ายแล้วเจ้าของไม่ทำความสะอาด ส่วนปัญหาที่พบต่างกันคือ ผู้มีสัตว์เลี้ยงพบปัญหานิติบุคคลดูแลเรื่องสัตว์เลี้ยงไม่เต็มที่ ส่วนผู้ไม่มีสัตว์เลี้ยงพบปัญหาสัตว์เลี้ยงเห่าทำให้ตกใจเสียขวัญ อย่างไรก็ตามในภาพรวมผู้ไม่มีสัตว์เลี้ยงจะรู้สึกถึงปัญหามากกว่าผู้มีสัตว์เลี้ยง ผลการศึกษานี้สะท้อนให้เห็นถึงทัศนคติของผู้อยู่อาศัยที่มีสัตว์เลี้ยงและไม่มีสัตว์เลี้ยงในอาคารชุดเดียวกัน รวมถึงปัญหาที่เกิดขึ้น ซึ่งผู้ไม่มีสัตว์เลี้ยงจะรู้สึกถึงปัญหามากกว่า โดยเฉพาะเรื่องเสียงรบกวนของสัตว์เลี้ยงจากห้องข้างเคียง ในขณะที่ผู้มีสัตว์เลี้ยงส่วนใหญ่พบปัญหาสัตว์เลี้ยงตัวอื่นขับถ่ายแล้วเจ้าของไม่ทำความสะอาด …


การวางผังอาคารและลักษณะพื้นที่ว่างระหว่างอาคารในโครงการอาคารชุดพักอาศัยแนวราบในเขต กรุงเทพมหานคร, ปริยากร พิมานแมน Jan 2018

การวางผังอาคารและลักษณะพื้นที่ว่างระหว่างอาคารในโครงการอาคารชุดพักอาศัยแนวราบในเขต กรุงเทพมหานคร, ปริยากร พิมานแมน

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวางผังอาคารนับเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญที่ทำให้สภาพแวดล้อมพื้นที่ว่างระหว่างอาคารที่ถูกสร้างขึ้นนั้นมีความแตกต่างกันออกไป ซึ่งการวางผังที่ดีนี้จะส่งผลให้ 1) เกิดพื้นที่ภายในน่าอยู่ด้วยการวางตัวอาคารโอบล้อมพื้นทีส่วนกลาง เพิ่มความสงบให้กับพื้นที่ภายในโครงการ 2) นำไปสู่การจัดสรรพื้นที่ Facility ของโครงการ จากการสำรวจเบื้องต้นพบว่า พื้นที่ดังกล่าวจะถูกออกแบบเป็นฟังก์ชันการใช้งานที่หลากหลาย และมักถูกพบเป็นพื้นที่นันทนาการของโครงการ ซึ่งทำให้เกิดการใช้งานของผู้อยู่อาศัย 3)สามารถบรรลุ ตอบโจทย์การลงทุน เนื่องการวางผังอาคารจะขึ้นอยู่กับข้อกำหนดและกฎหมายต่างๆ ซึ่งความแตกต่างของการวางผังและสร้างสรรค์พื้นที่ว่างในโครงการนี้ ไม่เพียงแต่เป็นจุดขายของโครงการเท่านั้นแต่พื้นที่ดังกล่าวยังช่วยส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่ดีให้กับโครงการ สามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคได้อีกด้วย งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและจำแนกประเภทการวางผังโครงการ และพื้นที่ว่างระหว่างอาคารที่เกิดจากการวางผังในโครงการอาคารชุดพักอาศัยแนวราบ ในเขตกรุงเทพมหานครจากบริษัทอสังหาริมทรัพย์ที่มีผลประกอบการสูงสุดในปี พ.ศ. 2560 จำนวน 10 บริษัท โดยรวบรวมข้อมูลจากเว็บไซต์และหน่วยงานต่างๆ เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการวางผังและพื้นที่ว่างระหว่างอาคารที่เกิดจากการวางผัง จากรูปแบบผังอาคารที่ต่างกัน ผลการศึกษาพบว่าการวางผังโครงการอาคารชุดพักอาศัยแนวราบที่พบมี 3 รูปแบบหลักและ 1 รูปแบบผสม คือรูปแบบ A วางอาคารแบบสวนกลาง เกิดพื้นที่ว่างที่มีการปิดล้อม 3 ด้านขึ้นไป รูปแบบ B วางอาคารตามแนวถนน 2 ฝั่ง เกิดพื้นที่ว่าง มีด้านปิดล้อม 2 ด้าน รูปแบบ C วางอาคารตามแนวถนน เกิดพื้นที่ว่างเฉพาะด้านสกัดของอาคาร ไม่เกิดการปิดล้อม รูปแบบ D วางอาคารแบบผสม 2 รูปแบบขึ้นไป หรือตามรูปร่างที่ดิน 1) จากโครงการกลุ่มตัวอย่างพบ ผังรูปแบบ A มากที่สุด รองลงมาคือรูปแบบ D C และ B ตามลำดับ โดยผังรูปแบบ C และ D จะพบในโครงการที่มีขนาดใหญ่กว่ารูปแบบ A และ B 2) ผังรูปแบบ A เป็นรูปแบบผังที่มีระดับราคาขายสูงที่สุดใน 4 รูปแบบ และผังในรูปแบบ C เป็นรูปแบบผังที่มีระดับราคาขายต่ำที่สุด 3) ผังรูปแบบ A และ B มีลักษณะและพื้นที่ว่างระหว่างอาคารที่เกิดจากการวางอาคารใกล้เคียงกัน แต่ผังรูปแบบ A ถูกออกแบบพื้นที่ให้เป็นพื้นที่ใช้งานประเภทนันทนาการเพื่อทำกิจกรรมทางเลือกมากกว่า ผังรูปแบบ B …