Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Social and Behavioral Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

PDF

Chulalongkorn University

UNISEARCH (Unisearch Journal)

2019

Articles 1 - 30 of 31

Full-Text Articles in Social and Behavioral Sciences

การประเมินความพร้อมและความสำคัญของเทคโนโลยีการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสำหรับภาคพลังงานและกระบวนการผลิตในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทยด้วยวิธีการวิเคราะห์แบบหลายเกณฑ์, วีรินทร์ หวังจิรนิรันดร์, จักรพงศ์ พงศ์ธไนศวรรย, สุรชัย สถิตคุณารัตน์ Jan 2019

การประเมินความพร้อมและความสำคัญของเทคโนโลยีการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสำหรับภาคพลังงานและกระบวนการผลิตในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทยด้วยวิธีการวิเคราะห์แบบหลายเกณฑ์, วีรินทร์ หวังจิรนิรันดร์, จักรพงศ์ พงศ์ธไนศวรรย, สุรชัย สถิตคุณารัตน์

UNISEARCH (Unisearch Journal)

การประเมินความพร้อมและความสำคัญของเทคโนโลยีการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เป็นข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญสำหรับการขับเคลื่อนให้เกิดการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้เป็นไปตามเป้าหมาย ตามที่ประเทศไทยได้จัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกร้อยละ 20-25 จากกรณีปกติ ภายในปี ค.ศ. 2030 นอกจากนี้ยังสามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญสำหรับการกำหนดนโยบายการส่งเสริมงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศไทยให้เป็นไปในทิศทางที่สอดคล้องกับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโลกและศักยภาพของประเทศไทย เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าสูงสุด รวมทั้งเพื่อให้เทคโนโลยีการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ โดยพิจารณาความพร้อมในด้านต่าง ๆบนเป้าหมายที่ต้องการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและทำให้เกิดการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ การพัฒนาด้านสังคมและการลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ควบคู่กับความต้องการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกไปพร้อม ๆ กัน งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ระดับความพร้อมและความสำคัญของเทคโนโลยีการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในแต่ละชนิด โดยใช้วิธีการวิเคราะห์แบบหลายเกณฑ์ (Multi-Criteria Analysis: MCA)


ฟิล์มพลาสติกชีวภาพนาโนคอมพอสิตยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์, จิติมา ปรีชาวงศ์, วสุเทพ ฦาชา, มานิตย์ นิธิธนากุล Jan 2019

ฟิล์มพลาสติกชีวภาพนาโนคอมพอสิตยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์, จิติมา ปรีชาวงศ์, วสุเทพ ฦาชา, มานิตย์ นิธิธนากุล

UNISEARCH (Unisearch Journal)

อุตสาหกรรมพลาสติกมีการขยายตัวและเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่องและรวดเร็วเนื่องจากพลาสติกถูกใช้เป็นวัสดุทดแทนวัสดุจากธรรมชาติ เช่น ไม้ โลหะ กระดาษ และแก้ว เป็นต้น อีกทั้งยังใช้เป็นวัสดุสำหรับใช้งานเฉพาะด้านในอุตสาหกรรมและในชีวิตประจำวันอีกด้วย ประกอบกับการที่พลาสติกเป็นวัสดุที่มีสมบัติเด่นหลายประการ เช่น ราคาถูก น้ำ หนักเบาและสะดวกต่อการประยุกต์ใช้งาน ผลิตภัณฑ์พลาสติกจึงถูกนำมาใช้อย่างกว้างขวาง แต่จากสภาพปัญหามลพิษและภาวะโลกร้อนที่ทุกประเทศทั่วโลกให้ความสำคัญเป็นอย่างมากในปัจจุบัน ส่งผลให้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อาทิพลาสติกชีวภาพ (bioplastics) ซึ่งสามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ มีความสำคัญเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อแทนที่การใช้งานพลาสติกทั่วไป (conventional plastics) ที่ผลิตจากปิโตรเลียม ซึ่งไม่สามารถย่อยสลายตามธรรมชาติและก่อให้เกิดปัญหาขยะตกค้างในธรรมชาติ อีกทั้ง การกำจัดโดยการเผาไหม้ยังก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจกที่เป็นสาเหตุของการเกิดปัญหาภาวะโลกร้อนตามมา


ความเป็นไปได้ในการประยุกต์ใช้ถ่านชีวภาพเพื่อการกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่เกษตรกรรมบนอาคารสูงในพื้นที่เมือง, เสาวนีย์ วิจิตรโกสุม Jan 2019

ความเป็นไปได้ในการประยุกต์ใช้ถ่านชีวภาพเพื่อการกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่เกษตรกรรมบนอาคารสูงในพื้นที่เมือง, เสาวนีย์ วิจิตรโกสุม

UNISEARCH (Unisearch Journal)

ถ่านชีวภาพ (biochar) เป็นวัสดุที่มีธาตุคาร์บอนเป็นองค์ประกอบหลัก โครงสร้างประกอบด้วยคาร์บอนที่ยึดจับกันเป็นโครงสร้างอะโรมาติก (aromatic structure) ทำให้ถ่านชีวภาพเป็นวัสดุที่มีความเสถียรสูง (Schmidt & Noack, 2000;Lehmann, 2007; Glaser et al., 2002) จึงถูกย่อยสลายได้ยากในธรรมชาติ (Preston & Schmidt, 2006; Gul et al., 2015)ถ่านชีวภาพเป็นผลผลิตจากกระบวนการย่อยสลายมวลชีวภาพด้วยความร้อนที่อุณหภูมิตั้งแต่ 350-700 องศาเซลเซียสในสภาวะที่ไร้อากาศหรือมีอากาศเพียงเล็กน้อย หรือที่เรียกว่า กระบวนการไพโรไลซิส (Wijitkosum & Jiwnok, 2019;Sriburi & Wijitkosum, 2016; Brassard et al., 2016; Liu et al. 2014; Lehmann & Joseph, 2009) ทั้งนี้ คุณภาพของถ่านชีวภาพ ขึ้นอยู่กับชนิดของวัตถุดิบ (feedstock) และกระบวนการผลิต (process/procedures) (Cao et al., 2017;Sriburi & Wijitkosum, 2016; Graber et al., 2014) โดยวัตถุดิบที่นำมาใช้ผลิตถ่านชีวภาพส่วนใหญ่เป็นสารประกอบอินทรีย์ (Wijitkosum & Kallayasiri, 2015; Yooyen et al., 2015; Qambrani et al., 2017) ซึ่งในการศึกษาวิจัยเป็นการเลือกใช้วัสดุเหลือใช้จากเกษตรกรรม เช่น แกลบ เศษไม้ และเหง้ามันสำปะหลัง เป็นต้น


การประเมินขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยวในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ, ทวีวงศ์ ศรีบุรี Jan 2019

การประเมินขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยวในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ, ทวีวงศ์ ศรีบุรี

UNISEARCH (Unisearch Journal)

ประเทศไทยมีการขยายตัวของปริมาณนักท่องเที่ยวและรายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นทุกปี แตที่่น่าสนใจ คือ จำนวนแหล่งท่องเที่ยวที่สามารถรองรับนักท่องเที่ยวมีจำนวนเท่าเดิมโดยเฉพาะแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ทำให้แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สวยงามบางแห่งมีจำนวนนักท่องเที่ยวเข้าไปในพื้นที่มากจนเกินขีดความสามารถในการรองรับได้ ทำให้เกิดปัญหาความแออัดของนักท่องเที่ยวในพื้นที่ และปัญหาด้านต่าง ๆ ตามมามากมาย เช่น การบริหารจัดการด้านความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว การใช้ประโยชน์ของทรัพยากรธรรมชาติ การทำ ลายความสวยงามและเอกลักษณ์ของธรรมชาติสาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวกไม่เพียงพอ ส่งผลให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น ขยะมูลฝอย น้ำเสีย มลพิษทางอากาศ มลพิษทางเสียง เป็นต้น ในขณะเดียวกันจำนวนนักท่องเที่ยวที่มากเกินขีดความสามารถของแหล่งท่องเที่ยวยังเป็นต้นเหตุของการเกิดความเสื่อมโทรมของแหล่งท่องเที่ยว และส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิต คุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ของชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวและพื้นที่ใกล้เคียง ตลอดจนส่งผลกระทบต่อทัศนคติและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวผู้มาเยี่ยมเยือน ซึ่งผลกระทบต่าง ๆ เหล่านี้จะนำไปสู่ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภาพลักษณ์ด้านการท่องเที่ยวของแหล่งท่องเที่ยวนั้นๆ รวมทั้ง ภาพลักษณ์ของการท่องเที่ยวของประเทศด้วย


การผลิตละครโทรทัศน์เพื่อการรับชมทั่วโลก, สุเนตร ชุตินธรานนท์, ฐณยศ โล่พัฒนานนท์, กฤษบดินทร์ วงค์คำ Jan 2019

การผลิตละครโทรทัศน์เพื่อการรับชมทั่วโลก, สุเนตร ชุตินธรานนท์, ฐณยศ โล่พัฒนานนท์, กฤษบดินทร์ วงค์คำ

UNISEARCH (Unisearch Journal)

ประเทศไทยร่ำรวยด้วยทรัพยากรทางวัฒนธรรมอันหลากหลาย วัฒนธรรมไทยจึงเป็นที่สนใจแก่ชาวต่างชาติจนสร้างรายได้ให้แก่ประเทศผ่านอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเพื่อเน้นย้ำจุดแข็งทางวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของไทย รัฐบาลได้ประกาศใช้ยุทธศาสตร์การส่งออกวัฒนธรรม เรียกว่า "5F" อันได้แก่ การส่งออกอาหาร(food) ศิลปะการต่อสู้ (fighting) แฟชั่น (fashion)เทศกาล (festival) และภาพยนตร์ (film) (กระทรวงวัฒนธรรม, 2559) โดยให้สื่อบันเทิงจำพวกภาพยนตรีและละครโทรทัศน์ทำหน้าที่เป็นช่องทางหนึ่งในการเผยแพร่วัฒนธรรมทั้ง 5หากมองเฉพาะในบริบทของละครโทรทัศน์ ผู้ผลิตของไทยได้ประสบความสำเร็จในระดับภูมิภาคมาแล้วอย่างมากมาย การศึกษาโดย อัมพร จิรัฐติกร (2562) บ่งชี้ว่าละครโทรทัศน์ไทยได้รับความนิยมในประเทศเพื่อนบ้านรวมไปถึงประเทศจีน เป็นระยะเวลาหลายปี นั่นแสดงว่าไทยมีศักยภาพจะเป็นมหาอำนาจด้านละครไม่ต่างจากผู้เล่นรายสำคัญของโลก กระนั้น หากต้องการให้ละครโทรทัศน์ไทยเผยแพร่ภาพลักษณ์ทางวัฒนธรรมดังเป้าประสงค์ข้างต้นจำเป็นต้องมีการขบคิดไปอีกขั้นว่า ควรทำอย่างไรเพื่อให้ละครไทยสามารถประสบความสำเร็จในตลาดที่ใหญ่ขึ้นเหมือนในกรณีของสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้การศึกษาวิจัยเบื้องต้นเผยว่า คุณภาพของละครโทรทัศน์ไทยยังเป็นอุปสรรคสำคัญสำหรับการส่งออก ขนาดใหญ่ เนื่องจากละครไทยไม่เป็นที่ยอมรับในตลาดสากลด้วยเหตุว่าความสร้างสรรค์ของผู้จัดละครติดกับดักโครงเรื่องและแก่นเรื่องที่ซ้ำซาก งานส่วนใหญ่ของไทยนำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับการนอกใจ ประเด็นชู้สาว ความรุนแรงภาพนำเสนอบางอย่างบ่งบอกสภาพสังคมแบบชายเป็นใหญ่ หรือ มักกำหนดให้ตัวละครหญิงแสดงตนประหนึ่งวัตถุทางเพศ หรือ เป็นเหยื่อของความรุนแรงในขณะที่เนื้อเรื่องทั่วไปยังขาดค่านิยมเชิงวัฒนธรรมละครโทรทัศน์ไทยจึงยังไม่ใช่ผลิตภัณฑ์เพื่อการส่งเสริมวัฒนธรรมสำหรับตลาดสากลซึ่งมีแนวโน้มปฏิเสธเนื้องานลักษณะดังกล่าวเพื่อปรับเปลี่ยนสถานการณ์ คณะผู้วิจัยเล็งเห็นว่าจำเป็นที่จะต้องมีการถอดบทเรียนจากงานยอดนิยมของต่างประเทศ ทั้งนี้ เพื่อให้ได้แนวทางสำหรับพัฒนาเนื้อหาละครไทยซึ่งจะเปิดทางให้แก่การเผยแพร่วัฒนธรรมผ่านสื่อละครต่อไป ดังนั้น คณะผู้วิจัยจึงได้ศึกษาเทคนิคการสร้างสรรค์โดยเลือกมาจากกรณีศึกษาต่าง ๆ ไม่ต่ำกว่า100 กรณี คัดเฉพาะกรณีที่เผยแพร่ในช่วงคริสตทศวรรษที่ 2000-2010 และมีหลักฐานด้านความสำเร็จ การถอดบทเรียนอาศัยวิธีวิเคราะห์เนื้อหางานละครร่วมกับการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างละครโทรทัศน์ของไทยและละครโทรทัศน์ต่างประเทศ ทั้งหมดช่วยให้คณะผู้วิจัยค้นพบเทคนิคสำคัญต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์แก่การผลิตในภาคอุตสาหกรรม


มุมมองของเยาวชนไทยต่อเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์, พริมา สุวัณณาคาร, ราวีณา ปาวา, ลักษิกา อุดมศรีสำราญ, สรภพ เกียรติพงษ์สาร Jan 2019

มุมมองของเยาวชนไทยต่อเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์, พริมา สุวัณณาคาร, ราวีณา ปาวา, ลักษิกา อุดมศรีสำราญ, สรภพ เกียรติพงษ์สาร

UNISEARCH (Unisearch Journal)

การนิยามคำว่าครอบครัวนั้นเป็นเรื่องที่น่าสนใจและมีความแตกต่างหลากหลาย ครอบครัวเป็นหน่วยที่เล็ก และเป็นหน่วยพื้นฐานของหน่วยต่าง ๆ ของมนุษยชาติ ปัจเจกบุคคลตีความคำว่าครอบครัว แตกต่างกันด้วยปัจจัยและมุมมองต่าง ๆ ทั้งมุมมองด้านสายเลือด ทางประเพณี ทางวัฒนธรรม อีกทั้งมุมมองในเชิงสัญลักษณ์ หรือเชิงเปรียบเปรย และเป็นการยากที่จะนิยามครอบครัว "ทั่ว ๆ ไป" อย่างไรก็ตามความหลากหลายทางรูปแบบของครอบครัวยังเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์(Assisted Reproductive Technologies: ARTs) นั้นมีส่วนทำให้เกิดรูปแบบครอบครัวใหม่ ๆ โดยเฉพาะการทำให้พ่อแม่บางคนเลือกที่จะมีลูกโดยไม่ใช้วิธีทางธรรมชาติเลย พัฒนาการเหล่านี้ในทางวิทยาศาสตร์การเจริญพันธุ์เปลี่ยนแปลง และส่งผลต่อการตัดสินใจเรื่องการสร้างครอบครัว ซึ่งควรมีการพูดคุยถึงพัฒนาการเหล่านี้ในทุก ๆ ระดับ ทั้งในระดับนโยบายและระดับปัจเจก ซึ่งหมายรวมถึงเยาวชนด้วยเพราะเยาวชนเหล่านี้เป็นตัวแปรที่สำคัญว่าหน่วยครอบครัวของสังคมในภายภาคหน้านั้นจะเป็นอย่างไรการให้เยาวชนมีส่วนร่วมในบทสนทนาทางนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวกับครอบครัวและเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์จึงมีความจำเป็นและสำคัญบทความนี้กล่าวถึงมุมมองของเยาวชนไทยต่อเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ และอนาคตของคำว่าครอบครัว ในมิติด้านจริยธรรม กฎหมาย และสังคม (Ethical, Legal and Social Implications: ELSIs)โดยใช้กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วม 3 ขั้นตอน


การสื่อสารระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในกระบวนการดำเนินการวิจัย และการประเมินผลโครงการวิจัยด้านงานวิจัยนวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชนด้วยตัวแบบ Cipp Model, ขวัญรัฐ ส่วนพงษ์, สุทธิมา ชำนาญเวช, จินตนา บุญบงการ, ศศนันท์ วิวัฒนชาต, ชยุตม์ วะนา, กิตติยา วงศ์ณรงค์รักษ, อิสรา งามจรัสวาณิชย์ Jan 2019

การสื่อสารระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในกระบวนการดำเนินการวิจัย และการประเมินผลโครงการวิจัยด้านงานวิจัยนวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชนด้วยตัวแบบ Cipp Model, ขวัญรัฐ ส่วนพงษ์, สุทธิมา ชำนาญเวช, จินตนา บุญบงการ, ศศนันท์ วิวัฒนชาต, ชยุตม์ วะนา, กิตติยา วงศ์ณรงค์รักษ, อิสรา งามจรัสวาณิชย์

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


แนวโน้มทิศทางและเทคโนโลยีพลังงานไฟฟ้าในอนาคต, กุลยศ อุดมวงศ์เสรี Jan 2019

แนวโน้มทิศทางและเทคโนโลยีพลังงานไฟฟ้าในอนาคต, กุลยศ อุดมวงศ์เสรี

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


การผลิตเชื้อเพลิงเหลวทดแทนดีเซลจากกระบวนการไพโรไลซิสขยะพลาสติกและชีวมวล, ประเสริฐ เรียบร้อยเจริญ Jan 2019

การผลิตเชื้อเพลิงเหลวทดแทนดีเซลจากกระบวนการไพโรไลซิสขยะพลาสติกและชีวมวล, ประเสริฐ เรียบร้อยเจริญ

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


การศึกษาและพัฒนาโครงข่ายการสัญจรและพื้นที่สาธารณะภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน, พนิต ภู่จินดา Jan 2019

การศึกษาและพัฒนาโครงข่ายการสัญจรและพื้นที่สาธารณะภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน, พนิต ภู่จินดา

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


"รอบตัวเรา" งานวิจัยจากหิ้ง สู่ห้าง, ทวีวงศ์ ศรีบุรี Jan 2019

"รอบตัวเรา" งานวิจัยจากหิ้ง สู่ห้าง, ทวีวงศ์ ศรีบุรี

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


กิจกรรม Unisearch Jan 2019

กิจกรรม Unisearch

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


ข่าวและกิจกรรม รอบรั้วโครงการ Jan 2019

ข่าวและกิจกรรม รอบรั้วโครงการ

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


ข่าวและกิจกรรม รอบรั้วโครงการ Jan 2019

ข่าวและกิจกรรม รอบรั้วโครงการ

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


กิจกรรม Unisearch Jan 2019

กิจกรรม Unisearch

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


"รอบตัวเรา" พลังงาน เพื่อความยั่งยืน, ทวีวงศ์ ศรีบุรี Jan 2019

"รอบตัวเรา" พลังงาน เพื่อความยั่งยืน, ทวีวงศ์ ศรีบุรี

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


แนะนำโครงการ โครงการศึกษาพฤติกรรมระหว่างการประชุมเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายและลดพฤติกรรมเนือยนิ่งของประชากรกลุ่มวัยทำงาน, พนิต ภู่จินดา Jan 2019

แนะนำโครงการ โครงการศึกษาพฤติกรรมระหว่างการประชุมเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายและลดพฤติกรรมเนือยนิ่งของประชากรกลุ่มวัยทำงาน, พนิต ภู่จินดา

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


ข่าวและกิจกรรม รอบรั้วโครงการ Jan 2019

ข่าวและกิจกรรม รอบรั้วโครงการ

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


การพัฒนาเมืองคาร์บอนต่ำเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน, จักรพงศ์ พงศ์ธไนศวรรย์, วีรินทร์ หวังจิรนิรันดร์, กัญณภัทร ชื่นวงศ์, ชญาธร ธนวัฒนาดำรง Jan 2019

การพัฒนาเมืองคาร์บอนต่ำเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน, จักรพงศ์ พงศ์ธไนศวรรย์, วีรินทร์ หวังจิรนิรันดร์, กัญณภัทร ชื่นวงศ์, ชญาธร ธนวัฒนาดำรง

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


สัมภาษณ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ไทยแลนด์ 4.0 ศาสตราจารย์ ดร. สุพจน์ หารหนองบัว, สุพจน์ หารหนองบัว Jan 2019

สัมภาษณ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ไทยแลนด์ 4.0 ศาสตราจารย์ ดร. สุพจน์ หารหนองบัว, สุพจน์ หารหนองบัว

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


แนะนำโครงการ ร่วมสร้าง พระราม 4 วิถีเมือง, เสาวนีย์ วิจิตรโกสุม Jan 2019

แนะนำโครงการ ร่วมสร้าง พระราม 4 วิถีเมือง, เสาวนีย์ วิจิตรโกสุม

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


กรณีศึกษาตำบลไหล่น่าน จังหวัดน่าน, พงษ์ชัย ดำรงโรจน์วัฒนา, วุฒิวงศ์ วิมลศักดิ์เจริญ, สุตนันท์ ปิ่นมณีนพรัตน์, พวงทอง ชมภูมิ่ง, อลงกรณ์ วีระพันธ์, ธัญวัฒน์ กาบคำ, มาลินี อนุรักษ์, แสงรวี รุณวุฒิ, วัชราพร มาลี, ทรรศน์มน กาละดี, สำราญ ปัญญาอินทร์, สายฝน คำเต็ม Jan 2019

กรณีศึกษาตำบลไหล่น่าน จังหวัดน่าน, พงษ์ชัย ดำรงโรจน์วัฒนา, วุฒิวงศ์ วิมลศักดิ์เจริญ, สุตนันท์ ปิ่นมณีนพรัตน์, พวงทอง ชมภูมิ่ง, อลงกรณ์ วีระพันธ์, ธัญวัฒน์ กาบคำ, มาลินี อนุรักษ์, แสงรวี รุณวุฒิ, วัชราพร มาลี, ทรรศน์มน กาละดี, สำราญ ปัญญาอินทร์, สายฝน คำเต็ม

UNISEARCH (Unisearch Journal)

ป่าชุมชน คือ ผืนป่าที่มีขนาดเล็ก แต่หากมีขนาดใหญ่ จะต้องไม่ใหญ่เกินกว่าที่ชุมชนจะดูแลฟื้นฟูได้ พื้นที่ป่าชุมชน เป็นพื้นที่ซึ่งได้รับการจัดการโดยกระบวนการของชุมชน เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ตามความประสงค์ของชุมชน อย่างยั่งยืน โดยทั่วไปจะมีการใช้ประโยชนืจากทรัพยากรป่าไม้ ทั้งที่เป็นเนื้อไม้ และไม่ใช่เนื้อไม้ และมีการออกระเบียบหรือ มาตรการบังคับทางสังคมในการดูแลจัดการ (กรมป่าไม้, 2537) ซึ่งป่าชุมชนมีบทบาทสำคัญในการอนุรักษ์พื้นที่ป่าไม้ของ ประเทศไทย จังหวัดน่านมีการจัดตั้งป่าชุมชนซึ่งมีพื้นที่ทั้งหมด 240,753 ไร่ (กรมป่าไม้, 2562) จากการศึกษาทรัพยากรใน พื้นที่ป่าชุมชนในตำบลไหล่น่าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน พบว่าทรัพยากรในพื้นที่ป่าชุมชนดังกล่าวมีความหลากหลาย และยังมีความสำคัญต่อความมั่นคงทางอาหารของคนใน ท้องถิ่น และระบบนิเวศ เช่น พบนกจำนวน 29 วงศ์ 59 ชนิด พบเห็ด จำนวน 18 วงศ์ 28 สกุล 97 ชนิด ในจำนวนวงศ์ดังกล่าว เป็นเห็ดที่บริโภคได้จำนวน 48 ชนิด เช่น เห็ดระโงกขาว เห็ดแดง เห็ดถอบ เป็นต้น นอกจากนั้นยังพบปลาจำนวน 4 วงศ์ 13 สกุล 13 ชนิด พบแมลงในดิน จำนวน 17 อันดับ และ ไม่สามารถจำแนกได้ 1 อันดับ พื้นที่ป่าชุมชนในตำบลไหล่น่าน ยังสามารถกักเก็บธาตุคาร์บอนจากชั้นบรรยากาศได้เฉลี่ย 41.84 ตันคาร์บอนต่อแฮกแตร์ต่อปี ผลการประเมินมูลค่า ทางเศรษฐศาสตร์ พบว่าพื้นที่ป่าชุมชนแห่งนี้มีมูลค่าสูงถึง 2.52 ล้านบาทต่อปี (พงษ์ชัย ดำรงโรจน์วัฒนา และคณะ, 2559) อย่างไรก็ตาม การศึกษาพื้นที่ป่าชุมชนยังขาดการ รวบรวมองค์ความรู้และการถ่ายทอดความรู้จากผู้ใหญ่สู่ เยาวชนซึ่งเป็นกำลังสำคัญในการอนุรักษ์ป่าของจังหวัดน่าน ดังนั้นโครงการ "การจัดการองค์ความรู้ป่าชุมชนโดยใช้ แนวคิดแบบจำลองเพื่อนคู่คิด : กรณีศึกษาตำบลไหล่น่าน จังหวัดน่าน" จึงได้สร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบเกม และสถานการณ์จำลองภายใต้แนวคิดแบบจำลองเพื่อนคู่คิด เพื่อเป็นเครื่องมือในการรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับป่าชุมชน ตำบลไหล่น่าน และใช้เป็นเครื่องมือในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของเยาวชนเกี่ยวกับการจัดการป่าชุมชน อันจะนำไปสู่การ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการพัฒนาป่าชุมชนอย่าง …


บทบรรณาธิการ Jan 2019

บทบรรณาธิการ

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการเฝ้าระวังปัญหาสิ่งแวดล้อมในจังหวัดฉะเชิงเทรา, ลือชัย ครุธน้อย Jan 2019

การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการเฝ้าระวังปัญหาสิ่งแวดล้อมในจังหวัดฉะเชิงเทรา, ลือชัย ครุธน้อย

UNISEARCH (Unisearch Journal)

จังหวัดฉะเชิงเทราเป็นจังหวัดหนึ่งในพื้นที่ภาคตะวันออกที่มีแหล่งกำเนิดมลพิษ เพิ่มขึ้น เป็นจำนวนมาก ทั้งนี้ สืบเนื่องจากการพัฒนาและความเหมาะสมของพื้นที่ชุมชนและภาคอุตสาหกรรมขยายตัวเพิ่มมากขึ้นมีแผนงานและโครงการพัฒนาพื้นที่โดยเข้าร่วมกับกรมโรงงานอุตสาหกรรมในโครงการดำเนินการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2556 โครงการดังกล่าวได้จัดทำกิจกรรมและแผนงานสนับสนุนการดำเนินงานและแก้ไขปัญหาเพื่อเข้าสู่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Industrial Town) โดยมียุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและอยู่ในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) ตามพระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 ประกาศเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 เพื่อดำเนินการพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันออกให้เป็นระบบและสอดคล้องกับหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการส่งเสริมการประกอบพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ทันสมัย สร้างนวัตกรรม และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีการวางผังเมืองรวมเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดฉะเชิงเทรา ได้ตระหนักถึง ปัญหาสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต จึงกำหนดแนวทางในการบูรณาการเพื่อเฝ้าระวังแหล่งกำเนิด มลพษิ และเตรียมความพร้อมในการรับมือภัยพิบัติต่าง ๆ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ของจังหวัดฉะเชิงเทรา คือ เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรมเพื่อให้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจ และชุมชนอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุขโดยจัดให้มีการติดตามตรวจสอบวิเคราะห์ จัดทำบัญชีแหล่งกำเนิดมลพิษ พร้อมจัดทำแนวทางมาตรการในการเฝ้าระวัง แก้ไขปัญหา และเสริมสร้างประสิทธิภาพเครือข่ายภาคประชาชนให้มีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังแหล่งกำเนิดมลพิษ เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือภัยพิบัติจากแหล่งกำเนิดมลพิษ ทั้งนี้ ด้วยเจตนารมณ์ที่ต้องการให้สภาพแวดล้อมของจังหวัดอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม


สัมภาษณ์ นววิจัยทางศิลปวัฒนธรรม รองศาสตราจารย์ ดร.ยุทธนา ฉัพพรรณรัตน์, ยุทธนา ฉัพพรรณรัตน์ Jan 2019

สัมภาษณ์ นววิจัยทางศิลปวัฒนธรรม รองศาสตราจารย์ ดร.ยุทธนา ฉัพพรรณรัตน์, ยุทธนา ฉัพพรรณรัตน์

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


"รอบตัวเรา" การสื่อสารเพื่อการพัฒนาสังคม, ทวีวงศ์ ศรีบุรี Jan 2019

"รอบตัวเรา" การสื่อสารเพื่อการพัฒนาสังคม, ทวีวงศ์ ศรีบุรี

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


แนะนำโครงการ การประยุกต์ใช้ข้อมูลฝนจากดาวเทียมสำหรับระบบปฏิบัติการเพื่อการคาดการณ์น้ำท่วม, ปิยธิดา เรืองรัศมี Jan 2019

แนะนำโครงการ การประยุกต์ใช้ข้อมูลฝนจากดาวเทียมสำหรับระบบปฏิบัติการเพื่อการคาดการณ์น้ำท่วม, ปิยธิดา เรืองรัศมี

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


สถานภาพความเป็นอาคารราชการเขียวและแนวทางการปรับปรุงกรณีศึกษา : กลุ่มอาคารคณะวิทยาศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อรรจน์ เศรษฐบุตร, สุริยน ศิริธรรมปิติ Jan 2019

สถานภาพความเป็นอาคารราชการเขียวและแนวทางการปรับปรุงกรณีศึกษา : กลุ่มอาคารคณะวิทยาศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อรรจน์ เศรษฐบุตร, สุริยน ศิริธรรมปิติ

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


สัมภาษณ์ นวัตกรรมเคมีชีวภาพทางเลือกสู่ความยั่งยืนของประเทศไทย, ณัฏฐา ทองจุล Jan 2019

สัมภาษณ์ นวัตกรรมเคมีชีวภาพทางเลือกสู่ความยั่งยืนของประเทศไทย, ณัฏฐา ทองจุล

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.


บทบรรณาธิการ Jan 2019

บทบรรณาธิการ

UNISEARCH (Unisearch Journal)

No abstract provided.