Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Physical Sciences and Mathematics Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Chemistry

2019

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Articles 1 - 30 of 82

Full-Text Articles in Physical Sciences and Mathematics

Development Of Thin-Layer Chromatography For Selective Analysis Of Volatile Compounds Using Gas Chromatography Mass Spectrometry, Nattapat Suchatanugal Jan 2019

Development Of Thin-Layer Chromatography For Selective Analysis Of Volatile Compounds Using Gas Chromatography Mass Spectrometry, Nattapat Suchatanugal

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

In this study, simple and selective solid phase extraction approach for a range of volatile compounds in perfume was developed prior to analysis with headspace solid phase micro extraction (HS-SPME) and gas chromatography hyphenated with mass spectrometry (GC-MS). The technique relies on use of thin layer chromatography (TLC) for separation of compound along the silica gel plate followed by selective cuts of the regions of interest, desorption, HS-SPME and GC-MS analysis. The TLC separation of standard compounds using hexane and ethyl acetate (6:1 volume ratio) as the mobile phase was initially performed. The compounds was then desorbed from the TLC …


Electrospun Nylon 6,6 Nanofibers Functionalized With Β-Cyclodextrin As Solid Phase Extraction Sorbent For Determination Of Parabens, Tassanee Kuakul Jan 2019

Electrospun Nylon 6,6 Nanofibers Functionalized With Β-Cyclodextrin As Solid Phase Extraction Sorbent For Determination Of Parabens, Tassanee Kuakul

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

In this study, electrospun nanofibers of nylon 6,6 functionalized with β-cyclodextrin (nylon 6,6/β-CD) were fabricated and applied as a sorbent in solid-phase extraction (SPE) for determination of parabens in water. The electrospinning parameters such as polymer concentration, nylon 6,6/β-CD ratio, and electric field strength were investigated in order to obtain uniform nanofibers. The morphology and physical properties of obtained fibers were characterized by scanning electron microscope (SEM), Fourier transforms infrared spectroscopy (FTIR), and BET surface area analysis. The electrospun nylon 6,6/β-CD nanofibers were achieved with diameter in the range of 120 - 150 nm. The additional of β-CD slightly increased …


พอลิอะนิลีน/เหล็กออกไซด์/รีดิวซ์แกรฟีนออกไซด์เจือไนโตรเจนคอมพอสิตเพื่อเป็นขั้วไฟฟ้าตัวเก็บประจุยิ่งยวด, กัณจน์ชญาน์ ทุ่งส่วย Jan 2019

พอลิอะนิลีน/เหล็กออกไซด์/รีดิวซ์แกรฟีนออกไซด์เจือไนโตรเจนคอมพอสิตเพื่อเป็นขั้วไฟฟ้าตัวเก็บประจุยิ่งยวด, กัณจน์ชญาน์ ทุ่งส่วย

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ในงานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาขั้วประจุไฟฟ้ายิ่งยวดจากวัสดุเหล็กออกไซด์/ไนโตรเจนเจือรีดิวซ์ แกรฟีนออกไซด์/พอลิอะนิลีน โดยมีการใช้สารสกัดเซริซินจากกระบวนการลอกกาวไหมเป็นแหล่งไนโตรเจนอะตอมในการเจือ ซึ่งจากกระบวนการเตรียมไนโตรเจนเจือรีดิวซ์แกรฟีนออกไซด์ด้วยกระบวนการรีฟลักซ์และรีดิวซ์ด้วยกรดวิตามินซี พบว่าสามารถเจือไนโตรเจนถึง 11.68% ในโครงสร้างของไนโตรเจนเจือรีดิวซ์แกรฟีนออกไซด์ที่สังเคราะห์ได้ วัสดุขั้วไฟฟ้าเหล็กออกไซด์/ไนโตรเจนเจือรีดิวซ์แกรฟีนออกไซด์/พอลิอะนิลีนคอมพอสิตที่ได้จากการพอกพูนทางไฟฟ้าเคมีแสดงลักษณะสัณฐานวิทยาของนาโนไฟบริลพอลิอะนิลีนร่วมกับโครงสร้างแผ่นไนโตรเจนเจือรีดิวซ์แกรฟีนออกไซด์ และถูกยืนยันองค์ประกอบต่าง ๆ ด้วยเทคนิคการวัดการกระจายพลังงานของรังสีเอกซ์ ฟูเรียร์ทรานส์ฟอร์มอินฟราเรดสเปกโตรสโคปี และการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ เมื่อนำขั้วไฟฟ้าที่เตรียมได้จากวัสดุไนโตรเจนเจือรีดิวซ์วัสดุพอลิอะนิลีน แกรฟีนออกไซด์/พอลิอะนิลีน และเหล็กออกไซด์/ไนโตรเจนเจือรีดิวซ์แกรฟีนออกไซด์/พอลิอะนิลีนคอมพอสิตมาประเมินความประสิทธิภาพในการกักเก็บพลังงาน พบว่าให้ค่าเก็บประจุที่ 151.76, 190 และ221 ฟารัดต่อกรัมที่ 1 แอมป์ต่อกรัมตามลำดับ บ่งชี้ถึงประสิทธิภาพในการกักเก็ลพลังงานไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นเมื่อมีการเติมไนโตรเจนเจือรีดิวซ์แกรฟีนออกไซด์ และเหล็กออกไซด์ นอกจากนี้ขั้วเหล็กออกไซด์/ไนโตรเจนเจือรีดิวซ์แกรฟีนออกไซด์/พอลิอะนิลีนคอมพอสิตยังสามารถแสดงเสถียรภาพของประสิทธิภาพต่อรอบการใช้งานทางไฟฟ้าได้สูงถึงร้อยละ 79 หลังการใช้งาน 5000 รอบ ซึ่งจากผลการทดลองบ่งชี้ให้เห็นขั้วไฟฟ้าเหล็กออกไซด์/ไนโตรเจนเจือรีดิวซ์แกรฟีนออกไซด์/พอลิอะนิลีนคอมพอสิตมีความเหมาะสมในการนำไปประยุกต์ใช้ในขัอุปกรณ์กักเก็บพลังงานชนิดตัวเก็บประจุยิ่งยวดประสิทธิภาพสูง


Formaldehyde Fluorescent Sensors From 1,8-Naphthalimide Derivatives, Apicha Maharat Jan 2019

Formaldehyde Fluorescent Sensors From 1,8-Naphthalimide Derivatives, Apicha Maharat

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Three derivatives of 1,8-naphthalimide were systematically designed and synthesized to investigate the effect of substitution pattern on their photophysical properties and sensing behaviors towards formaldehyde in aqueous media. The key substituents, the hydrazino (-NHNH2) and the 2-methoxyethylamino groups (-NHCH2CH2OCH3), were installed at the 4-position of 1,8-naphthalimide by a nucleophilic replacement, and at the imide position by a condensation reaction with 1,8-naphthalic anhydride precursor. All target compounds were obtained in good overall yields of 60-80%. Compounds with two hydrazine moieties (R3) showed excellent selective fluorescent responses towards formaldehyde with the 3.5-fold fluorescence enhancement in 5% aqueous acetic acid solution at 520 …


Bioactive Compounds From Lichen Usnea Aciculifera Vain And Usnic Acid Conjugates, Truong Tuong Lam Jan 2019

Bioactive Compounds From Lichen Usnea Aciculifera Vain And Usnic Acid Conjugates, Truong Tuong Lam

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Phytochemical investigation of lichen Usnea aciculifera Vain led to the isolation of nine new dimeric xanthones, usneaxanthones A-I (36–44), along with 36 known compounds (1–35, 45). The chemical structures of the isolated compounds were elucidated by a combination spectroscopic data (1D, 2D NMR, HRESIMS), ECD experiments, and single-crystal X-ray as well as comparison of their NMR data with those in the literature. The biological activities of isolated compounds were evaluated for antibacterial, anti-dengue and cytotoxic activites. The results revealed that depsides may have potential as lead compounds for the development of new antibacterial and anti-dengue agents. Futhermore, dimeric xanthones exhibited …


Development Of Paper-Based Colorimetric Sensor For Determination Of Human Papillomavirus Dna, Sarida Naorungroj Jan 2019

Development Of Paper-Based Colorimetric Sensor For Determination Of Human Papillomavirus Dna, Sarida Naorungroj

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

In this work, a paper-based analytical device (PAD) based on colorimetric assay using pyrrolidinyl peptide nucleic acid (acpcPNA) probe was developed as a sensor for the detection of Human papillomavirus (HPV) DNA. Dextrin-stabilized gold nanoparticles (d-AuNPs) was employed as a colorimetric reagent. The aggregation of d-AuNPs can be induced by positively charged acpcPNA generating a distinctive color change. After the hybridization of acpcPNA and DNA target, the residual acpcPNA probe can cause different degrees of the d-AuNPs aggregation, resulting in the detectable color change. The different color change before and after the introduction of the DNA target as a function …


Synthesis Of Chalcone Derivatives As Ampk Activators, Duy Vu Nguyen Jan 2019

Synthesis Of Chalcone Derivatives As Ampk Activators, Duy Vu Nguyen

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Diabetes and diabetic nephropathy are two noticeable disorders in modern life. Chalcones are considered as a feasible candidate for these medication disorders due to the capability to activate AMPK relating to these two diseases. A series of chalcones with A-ring possessing 2'-hydroxy-, 3',4',5'-trimethoxyacetophenones or other types and B-ring decorated with mono-, di-, trisubstitution were accomplished by Claisen–Schmidt, etherification and hydrogenation reactions in almost moderate to high yield. 3-Methoxy group was found to be the best substituent for the activity in case of monosubstitution on B-ring. 3,4-Dimethoxy and 3,4-methylenedioxy groups on B-ring (63 and 65) enhanced the activity of disubstituted chalcones …


Continuous Synthesis Of Biodiesel And Glycerol Ether Using Homogeneous And Heterogeneous Catalysts, Natta Rattanapanya Jan 2019

Continuous Synthesis Of Biodiesel And Glycerol Ether Using Homogeneous And Heterogeneous Catalysts, Natta Rattanapanya

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

In our study, a mixture of p-toluenesulfonic acid and sulfuric acid (TsOH-H2SO4) as a catalyst showed a good performance in transesterification of palm oil (PO) with methanol and etherification of biodiesel with isobutylene. For biodiesel production, the catalyst noticeably accelerated the reaction faster than TsOH and H2SO4 alone and also gave up to 99.8% of the conversion. Etherification of biodiesel with isobutylene in the etherification process using isobutylene/glycerol molar ratio 6:1 at 70°C, in the period of 5 h reaction time, gave high selectivity to produce DTBG and TTBG (81.4%). Furthermore, the catalyst can be reused for 6 cycles of …


High Magnification Polymeric Lens For Smartphone Microscope, Wisansaya Jaikeandee Jan 2019

High Magnification Polymeric Lens For Smartphone Microscope, Wisansaya Jaikeandee

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

In this work, we present a facile method for fabrication of plano-convex lenses, using high reflective optical polymer (Polydimethylsiloxane, Sylgard 184 by Dow Corning, n ~1.42 and Norland Optical adhesive 61, NOA61 by Norland Products, ~1.56) under the confined sessile drop technique. The confined sessile drop technique is a facile method and an adjustable lens geometry through controlled the weight of liquid polymer on the lens substrate, as PMMA circular disk and Sylgard circular disk, with different diameter (2.5-6.0 mm). The liquid polymer was gradually spread and radially over the surface of the lens substrate, and resistance to spreading of …


การออกแบบกระบวนการดักจับคาร์บอนไดออกไซด์หลังการเผาไหม้ของโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมจากแก๊สธรรมชาติโดยใช้ K2co3/Γ-Al2o3, กนกพล โรจนกิจ Jan 2019

การออกแบบกระบวนการดักจับคาร์บอนไดออกไซด์หลังการเผาไหม้ของโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมจากแก๊สธรรมชาติโดยใช้ K2co3/Γ-Al2o3, กนกพล โรจนกิจ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ปัจจุบันโลกเผชิญกับภาวะโลกร้อน ทำให้การดักจับคาร์บอนไดออกไซด์ก่อนที่แก๊สร้อนจะถูกปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศเป็นสิ่งที่จำเป็น ในงานวิจัยที่ผ่านมาได้มีการศึกษากระบวนการดักจับคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยตัวดูดซับของแข็งแทนที่กระบวนการดูดซึมด้วยสารละลายเอมีน และศึกษาความเป็นไปได้ทางพลังงาน ในขณะที่ความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ยังไม่เป็นที่สนใจ ในการวิจัยนี้จะทำการศึกษาความเป็นไปได้ทางพลังงานและเศรษฐศาสตร์ของแบบจำลองกระบวนการดักจับคาร์บอนไดออกไซด์หลังกระบวนการเผาไหม้ด้วยตัวดูดซับของแข็งที่ถูกจำลองด้วย Aspen Plus V.11.0 ที่ใช้ข้อมูลจากการทดลองของตัวดูดซับ K2CO3/ γ-Al2O3 ที่ปรับปรุงด้วยสารละลายเอมีน 3 ชนิด MEA, MDEA และ AMP จากการศึกษาพบว่าตัวดูดซับ K2CO3/γ-Al2O3 ที่ผ่านกระบวนการปรับปรุงสารละลายเอมีนมีความสามารถในการดูดซับสูงขึ้นกว่าเดิม โดยตัวดูดซับ K2CO3/γ-Al2O3 ที่ผ่านกระบวนการปรับปรุงด้วยสารละลายเอมีน ชนิด MDEA สามารถดักจับคาร์บอนไดออกไซด์มีปริมาณมากที่สุด โดยความสามารถในการดักจับคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้น ร้อยละ 28.81 จากนั้นนำข้อมูลจากการทดลองมาใช้ในแบบจำลองโรงไฟฟ้าที่มีระบบดักจับคาร์บอนไดออกไซด์ พบว่าแบบจำลองกระบวนการดักจับคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยตัวดูดซับของแข็งสามารถดักจับคาร์บอนไดออกไซด์ร้อยละ 91.43 โดยมีประสิทธิภาพเอ็กเซอร์จีร้อยละ 29.24 และมีอัตราการคืนทุนที่ร้อยละ 6.55 ซึ่งดีกว่ากระบวนการดักจับคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยสารละลายเอมีนชนิด MEA ที่มีประสิทธิภาพเอ็กเซอร์จีร้อยละ 28.27 และอัตราการคืนทุนที่ร้อยละ 3.98


สหสัมพันธ์สำหรับทำนายความเร็วต่ำสุดในการเกิดฟลูอิไดเซชันของอนุภาคที่มีการกระจายขนาดต่างกัน, กฤติน ก่อเกิด Jan 2019

สหสัมพันธ์สำหรับทำนายความเร็วต่ำสุดในการเกิดฟลูอิไดเซชันของอนุภาคที่มีการกระจายขนาดต่างกัน, กฤติน ก่อเกิด

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การกระจายขนาดของอนุภาคเป็นตัวแปรสำคัญที่ส่งผลต่ออุทกพลศาสตร์ภายในเครื่องปฏิกรณ์ฟลูอิไดซ์เบด งานวิจัยนี้ ศึกษาผลของการกระจายขนาดของอนุภาค และ ผลของสภาวะดำเนินการ ที่มีต่อความเร็วต่ำสุดในการเกิดฟลูอิไดเซชัน โดยศึกษาทรายที่มีขนาดอนุภาคเฉลี่ยแตกต่างกัน 3 ขนาด รูปแบบการกระจายขนาดของอนุภาคแตกต่างกัน 5 รูปแบบ ปริมาณของอนุภาคของแข็งในช่วง 1 ถึง 3 กิโลกรัม และ อุณหภูมิของอนุภาคของแข็งในช่วง 30 ถึง 120 องศาเซลเซียส ผลที่ได้พบว่า ความเร็วต่ำสุดในการเกิดฟลูอิไดเซชันสำหรับอนุภาคของแข็งที่มีรูปแบบการกระจายขนาดกว้าง มีค่าต่ำกว่าความเร็วต่ำสุดในการเกิดฟลูอิไดเซชันสำหรับอนุภาคของแข็งที่มีรูปแบบการกระจายขนาดแคบ เนื่องจากการใส่อนุภาคขนาดเล็กลงไปในระบบมากขึ้นจะช่วยให้พฤติกรรมที่เกิดขึ้นภายในเครื่องปฏิกรณ์ฟลูอิไดซ์เบดดีขึ้น โดยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์ความเบ้ของรูปแบบการกระจายขนาดของอนุภาคส่งผลต่อความเร็วต่ำสุดในการเกิดฟลูอิไดเซชันเช่นกัน ความเร็วต่ำสุดในการเกิดฟลูอิไดเซชันมีค่าต่ำลงเมื่ออุณหภูมิของอนุภาคของแข็งสูงขึ้น ขณะที่ความเร็วต่ำสุดในการเกิดฟลูอิไดเซชันจะมีค่าสูงขึ้นเมื่อขนาดอนุภาคของแข็งเฉลี่ย และปริมาณอนุภาคของแข็งเริ่มต้นเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ การสร้างสหสัมพันธ์โดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยไม่เชิงเส้นแบบพหุโดยใช้ข้อมูลจากการทดลอง และการใช้โครงข่ายประสาทเทียม สามารถใช้ในการทำนายค่าความเร็วต่ำสุดในการเกิดฟลูอิไดเซชันได้ทั้งสองวิธี เนื่องจากให้ค่าความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์เฉลี่ยที่ใกล้เคียงกัน


การผลิตไฮโดรเจนพร้อมกับการสลายสารอินทรีย์จากน้ำเสียของการผลิตไบโอดีเซลโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงกึ่งตัวนำแบบคู่ควบ, ณภัทร ชื่นอังกูร Jan 2019

การผลิตไฮโดรเจนพร้อมกับการสลายสารอินทรีย์จากน้ำเสียของการผลิตไบโอดีเซลโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงกึ่งตัวนำแบบคู่ควบ, ณภัทร ชื่นอังกูร

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้ศึกษากัมมันตภาพในการผลิตไฮโดรเจนพร้อมกับการสลายสารอินทรีย์จากน้ำเสียของการผลิตไบโอดีเซลโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงกึ่งตัวนำแบบคู่ควบ ตัวแปรที่ศึกษา คือ ชนิดและปริมาณของตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงกึ่งตัวนำแบบคู่ควบ (Bi₂O₃ Nb₂O₅ และ WO₃) และความเข้มข้นของ H₂O₂ (0.1 - 0.7 โมลต่อลิตร) พบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงกึ่งตัวนำแบบคู่ควบ Bi₂O₃/TiO₂ ที่ร้อยละ 5 โดยโมล สามารถผลิตไฮโดรเจนได้มากที่สุด (948 ไมโครโมลต่อชั่วโมง) ในขณะที่ตัวเร่งปฏิกิริยา WO₃/TiO₂ ที่ร้อยละ 5 โดยโมล สามารถลดค่าซีโอดีในน้ำเสียได้มากที่สุด (ร้อยละ 29.1) เมื่อใช้น้ำเสียที่ผ่านการเจือจาง 3.3 เท่า ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสง 4 กรัมต่อลิตร ความเข้มแสง 5.93 มิลลิวัตต์ต่อตารางเซนติเมตร ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิห้อง) เป็นเวลา 4 ชั่วโมง และพบว่าการใช้ H₂O₂ ร่วมกับตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงกึ่งตัวนำแบบคู่ควบทำให้สามารถผลิตไฮโดรเจนพร้อมกับการสลายสารอินทรีย์ได้มากขึ้น โดยการใช้ H₂O₂ เข้มข้น 0.3 โมลต่อลิตร ร่วมกับตัวเร่งปฏิริยา Bi₂O₃/TiO₂ ที่ร้อยละ 5 โดยโมล สามารถผลิตไฮโดรเจนได้ 6,316 ไมโครโมลต่อชั่วโมง ลดซีโอดีได้ร้อยละ 28.7 ลดน้ำมันและไขมันได้ร้อยละ 20.0 และสีของน้ำเสียที่ผ่านกระบวนการมีความเข้มเพียง 15 หน่วยแพลทินัม-โคบอลต์


มีเทนเนชันของคาร์บอนไดออกไซด์โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาฐานนิกเกิลบนตัวรองรับอะลูมินาเตรียมโดยแม่แบบไคโตซาน, ณัฐฐินันท์ แพงจีน Jan 2019

มีเทนเนชันของคาร์บอนไดออกไซด์โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาฐานนิกเกิลบนตัวรองรับอะลูมินาเตรียมโดยแม่แบบไคโตซาน, ณัฐฐินันท์ แพงจีน

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ปฏิกิริยามีเทนเนชันของคาร์บอนไดออกไซด์เป็นหนึ่งวิธีการเปลี่ยนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ไปเป็นแก๊สมีเทนภายใต้ภาวะบรรยากาศ แต่ข้อจำกัดด้านการเลือกเกิดมีเทนที่อุณหภูมิต่ำจึงได้พัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น งานวิจัยนี้ใช้ไคโตซานเพื่อเป็นแม่แบบสำหรับการสังเคราะห์ตัวรองรับอะลูมินาด้วยวิธีโซล-เจลซึ่งจะเป็นตัวรองรับให้แก่ตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิล และวิเคราะห์คุณลักษณะเฉพาะของตัวเร่งปฏิกิริยาด้วยเทคนิค XRD, TGA, N2 physisorption, CHN analysis, H2-TPR และ NH3-TPD พบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาที่เตรียมได้มีพื้นที่ผิวจำเพาะสูงและมีความสามารถการถูกรีดิวซ์ที่อุณหภูมิต่ำ จากนั้นศึกษาความสามารถการเกิดปฏิกิริยาโดยรายงานผลในรูปของร้อยละการเปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์และร้อยละการเลือกเกิดมีเทน เมื่อโหลดนิกเกิลที่ร้อยละ 10 โดยน้ำหนัก บนตัวรองรับอะลูมินาที่เตรียมในสารละลายทั้งสองที่ความเข้มข้น 7 โมลาร์ พบว่าการเตรียมในสารละลายแอมโมเนียมไฮดรอกไซด์มีความว่องไวต่อการเกิดปฏิกิริยามากกว่า เมื่อเปลี่ยนระดับการโหลดนิกเกิลจากร้อยละ 0 ถึง 14 โดยน้ำหนัก บนตัวรองรับอะลูมินาที่เตรียมในสารละลายแอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้น 7 โมลาร์ พบว่าตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลที่ร้อยละ 10 โดยน้ำหนัก แสดงความสามารถการเกิดปฏิกิริยาสูงกว่าชนิดอื่น โดยให้ร้อยละการเปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์และร้อยละการเลือกเกิดมีเทน 69.5 และ 97.4 อุณหภูมิ 350 องศาเซลเซียส ตามลำดับ ผลการเตรียมตัวรองรับอะลูมินาในสารละลายแอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ที่ความเข้มข้น 3 5 และ 7 โมลาร์ เมื่อโหลดนิกเกิลที่ร้อยละ 10 โดยน้ำหนัก การเตรียมที่ 3 โมลาร์ แสดงความสามารถการเกิดปฏิกิริยาสูงกว่าเนื่องจากมีพื้นที่จำเพาะสูงกว่า การเติมตัวสนับสนุนซีเรียมออกไซด์ร้อยละ 10 โดยน้ำหนักช่วยกระตุ้นให้ค่าการเปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์และค่าการเลือกเกิดมีเทนเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 86.7 และ 99.5 ที่อุณหภูมิ 325 องศาเซลเซียส ตามลำดับ โดยมีเสถียรภาพตลอดช่วงการทดลอง 24 ชั่วโมง


การเปลี่ยนปาล์มโอเลอินเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพสำหรับอากาศยานบนนิกเกิลที่รองรับด้วยซีโอไลต์ชนิดบีตาและเอชวาย, ธนวัฒน์ สุขอนันต์ Jan 2019

การเปลี่ยนปาล์มโอเลอินเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพสำหรับอากาศยานบนนิกเกิลที่รองรับด้วยซีโอไลต์ชนิดบีตาและเอชวาย, ธนวัฒน์ สุขอนันต์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้สนใจศึกษาการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพสำหรับอากาศยานที่มีเสถียรภาพในการทำปฏิกิริยากับออกซิเจน เพิ่มปริมาณโซ่กิ่ง โซ่ตรง และลดปริมาณอะโรมาติก จากปาล์มโอเลอินบนนิกเกิลที่รองรับด้วยซีโอไลต์ชนิดบีตาและเอชวาย ตัวแปรที่ศึกษาประกอบด้วย อุณหภูมิ 430 - 460 องศาเซลเซียส ปริมาณนิกเกิล ร้อยละ 0 – 15 โดยน้ำหนัก ความดันบรรยากาศไฮโดรเจนเริ่มต้น 0 – 10 บาร์ และน้ำหนักตัวเร่งปฏิกิริยา ร้อยละ 0 – 5 โดยน้ำหนัก ที่เวลาในการทดลอง 5 ชั่วโมง ภาวะที่เหมาะสมต่อการเกิดปฏิกิริยาแครกกิง ดีออกซิจีเนชั่น และไอโซเมอไรเซชั่นต่อการเกิดน้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพสำหรับอากาศยาน คือ อุณหภูมิ 430 องศาเซลเซียส ที่ความดันไฮโดรเจนเริ่มต้น 10 บาร์ โดยใช้นิกเกิล ร้อยละ 5 โดยน้ำหนักบนซีโอไลต์ชนิดเอชวาย ปริมาณร้อยละ 5 โดยน้ำหนักเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เป็นเวลา 5 ชั่วโมง โดยให้ร้อยละผลได้ของผลิตภัณฑ์น้ำมัน 63 ร้อยละผลได้ของแก๊ส 30 และร้อยละผลได้ของของแข็ง 7 โดยน้ำหนัก ซึ่งองค์ประกอบของผลิตภัณฑ์น้ำมันที่ได้มีร้อยละผลได้ของน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับอากาศยานร้อยละ 56 แก๊สโซลีนร้อยละ 28 ดีเซลร้อยละ13 และกากน้ำมันร้อยละ3 โดยการเลือกสรรของผลิตภัณฑ์น้ำมันเป็นดังนี้ ไฮโดรคาร์บอนโซ่ตรงร้อยละ 58 อะโรมาติกร้อยละ 23 และโซ่กิ่งร้อยละ 19 ตามลำดับ


เชื้อเพลิงเหลวสัดส่วนเบาโดยไพโรไลซิสนํ้ามันจากทะลายปาล์มเปล่าโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาผสม, สุดาพร สุนทร Jan 2019

เชื้อเพลิงเหลวสัดส่วนเบาโดยไพโรไลซิสนํ้ามันจากทะลายปาล์มเปล่าโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาผสม, สุดาพร สุนทร

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการผลิตเชื้อเพลิงเหลวสัดส่วนเบา (C5-C15) โดยไพโรไลซิสน้ำมันจากทะลายปาล์มเปล่าโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาผสมในเครื่องปฏิกรณ์แบบแบตช์ ตัวเร่งปฏิกิริยาที่ใช้ประกอบด้วย แมกนีเซียมออกไซด์และถ่านกัมมันต์ที่ผสมกันในอัตราส่วน 1 ต่อ 1 และนำมาผสมกับ 10% นิกเกิลบนตัวรองรับซีโอไลต์ HY ทำการทดลองเพื่อหาภาวะที่เหมาะสมที่ทำให้ได้ผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิงเหลวที่มีสัดส่วนเบามากที่สุด โดยการออกแบบการทดลองเชิงแฟกทอเรียลแบบ 2 ระดับ (2K factorial design) มีตัวแปรที่ทำการศึกษา คือ อุณหภูมิที่ใช้ในการทดลอง 420-450 องศาเซลเซียส เวลาที่ใช้ในการทดลอง 30-60 นาที ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาผสมร้อยละ 1-5 โดยน้ำหนัก และอัตราส่วนระหว่างแมกนีเซียมออกไซด์ที่ผสมกับถ่านกัมมันต์ และ10% นิกเกิลบนตัวรองรับซีโอไลต์ HY คือ 70 ต่อ 30 และ 30 ต่อ 70 เมื่อนำผลการทดลองที่ได้ไปวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม Design-Expert พบว่า ภาวะที่เหมาะสมคือ อุณหภูมิในการทำปฏิกิริยา 449.99 องศาเซลเซียส เวลาในการทำปฏิกิริยา 30 นาที ตัวเร่งปฏิกิริยาผสมร้อยละ 1 โดยน้ำหนัก อัตราส่วนระหว่างแมกนีเซียมออกไซด์ที่ผสมกับถ่านกัมมันต์ และ10% นิกเกิลบนตัวรองรับซีโอไลต์ HY คือ 32.51 ต่อ 67.49 จะได้ผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิงเหลวร้อยละ 69.50 และร้อยละผลได้ของเชื้อเพลิงเหลวสัดส่วนเบา 64.17 โดยน้ำหนัก ผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิงเหลวที่ได้ มีองค์ประกอบของคาร์บอนร้อยละ 84.93 ไฮโดรเจนร้อยละ 12.57 และออกซิเจนร้อยละ 2.51 ตรวจไม่พบค่าความเป็นกรดและมีค่าความร้อนเท่ากับ 42.50 เมกะจูลต่อกิโลกรัม


Molecular Dynamics Simulations Of M2 Channel In Phospholipid Bilayers With Different Thickness, Channarong Khrutto Jan 2019

Molecular Dynamics Simulations Of M2 Channel In Phospholipid Bilayers With Different Thickness, Channarong Khrutto

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Two previous studies showed that M2 channel, a viral protein plays important role in replication of influenza virus, had different conformation after phospholipid bilayers thickness by using site-directed spin-label EPR spectroscopy (SDSL/EPR), one study, the M2 was spin-labeled on N-terminal amino acid residues, another one the M2 was spin-labeled on the C-terminal amino acid residues. Both studies supported each another. The more thickness phospholipid bilayer is the higher spin coupling value. It can be concluded that the conformation of M2 channel depends on phospholipid bilayer thickness. Data got from this technique is ambiguous, spin-spin coupling cannot be distinguishable, diagonal distance …


Synthesis And Electropolymerization Of Phthalocyanine Derivatives For Electrochemical Reduction Of Carbon Dioxide, Jirapong Luangchaiyaporn Jan 2019

Synthesis And Electropolymerization Of Phthalocyanine Derivatives For Electrochemical Reduction Of Carbon Dioxide, Jirapong Luangchaiyaporn

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

This research describes synthesis and electrochemical polymerization of novel bithiophenyl-substituted phthalocyanines in order to get polymeric films that have electrocatalytic activities towards reduction of carbon dioxide (CO2). The target phthalocyanine monomers are synthesized by a two-step procedure including Suzuki reaction and cyclization of the resulting phthalonitrile. After that, electropolymerization of the target monomers on an indium tin oxide-coated glasses or carbon papers is performed by a cyclic voltammetry technique. The resulting polymer films are characterized by various spectroscopic methods. Catalytic performance towards the electrochemical reduction of CO2 of these polymers is investigated by the cyclic voltammetry and controlled potential electrolysis …


Synthesis And Development Of Nanocomposites Of Magnetic Nanoparticles-Silica-Mannan As Vaccine Adjuvants, Kamonlatth Rodponthukwaji Jan 2019

Synthesis And Development Of Nanocomposites Of Magnetic Nanoparticles-Silica-Mannan As Vaccine Adjuvants, Kamonlatth Rodponthukwaji

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Over the past years, vaccination has been considered as an effective treatment against a wide range of pathogens and diseases. Despite a promising outcome, the lack of strong immune response of some types of vaccines is still challenging. Therefore, targeting and activating dendritic cells (DCs) using nanomaterial-based vaccine adjuvant is of our interest. Herein, superparamagnetic iron oxide nanoparticles (SPIONs) have been exploited as directing agents to the targeted dendritic cells (DCs). In addition, mannan extracted from Saccharomyces cerevisiae was used as targeting molecules for targeting DCs. Nanocomposites of silica-magnetic nanoparticles-mannan (S-SPION-MN) were successfully fabricated. The synthesized particles were morphologically and …


Development Of Portable Electrochemical Sensors For Determination Of Heavy Metals, Nitrogen Oxides And Thiocyanate Ion, Kingkan Pungjunun Jan 2019

Development Of Portable Electrochemical Sensors For Determination Of Heavy Metals, Nitrogen Oxides And Thiocyanate Ion, Kingkan Pungjunun

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

This dissertation focused on the development of portable electrochemical sensors using the paper-based analytical device (ePAD) for the determination of the important compounds/biomarkers in various applications. Considering the target applications, this dissertation can be divided into three main parts including food safety application, environmental analysis and clinical application, respectively. In the first part, two sub-sections relating to the detection of heavy metals contaminated in food will be discussed. For the first sub-section, an ePAD coupled with a boron-doped diamond electrode was developed for the determination of total arsenic. The device was performed using the origami paper device for the preparation …


Paper-Based Arrays For Geographical Indication Of Turmerics, Monrawat Rauytanapanit Jan 2019

Paper-Based Arrays For Geographical Indication Of Turmerics, Monrawat Rauytanapanit

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Geographical indications have gained increasing importance as a powerful marketing tool for highly valuable products especially foods. In this study, a synergistic combination of chemical reaction arrays on paper and chemometric analysis was used to uncover geographical indication of turmerics, an important food ingredient in several Asian cuisines. The key to effective differentiation was from the subtle differences in the compositions of the compounds found in turmeric samples, mainly curcumin and derivatives which were preliminarily confirmed by HPLC and LC-MS experiments. In addition, the differences in the major and minor components affect the reactivity and the pattern of obtained products …


Visualization Of Vibrational Spectra Based On Expanded Moment Of Inertia Tensor, Napat Sitthimonchai Jan 2019

Visualization Of Vibrational Spectra Based On Expanded Moment Of Inertia Tensor, Napat Sitthimonchai

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Expanded Moment of Inertia Tensor (EMIT) is a non-Hessian-based method to evaluate a set of the normal coordinates, utilizing to calculate vibrational spectra from the molecular dynamics simulation data. Unlike the traditional moment of inertia tensor, the EMIT method constructs an atomic moment of inertia tensor situated on an individual atom in the molecule. Unfortunately, the results obtained from EMITare too complicated to visualize by naked eyes, a user-friendly visualization program is needed. In this work, we have developed a program called “EMIT Studio”, written in C++ and OpenGL Library, to visualize atomic displacement vectors, molecular normal modes, and vibrational …


Chemical Constituents And Antibacterial Activity Of Rhizomes From Globba Schomburgkii Hook.F., Naruemon Suekaew Jan 2019

Chemical Constituents And Antibacterial Activity Of Rhizomes From Globba Schomburgkii Hook.F., Naruemon Suekaew

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Globba schomburgkii Hook.f. rhizomes were extracted with dichloromethane and fractionated using column chromatography to obtain 10 fractions (FA-FJ). The most active fractions, FE and FG, were further fractionated to give seven and thirteen sub-fractions, respectively. The fractions and sub-fractions were tested for antibacterial activity using 96-well plate microdilution method. The antibacterial activity of several sub-fractions (such as FE.B, FE.C, FE.D, FG.D, FG.G, and FG.H) were higher than that of the crude extract. Chemical compositions of all fractions and sub-fractions were analyzed by gas chromatography hyphenated with mass spectrometry (GC-MS), revealing 167 compounds identified according to match between the experimental MS …


Chemometric Method To Enhance Sensitivity And Selectivity For Surface Enhanced Raman Scattering Technique, Nontawat Sricharoen Jan 2019

Chemometric Method To Enhance Sensitivity And Selectivity For Surface Enhanced Raman Scattering Technique, Nontawat Sricharoen

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The multivariate curve resolution-alternative least square (MCR-ALS) algorithm was modified with sample insertion constraint. This developed method was proposedly used to deconvolute the overlapping signals in Surface enhance Raman attering (SERS) measurement. The developed method was elucidated with the spectral data simulated by using Gaussian distribution function to generate two independent peaks which correspond to capping agent and analyte, respectively. The spectrum of the two peaks was generated with different overlapping levels (RS = 0 – 1.50) and concentration ratio of analyte and capping agent concentration at 0.01 – 1.00. In MCR-ALS with sample insertion constraint, the number of capping …


Chemical Constituents From The Roots Of Cratoxylum Cochinchinense, Peeravat Natrsanga Jan 2019

Chemical Constituents From The Roots Of Cratoxylum Cochinchinense, Peeravat Natrsanga

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The phytochemical investigation of the CH2Cl2 extract from the roots of Cratoxylum cochinchinense led to the isolation of four new xanthone derivatives, namely cratochinone A-D (1-4), along with sixteen known xanthones (5-20). Their structures were characterized by spectroscopic methods, especially spectroscopic data (1D and 2D NMR) as well as comparison with those reported in the literature for known xanthones. Moreover, all isolated compounds were evaluated for their cytotoxicity against five human cancer cell lines (KB, HeLa S-3, HT-29, MCF-7 and Hep G2 cell lines). Compounds 2, 7, and 9 showed significant cytotoxic effects against all cell lines with IC₅₀ values …


การเตรียมโคบอลต์-ซีเรียมออกไซด์บนผิวแมกซีน/แกรฟีนเจือไนโตรเจนและซัลเฟอร์เพื่อเป็นขั้วไฟฟ้าตัวเก็บประจุยิ่งยวด, กันตพัฒน์ ตรีพิริยะมงคล Jan 2019

การเตรียมโคบอลต์-ซีเรียมออกไซด์บนผิวแมกซีน/แกรฟีนเจือไนโตรเจนและซัลเฟอร์เพื่อเป็นขั้วไฟฟ้าตัวเก็บประจุยิ่งยวด, กันตพัฒน์ ตรีพิริยะมงคล

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาวัสดุสำหรับตัวเก็บประจุยิ่งยวดที่มีประสิทธิภาพสูงจากการทำงานร่วมกันของวัสดุโคบอลต์-ซีเรียมออกไซด์บนวัสดุขั้วไฟฟ้านิกเกิลโฟมที่ผ่านการปรับปรุงผิวด้วยแมกซีน/แกรฟีนเจือไนโตรเจนและซัลเฟอร์ โดยวัสดุปรับปรุงผิวแมกซีนถูกสังเคราะห์จากกระบวนการสกัดอลูมิเนียมออกจากไทเทเนียมอลูมิเนียมคาร์ไบด์ ทำให้เกิดเป็นแมกซีนที่มีโครงสร้างระนาบชั้นสองมิติ และทำการเพิ่มระยะห่างของระนาบแมกซีนด้วยแช่ในสารละลายไดเมทิลซัลฟอกไซด์ และทำการแทรกแกรฟีนเจือไนโตรเจนและซัลเฟอร์ระหว่างระนาบแมกซีนเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการกลับมารวมตัวกันใหม่ โดยแกรฟีนเจือไนโตรเจนและซัลเฟอร์ถูกสังเคราะห์จากกระบวนการรีฟลักซ์แกรฟีนด้วยสารไทโอยูเรียที่เป็นแหล่งให้ธาตุไนโตรเจนและซัลเฟอร์ จากนั้นทำเตรียมขั้วไฟฟ้าด้วยกระบวนการหล่อหยดแมกซีน/แกรฟีนเจือไนโตรเจนและซัลเฟอร์ลงบนนิกเกิลโฟม โดยภาพสัณฐานวิทยาของขั้วไฟฟ้าที่ผ่านการปรับปรุงถูกยืนยันด้วยภาพจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดและการวิเคราะห์ธาตุเชิงพลังงาน นำขั้วที่ผ่านการปรับปรุงมาสังเคราะห์ด้วยกระบวนการทางฝังตัวทางเคมีไฟฟ้าของโคบอลต์ออกไซด์ และโคบอลต์-ซีเรียมออกไซด์ โดยศึกษาถึงระยะเวลาในการสังเคราะห์ด้วยกระบวนการฝังตัวทางเคมีไฟฟ้า และสัดส่วนของโคบอลต์-ซีเรียมออกไซด์ที่เหมาะสมในการให้ค่าการเก็บประจุไฟฟ้าสูงสุด จากการทดสอบสมบัติเคมีไฟฟ้าพบว่าที่สัดส่วนของการเตรียมสารละลายโคบอลต์ไนเตรตต่อซีเรียมไนเตรตที่ความเข้มข้น 0.5 โมลาร์ ในสัดส่วนปริมาตรที่ 90 ต่อ 10 สามารถให้ค่าการเก็บประจุจำเพาะที่สูงถึง 450 F/g ที่กระแสไฟฟ้า 1 แอมป์ต่อกรัม และผลการทดลองชี้ให้เห็นว่าการปรับปรุงผิวขั้วไฟฟ้านิกเกิลโฟมด้วยแมกซีน/แกรฟีนเจือไนโตรเจนและซัลเฟอร์สามารถเพิ่มความจุจำเพาะเมื่อเปรียบเทียบกับขั้วไฟฟ้านิกเกิลโฟมที่ไม่ได้ผ่านการปรับปรุง โดยผลรายงานวัสดุผสมที่พัฒนาขึ้นนี้สามารถนำไปประยุกต์เป็นอุปกรณ์ตัวเก็บประจุยิ่งยวดที่มีประสิทธิภาพสูงได้


การผลิตน้ำมันชีวภาพจากไพโรไลซิสของไม้ยางพาราและเหง้ามันสำปะหลังโดยใช้นิกเกิลโดโลไมต์ในเครื่องปฏิกรณ์เบดนิ่ง, กิตติเดช ประเสริฐทวีพร Jan 2019

การผลิตน้ำมันชีวภาพจากไพโรไลซิสของไม้ยางพาราและเหง้ามันสำปะหลังโดยใช้นิกเกิลโดโลไมต์ในเครื่องปฏิกรณ์เบดนิ่ง, กิตติเดช ประเสริฐทวีพร

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

กระบวนการผลิตน้ำมันชีวภาพจากการไพโรซิสของไม้ยางพาราและเหง้ามันสำปะหลังในเครื่องปฏิกรณ์เบดนิ่ง ถูกใช้ในการศึกษาหาภาวะดำเนินการที่เหมาะสมเพื่อให้ได้ปริมาณผลได้ที่ดีที่สุดสำหรับน้ำมันชีวภาพ จากการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา ตัวอย่างเช่น FCC, โดโลไมต์ และนิกเกิลโดโลไมต์ โดยทดลองในเครื่องปฏิกรณ์เบดนิ่ง มีปัจจัยต่างๆประกอบด้วย ขนาดอนุภาคตั้งแต่ 0.250-2.000 มิลลิเมตร อุณหภูมิ 400-600 องศาเซลเซียส เวลาที่ 45-90 นาที และ อัตราการไหลไนโตรเจนที่ 60-180 มิลลิลิตรต่อนาที ผลการศึกษาพบว่าภาวะดำเนินการที่ดีที่สุดคือ ขนาดอนุภาคเฉลี่ยที่ 0.355-0.710 มิลลิเมตร และ 0.850-2.000 มิลลิเมตร ตามลำดับ ที่อุณหภูมิ 500 องศาเซลเซียส เวลาในการทำปฏิกิริยา 45 นาที และอัตราการไหลของแก๊สไนโตรเจนที่ 60 มิลลิลิตรต่อนาที ซึ่งภาวะดำเนินการดังกล่าวให้ปริมาณร้อยละผลได้ของน้ำมันชีวภาพร้อยละ 39.48 และ 40.39 ของไม้ยางพาราและเหง้ามันสำปะหลังตามลำดับ ซึ่งเมื่อศึกษาอิทธิพลของตัวเร่งปฏิกิริยาในกระบวนการไพโรไรซิสพบว่าปริมาณน้ำมันชีวะภาพลดลงเมื่อตัวเร่งปฏิกิริยาถูกเติมเข้าไปในระบบ ในขณะที่ร้อยละผลได้ของปริมาณแก๊สเพิ่มขึ้นแก๊สสูงสุดโดยวัดได้ที่ร้อยละ 39.30 และ 33.37 ของไม้ยางพาราและเหง้ามันสำปะหลังตามลำดับ นอกจากนี้พบว่าในน้ำมันชีวภาพมีองค์ประกอบหลักคือ แอลเคน อะโรมาติก สารประกอบไนโตรเจเนต และสารประกอบออกซิเจเนต ในขณะที่แก๊สมีองค์ประกอบของแก๊สมีเทน เป็นองค์ประกอบหลัก


Density Functional Theory Study Of Aldol Condensation Between Furfural And 2-Butanone Over Magnesium Oxide, Wilasinee Heebnak Jan 2019

Density Functional Theory Study Of Aldol Condensation Between Furfural And 2-Butanone Over Magnesium Oxide, Wilasinee Heebnak

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Understanding of mechanistic and thermodynamic insights of the aldol condensation reaction is crucial to efficient catalytic conversion of biomass-derived oxygenates to fuel-range hydrocarbons. In this study, the aldol condensation of furfural and 2-butanone on magnesium oxide (MgO) catalyst was investigated using density functional theory (DFT) calculations. Energy profiles were computed for elementary steps, including Step 1: Formation of 2-butanone enolate, Step 2: Enolate addition at the carbonyl group of adsorbed furfural, and Step 3: Dehydration to form the condensation product. The DFT results showed that the enolization of 2-butanone was the rate-determining step. The methyl enolate can bind to MgO …


Thread Based Wearable Electrochemical Sensor For Uric Acid Detection, Kanyapat Teekayupak Jan 2019

Thread Based Wearable Electrochemical Sensor For Uric Acid Detection, Kanyapat Teekayupak

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Novel cotton thread-based electrochemical sensor was successfully fabricated for a non-invasive and non-enzymatic detection of uric acid (UA), a biomarker of gout disease. In this work, the working electrode was prepared by coating a carbon ink on the cotton thread to create the conductive property, followed by electrode modification using gold nanoparticles (AuNPs) to increase electrode surface area and conductivity. The morphologies of the modified electrode were characterized by scanning electron microscopy (SEM) with energy dispersive X-rays spectroscopy (EDX), confirming that AuNPs were modified on the electrode surface and the surface area of the modified electrode increased. The electrochemical characteristics …


Flexible Sers Substrate Fabricated From Gold Nanostar, Piboonwan Insiti Jan 2019

Flexible Sers Substrate Fabricated From Gold Nanostar, Piboonwan Insiti

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

In this work, a one-pot protocol for the fabrication of surface-enhanced Raman scattering (SERS) substrate has been developed. It consists of quasi-spherical gold nanoparticles (AuQNPs) uniformly which is deposited on a disk paper substrate (5-mm in diameter). The disk of filter paper surface was coated by bacterial cellulose nanocrystal (BCNC). The BCNC smoothed the surface by forming thin nanopaper film upon drying while filling the gap between fibers. AuQNPs was directly synthesized on the surface of BCNC film via seed-growth method. The BCNC film with abundant hydroxyl groups became anchor points for AuNPs which help to create uniform distribution of …


Development Of Green Methods For Synthesis Of 2-Aminobenzoxazoles From Organosulfurs, Theeranon Tankam Jan 2019

Development Of Green Methods For Synthesis Of 2-Aminobenzoxazoles From Organosulfurs, Theeranon Tankam

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

2-aminobenzoxazoles are an important motif in pharmaceutical and chemical industries, however, their preparations involve the use of toxic reagents and organic solvents. Therefore, greener methods for preparation of 2-aminobenzoxazoles are highly desired. In this work, we demonstrate two novel methodologies for synthesis of 2-aminobenzoxazoles in aqueous media. The first method involves the use of "on water" microwave reaction to perform the amination of 2-mercaptobenzoxazoles into 2-aminobenzoxazoles. Various 2-aminobenzoxazoles are synthesized under additive-free condition accelerating by microwave irradiation at 100 oC for 1 hour in moderate to good yields. This synthesis can be applied to prepare 2-aminobenzoxazole in gram scale quantity. …