Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Medicine and Health Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Chulalongkorn University

1986

Veterinary Medicine

Articles 1 - 23 of 23

Full-Text Articles in Medicine and Health Sciences

Light And Scanning Electron Microscopic Study Of Lesion In Gills Of Snakehead Fish (Ophicephalus Straitus) In Recent Massive Outbreak Of Fish Disease In Thailand, Somphong Sahaphong, Rungtiva Kongkanuntn, Thanarat Thongtong, Subhkij Angsubhakorn, Prasert Sobhon, Thanit Koosamran, Kriengsak Saitanu Dec 1986

Light And Scanning Electron Microscopic Study Of Lesion In Gills Of Snakehead Fish (Ophicephalus Straitus) In Recent Massive Outbreak Of Fish Disease In Thailand, Somphong Sahaphong, Rungtiva Kongkanuntn, Thanarat Thongtong, Subhkij Angsubhakorn, Prasert Sobhon, Thanit Koosamran, Kriengsak Saitanu

The Thai Journal of Veterinary Medicine

Gill lamellae from the snakehead fish (Ophicephalus striatus) in recent massive outbreak of fish disease in Thailand were studied by light and scanning electron microscopy. The pathological findings were non-specific and were not suggestive of any causative organism or agent. Bacteria, fungi and protozoa were not identified. Apart from frank necrosis in some area of the gill lamellae, swelling of the covering epithelial cells as evidenced by bulging of the cell surface, distortion and reduction of the microvilli and ridges and complete loss of the microvilli and ridges, was a constant finding. The authors reported these findings in order to …


รายงานเบื้องต้นเกี่ยวกับน้ำเชื้อพ่อแพะและพ่อแกะแช่แข็ง, วิชัย ชนาธินาถ, บุญญวัฒน์ สนิทวงศ์ฯ, วีระ ผดุงวัย, ระพีพรรณ เอื้อเวชนิชกุล, วันชัย เมืองสมบูรณ์กุล, สมชาย มาดหมาย, ปาริฉัตร สุขโต Dec 1986

รายงานเบื้องต้นเกี่ยวกับน้ำเชื้อพ่อแพะและพ่อแกะแช่แข็ง, วิชัย ชนาธินาถ, บุญญวัฒน์ สนิทวงศ์ฯ, วีระ ผดุงวัย, ระพีพรรณ เอื้อเวชนิชกุล, วันชัย เมืองสมบูรณ์กุล, สมชาย มาดหมาย, ปาริฉัตร สุขโต

The Thai Journal of Veterinary Medicine

การทดลองครั้งนี้เป็นการทดลองขั้นพื้นฐาน เพื่อทดสอบหาความเป็นไปได้ในการ ผลิตน้ำเชื้อแพะและแกะแช่แข็ง โดยวิธีเดียวกันกับการแช่แข็งน้ำเชื้อโค ซึ่งผลิตที่ศูนย์ผสมเทียม กรมปศุสัตว์ จังหวัดปทุมธานี ทําการรีดเก็บน้ำเชื้อพ่อและพันธุ์ผสม 2 ตัวโดยใช้ เอ.วี. รวม 20 ejaculates และพ่อแกะ 2 ตัว รวม 15 ejaculates นำน้ำเชื้อที่รีดเก็บได้แต่ละครั้ง มาศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับปริมาตร ความเข้มข้น การเคลื่อนไหวหมู่ (mass activity) การเคลื่อนไหวของตัวอจิ (motility) แล้วเจือจางด้วยน้ำยาละลายไข่แดงทริส (Egg Yolk Tris) คํานวณให้มีปริมาณของตัวอสุจิ 200 ล้านตัวต่อปริมาตร 0.25 ลบ.ซม. แล้ว ทําการแช่แข็งโดยวิธีเดียวกันกับการแช่แข็งน้ำเชื้อโค จากการทดลองพบว่า น้ำเชื้อพ่อแพะและ แกะที่รีดเก็บได้มีปริมาตรเฉลี่ย 0.98 ± 0.31 ลบ.ซม. และ 0.78 ± 0.26 ลบ.ม. ความเข้มข้นของน้ำเชื้อเฉลี่ย 3,679 ± 1,061 x 10 ตัว/ลบ.ซม. และ 4,242 ± 885 x 106 ตัว/ลบ.ซม., เปอร์เซนต์การเคลื่อนไหวของตัวอสุจิจากน้ำเชื้อที่รีดเก็บได้ (initial motility) เฉลี่ย 82.0 ± 9.0% และ 87.66 ± 5.3% เปอร์เซนต์การ เคลื่อนไหวของตัวอสุจิน้ำเชื้อแช่แข็งที่ละลายแล้ว (post thaw motility) เฉลี่ย 46.25 ± 11.0% และ 46.35 ± 8.3% จากการศึกษาครั้งนี้สรุปได้ว่า น้ำเชื้อพ่อแพะและพ่อแกะสามารถผลิตเป็นน้ำเชื้อแช่แข็งได้ โดยใช้วิธีเดียวกันกับการผลิตน้ำเชื้อแช่แข็งโค ซึ่งคุณภาพจากการตรวจทางห้อง ปฏิบัติการได้มาตรฐานอยู่ในเกณฑ์ดีสามารถนำไปใช้ผสมเทียมได้


Canine Rabies In Thailand, Sonkram Luangtongkum Dec 1986

Canine Rabies In Thailand, Sonkram Luangtongkum

The Thai Journal of Veterinary Medicine

The dog plays an important role in the prevalence of rabies in Thailand. It has accounted for 90-93 percent of all animal brain submitted for rabies diagnosis each year. Futhermore, canine rabies represents about 95 per cent of all diagnosed animal rabies. The dog is also the primary source of rabies infection in human; 97.87 per cent of human deaths due to rabies are caused by rabid dogs. Biting by rabid dogs is the main route of rabies infection in both humans and animals. All supporting data available were collected and tabulated. The evidence indicates that the dog is the …


การเพิ่มการตกไข่ในกระต่าย, มงคล เตชะกำพุ Dec 1986

การเพิ่มการตกไข่ในกระต่าย, มงคล เตชะกำพุ

The Thai Journal of Veterinary Medicine

กระต่ายพันธุ์นิวซีแลนด์ และ คาลิฟอร์เนีย จำนวนทั้งหมด 125 ตัว ได้รับการ กระตุ้นให้เพิ่มจำนวนการตกไข่ต่อตัวโดยใช้ follicular stimulating hormone (FSH) จำนวน 2.0 มก. ร่วมกับ luteinizing hormone (LH) จำนวน 0.33 มก. อัตราการ ตกไข่ การเก็บไข่และคัพภะปกติได้ถูกเปรียบเทียบในกลุ่มการทดลอง 4 กลุ่ม คือ 24, 48, 65 และ 96 h.pc. (ชม. หลังผสม) โดยพบว่ากลุ่ม 65 h.pc. มีจำนวนการตกไข่น้อยกว่า กลุ่มอื่น ๆ (P < 0.01) และยังพบว่าการเพิ่มการตกไข่ โดยการใช้ฮอร์โมน FSH-LH มีผล เสียในลดจำนวนเปอร์เซ็นต์การเก็บไข่และคัพภะปกติ (P < 0.01) ในกลุ่ม 96 h.pc. เมื่อ เทียบกับกลุ่ม 24 h.pc.


สมรรถนะของทุ่งหญ้าผสมพืชตระกูลถั่วทุ่งหญ้ามอริชัสและเซนโตรซีม่า, จินดา สนิทวงศ์ฯ, พัชรินทร์ จินกล่ำ, อรรถยา เกียรติสุนทร, ชาญชัย มณีดุลย์, ประเสริฐ โพธิ์จันทร์, เพ็ญศรี ศรประสิทธิ์, พรเพ็ญ ผดุงศักดิ์ Dec 1986

สมรรถนะของทุ่งหญ้าผสมพืชตระกูลถั่วทุ่งหญ้ามอริชัสและเซนโตรซีม่า, จินดา สนิทวงศ์ฯ, พัชรินทร์ จินกล่ำ, อรรถยา เกียรติสุนทร, ชาญชัย มณีดุลย์, ประเสริฐ โพธิ์จันทร์, เพ็ญศรี ศรประสิทธิ์, พรเพ็ญ ผดุงศักดิ์

The Thai Journal of Veterinary Medicine

การหาสมรรถนะของทุ่งหญ้ามอสผสมถั่วเป็นโตรซีม่า โดยใช้พื้นที่ 15, 20 และ 25 ไร่ ใช้ระบบการหมุนเวียนแปลงหญ้าภายใต้สภาวะธรรมชาติ ระยะเวลาของการ ทดลอง 18 เดือน โดยใช้พื้นที่แปลงหญ้า เป็นอัตราส่วนของพื้นที่ต่อจำนวนโคเท่ากับ 3, 4 และ 5 ไร่/ตัว ตามลำดับ ปรากฏว่าโคทดลองทุกตัวมีน้ําหนักเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยตลอดการทดลอง เท่ากับ 0.43, 0.51 และ 0.53 กก./ตัว/วัน ในการใช้พื้นที่ 3, 4 และ 5 ไร่ ตัว ตาม ลำดับ หรือน้ำหนักที่เพิ่มต่อไร่ต่อปีเท่ากับ 47.6, 43.95 และ 38.04 กก. ผลผลิตของหญ้ามอสผสมถั่วเซนโตรซีม่าหลังการทดลองจะมีปริมาณลดลงจากผลผลิตของหญ้าและถั่วก่อน การทดลองมาก ส่วนการวิเคราะห์ทางเคมีนั้นเกือบไม่แตกต่างกัน สภาพการฟื้นตัวของหญ้าและถั่ว สำหรับการใช้พื้นที่ 3ไร่/ตัว การฟื้นตัวของหญ้าไม่ทันกับการแทะเล็มของสัตว์ สภาพแปลงหญ้าโทรมมาก หญ้าและถั่วตายเกือบไม่มีหญ้าเหลือและมีวัชพืชขึ้นหนาแน่น การใช้พื้นที่ 4 ไร่/ตัว การฟื้นตัวของหญ้าและถั่วในระบบการหมุนเวียนภายใต้สภาวะธรรมชาตินี้พอมีหญ้าและถั่วพื้นตัวได้ทันกับการแทะเล็มของสัตว์ได้ตลอดการทดลอง แปลงหญ้าไม่โทรมมาก และยังสามารถจะใช้ เป็นทุ่งหญ้าต่อไปได้ และสำหรับพื้นที่ 5 ไร่/ตัว นั้น นับว่าเป็นการสูญเสียพื้นที่ไปโดยได้ ประโยชน์เนื่องจากใช้พื้นที่มากเกินไป โคกินหญ้าในแปลงไม่ทัน ทําให้มีส่วนลําต้นของหญ้าเหลือ ยาว ๆ เป็นจำนวนมาก และหญ้าจะเจริญคลุมถั่ว ทําให้ถั่วตาย ส่วนการทดลองทดสอบคุณภาพของหญ้าโดยใช้แกะเป็นสัตว์ทดลองนั้น พบว่ามีค่า อินทรีย์วัตถุย่อยได้เท่ากับ 47.32, 14.90 และ 42.19% และค่าโปรตีนย่อยได้เท่ากับ 3.91, 3.03 และ 3.55% สำหรับการใช้พื้นที่ 3, 4 และ 5 ไร่/ตัว ตามลำดับ


โรค ซี อาร์ ดี ในไก่ 2. แอนติบอดี ต่อเชื้อ มัยโคพลาสม่า กัลลิเซพติคุ่ม ในไก่กระทง, โสมทัต วงศ์สว่าง, เกรียงศักดิ์ สายธนู Dec 1986

โรค ซี อาร์ ดี ในไก่ 2. แอนติบอดี ต่อเชื้อ มัยโคพลาสม่า กัลลิเซพติคุ่ม ในไก่กระทง, โสมทัต วงศ์สว่าง, เกรียงศักดิ์ สายธนู

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ผลการศึกษาหาแอนติบอดี ต่อ มัยโคพลาสม่า กัลลิเซพติคุ่ม โดยวิธีแอ๊คกลูติเนชั่น ในลูกไก่ที่เกิดจากแม่พันธุ์ที่ไม่ได้วัคซีน MG 6 ฟาร์ม และจากแม่พันธุ์ที่ได้รับการฉีดวัคซีน 2 ฟาร์ม ปรากฏว่าตรวจพบแอนติบอดีในลูกไก่ที่เกิดจากแม่พันธุ์จากฟาร์มดังกล่าวข้างบน จำนวน 4 ฟาร์ม (67%) จำนวนลูกไก่ 6 รุ่น และ 2 ฟาร์ม (100%) ตามลำดับ โดยอัตรา การพบแอนติบอดีในลูกไก่อายุ 1 วันที่เกิดจากแม่พันธุ์ที่ไม่ได้ฉีดวัคซีน MG จะผันแปรระหว่าง 29-100% และแอนติบอดีจะหมดไปภายใน 21 วัน ส่วนแอนติบอดีในลูกไก่ที่เกิดจากแม่พันธุ์ที่ ฉีดวัคซีน MG จะแปรผันระหว่าง 42 -100% และแอนติบอดีจะหมดไปภายใน 14 วัน ลูกไก่ที่ตรวจพบแอนติบอดี โดยวิธีแอ็คกลูติเนชั่น จะมี HI titer สูงระหว่าง 80-160 ลูกไก่ที่ไม่สามาถ ลูกไก่ที่ไม่สามารถตรวจพบแอนติบอดีด้วยวิธีดังกล่าว ส่วนใหญ่จะไม่พบแอนติบอดี เมื่อตรวจด้วยวิธี HI เช่นกัน หรือถ้าพบแอนติบอดี ก็จะมีไตเตอร์ต่ำกว่า 40


อดีต ปัจจุบัน และ อนาคต ของเทคโนโลยีย้ายฝากตัวอ่อน (Past, Present And Future Of En=Mbryo Transfer Technology), รังสรรค์ พาลพ่าย Dec 1986

อดีต ปัจจุบัน และ อนาคต ของเทคโนโลยีย้ายฝากตัวอ่อน (Past, Present And Future Of En=Mbryo Transfer Technology), รังสรรค์ พาลพ่าย

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ปัจจุบันเทคโนโลยีย้ายฝากตัวอ่อนได้เข้ามามีบทบาทต่อการเพิ่มผลผลิตในวงการปศุสัตว์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโค, แพะ, แกะ, และม้า เป็นต้น ด้วยเหตุที่การย้ายฝาก ตัวอ่อนสามารถเพิ่มปริมาณและคุณภาพของสัตว์ที่มีคุณสมบัติเป็นเลิศได้ในระยะเวลารวดเร็วที่สุด ในขณะนี้ ฉะนั้นจึงควรพิจารณากันถึงประวัติความเป็นมาของการศึกษาวิจัยการย้ายฝากตัวอ่อน ว่าเริ่มกันมาตั้งแต่เมื่อไร กว่าจะเป็นเทคโนโลยีที่สามารถใช้ได้ดีในปัจจุบันและแนวโน้ม ในอนาคตจะพัฒนาไปอย่างไรบ้าง การย้ายฝากตัวอ่อนมิได้เป็นเทคโนโลยีเริ่มพัฒนากันในปัจจุบันแต่เป็นวิชาการที่ เริ่มต้นกันมาไม่น้อยกว่า 95 ปี มีรายงานการย้ายฝากตัวอ่อนเป็นครั้งแรกของโลกโดย Heape (1890) นักวิทยาศาสตร์ผู้ซึ่งทําการศึกษาวิจัย อยู่เมืองเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ ได้ดูดตัวอ่อนจากกระต่ายตัวให้ แล้วย้ายฝากตัวอ่อนให้กระต่ายตัวรับ (Donor) (Recipient) ในวันที่ 27 เมษายน 2433 ในที่สุดวันที่ 29 พฤษภาคม 2433 กระต่ายตัวรับได้คลอดลูกออก มา 1 ตัว มีสุขภาพสมบูรณ์ปกติ หลังจากนั้น Heape ได้พยายามศึกษาวิจัยต่อมาแต่การทดลอง ส่วนใหญ่ไม่ประสบผลสำเร็จเนื่องจากการตายของตัวรับอันมีสาเหตุมาจากการทําให้กระต่ายสลบโดยใช้คลอโรฟอร์มและกระต่ายไม่สมบูรณ์พันธุ์ อย่างไรก็ตามเขาก็ประสบความสำเร็จอีก ครั้งโดยได้ลูกกระต่ายออกมา 8 ตัว แต่มีเพียง 1 ตัวเท่านั้นที่สามารถมีชีวิตรอดมาได้ (Heape, 1897)


รายงานสัตว์ป่วย : โรคนิวคาสเซิลในนกกระทา, ช้องมาศ อันตรเสน, นิมิตร เชื้อเงิน, พิพล สุขสายไทยชะนะ Sep 1986

รายงานสัตว์ป่วย : โรคนิวคาสเซิลในนกกระทา, ช้องมาศ อันตรเสน, นิมิตร เชื้อเงิน, พิพล สุขสายไทยชะนะ

The Thai Journal of Veterinary Medicine

นกกระทา ฝูงหนึ่ง อายุประมาณ 1 ปี แสดงอาการป่วย มีอาการซึม ไม่กินอาหารและน้ำ ถ่ายอุจจาระเป็นสีขาว บางตัวแสดงอาการทางประสาท จากการผ่าซากพบถุงลมขุ่น บางตัวพบไข่แดงแตกในช่องท้อง จากการแยกเชื้อโดยใช้หลอดลม ปอด และไต บดฉีด เข้าไข่ไก่ฟักอายุ 10 วัน ทําให้ได้ฟักตาย จากการทดสอบด้วย HA และ HI tests พิสูจน์ ได้ว่านกกระทาฝูงนี้ป่วยด้วยโรคนิวคาสเซิล


โรค ซี อาร์ ดี ในไก่ 1. สาเหตุของโรค: มัยโคพลาสม่า กัลลิเซพติคุ่ม หรือ อี โคลัย, เกรียงศักดิ์ สายธนู, โสมทัต วงศ์สว่าง, สุรศักดิ์ ศิริโชคชัชวาล Sep 1986

โรค ซี อาร์ ดี ในไก่ 1. สาเหตุของโรค: มัยโคพลาสม่า กัลลิเซพติคุ่ม หรือ อี โคลัย, เกรียงศักดิ์ สายธนู, โสมทัต วงศ์สว่าง, สุรศักดิ์ ศิริโชคชัชวาล

The Thai Journal of Veterinary Medicine

จากการศึกษาหาสาเหตุของโรคโดยการใช้วิธีทาง ซีโรโลยี และการเพาะเชื้อ ในไก่กระทงจำนวน 25 เล้า ซึ่งแสดงอาการเป็นโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ มีวิการที่เห็นได้ชัด คือ การอักเสบของเยื่อหุ้มหัวใจ, ตับและปอด และการอักเสบของถุงลม ผลการศึกษา พบว่าไก่เป็นโรคติดเชื้อ มัยโคพลาสม่า กัลลิเซพติคุ่ม จำนวน 2 เล้า ส่วนไก่อีก 23 เล้าเป็น โรคติดเชื้อ อี โคลัย ลักษณะวิการของโรคซึ่งมีสาเหตุจากเชื้อทั้งสองชนิดนี้จะไม่แตกต่างกัน สำหรับผลการตรวจทางแอ๊คกลูติเนชั่น และฮีแม็คกลูติเนชั่น-อินฮิบิชั่น จะสอดคล้องกับการพบเชื้อ มัยโคพลาสม่า กัลลิเซพติคุ่ม


A Canine Mammary Gland Neoplasia : A Chinico-Pathologic Study, Wichan Pavaranggoon, Nipon Sukulmaeka, Noppamas Napombejra, Chainarong Lohachit, Peersak Chantaraprateep, Ted Tesaprateep, Archariya Kanchanadeb Sep 1986

A Canine Mammary Gland Neoplasia : A Chinico-Pathologic Study, Wichan Pavaranggoon, Nipon Sukulmaeka, Noppamas Napombejra, Chainarong Lohachit, Peersak Chantaraprateep, Ted Tesaprateep, Archariya Kanchanadeb

The Thai Journal of Veterinary Medicine

Twenty cases of canine mammary gland neoplasia were clinico pathologically investigated at the Obstetrics, Gynaecology & Reproduction and Pathology units, small animal hospital, Faculty of Veterinary Science, Chulalongkorn University from November 1983 through October 1984. The diagnosis was based on a combination of history, clinical signs, radiographic and histological findings. Neoplasm were histologically classified according to Hampe and Misdorp (1974). All cases were treated by mastectomy, 14 in 17 (82.4%) cases had completely recovered and 3 in 17 (17.6%) cases died within 6 months after the operation. In addition, details of etiology, incidence and characteristics of neoplasm were also discussed.


Response Of Plasma Lh To Gonadotropin Releasing Hormone (Lrh) Treatment In Yong Swamp Buffalo Bulls, Peerasak Chantaraprateep, Maneewan Kamonpatana, Chainarong Lohachit, Annop Kunavongkrit, Prachin Virakul Sep 1986

Response Of Plasma Lh To Gonadotropin Releasing Hormone (Lrh) Treatment In Yong Swamp Buffalo Bulls, Peerasak Chantaraprateep, Maneewan Kamonpatana, Chainarong Lohachit, Annop Kunavongkrit, Prachin Virakul

The Thai Journal of Veterinary Medicine

Investigation on response of LH to gonadotropin releasing hormone (LRH) treatment in 3 young swamp buffalo bulls was carried out every second month for 4 occasions. The animals were 16, 17 and 19 months old at the beginning of the trial. Response of plasma LH to LRH treatment was described in term of "total response" calculated from the area under the curve during 150 mn. It was shown that magnitude of LH response of the animals at the age group of 16-18 no. was higher than those in the older age groups (19-21 mo and 22-25 mo). Mean plasma LH …


Rabies In Swine : Natural Infection In Three Case, Songkram Luangtongkun, Boonmee Sayasoothjaree, Thongchai Chalermchaikit, Kumphee Kortheerakul Sep 1986

Rabies In Swine : Natural Infection In Three Case, Songkram Luangtongkun, Boonmee Sayasoothjaree, Thongchai Chalermchaikit, Kumphee Kortheerakul

The Thai Journal of Veterinary Medicine

Natural infection of rabies in three cases of swine were observed. The affected pigs were bitten by rabid dogs at various sites on the body. The incubation period in these three cases varied between 8-16 days. The sudden onset of fever, dilatation of the pupil and nervous signs were the consistent findings with short course of not more than 3 days, except one had a prolonged course of seven days. Ninety two percent of the reported case of rebies in Thailand were found in dogs. Cats come second to dog but share only around five percent of total. Only a …


การศึกษาขนาดที่เหมาะสมของเพนโตบาร์บิทอล โซเดียมเมื่อใช้ร่วมกับอะซาเปอโรนในสุกร, สุพจน์ วนิจกิจเกื้อผล, วันทนีย์ หาญญานันท์, วีระพงศ์ โกยกุล, มาริษศักร์ กัลล์ประวิทธ์, ดวงนฤมล ประชัญคดี Jun 1986

การศึกษาขนาดที่เหมาะสมของเพนโตบาร์บิทอล โซเดียมเมื่อใช้ร่วมกับอะซาเปอโรนในสุกร, สุพจน์ วนิจกิจเกื้อผล, วันทนีย์ หาญญานันท์, วีระพงศ์ โกยกุล, มาริษศักร์ กัลล์ประวิทธ์, ดวงนฤมล ประชัญคดี

The Thai Journal of Veterinary Medicine

สุกร ไม่จำกัดพันธุ์ เพศ และอายุที่มีน้ําหนัก 20-30 กิโลกรัม 5 กลุ่ม ๆ ละ 10 ตัว ได้รับการฉีดอะฆ่าเปอโรน (azaperone) ขนาด 1 มก./กก. เข้ากล้ามเนื้อ หลัง จากนั้น 10 นาที สู่กรกลุ่ม 1, 2, 3, 4 และ 5 ได้รับการฉีดเพนโตบาร์บิทอล โซเดียม (pentobarbital sodium) ขนาด 4, 8, 12, 16 และ 20 มก./กก. เข้าเส้นเลือดดำ ตามลำดับ ผลการศึกษาอุณหภูมิของร่างกายทุกกลุ่มลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) อัตราการเต้นของหัวใจลดลงในกลุ่มที่ได้รับยา 8 และ 12 มก./กก. (P<0.05) อัตราการ หายใจลดลงในกลุ่มที่ได้รับยา 4, 8 และ 20 มก./กก. (P<0.05) ในขณะที่กลุ่มที่ได้รับยา 12 และ 16 มก./กก. มีอัตราการหายใจลดลงที่นาทีที่ 30 เป็นต้นไปหลังให้ยา ระยะเวลาที่สุกรไม่ตอบสนองต่อการเคาะที่หัวตา (duration of palpebral reflex loss) มี สหสัมพันธ์ (r = 0.97) กับขนาดยาที่เพิ่มขึ้น และระยะเวลาที่ไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้น ความเจ็บปวดระดับตื้น (analgesic duration for superficial pain) หลังให้ยามีสหสัมพันธ์ (r = 0.94) กับขนาดยาที่เพิ่มขึ้น และขนาดยาที่เพิ่มขึ้นมีสหสัมพันธ์ (r = 0.79) กับการตอบสนองต่อความเจ็บปวดระดับลึก (analgesic duration for deep pain) ระยะเวลาที่สุกรนอนหลังให้ยา (recumbency time) มีค่าเฉลี่ย 19.8, 31.7, 55.0, 63.8 และ 121.4 นาทีในแต่ละกลุ่มตามลำดับ และมีสหสัมพันธ์กับขนาดของยาที่เพิ่มขึ้น (r = 0.94) สรุปผลการทดลองการใช้จะฆ่าเปอโรนขนาด 4 มก./กก. ร่วมกับเพนโตบาร์บิทอล โซเดียมขนาด 16-20 มก./กก. จะทําให้สุกรนอนอยู่นาน 60-120 นาที ปราศ จากความรู้สึกเจ็บปวดระดับตื้น 20-45 นาที และทําให้ปราศจากความรู้สึกเจ็บปวดระดับลึกนาน 4-25 นาที


Case Report Of A Large Pedicle Full Thickness And Small Free Split Thickness Skin Graft On The Forearm Of A Rhesus Of A Rhesus Monkey, Montip Ngampochjana Jun 1986

Case Report Of A Large Pedicle Full Thickness And Small Free Split Thickness Skin Graft On The Forearm Of A Rhesus Of A Rhesus Monkey, Montip Ngampochjana

The Thai Journal of Veterinary Medicine

A female rhesus monkey had a severe necrotized bite wound on the lateral left forearm and approximately half of the skin sloughed. A pedicle skin flap from the lower thorax and abdomen was attached to the lateral margin. The prepared pedicle was slightly short of covering the metacarpal area SO a 2 cm. diameter split thickness skin graft was also utilized. After 18 days of bandaging the arm to the body, the graft became well vascularized and the graft was transected at the body and stitched to the medial wound margin. Sutures were removed after 10 more days bandaging. Four …


Short Communication : รายงานการแยกเชื้อนิวคาสเซิลไวรัสจากต่อมเบอร์ซ่าในไก่, ช้องมาศ ชัยโภคา, นิมิตร เชื้อเงิน Jun 1986

Short Communication : รายงานการแยกเชื้อนิวคาสเซิลไวรัสจากต่อมเบอร์ซ่าในไก่, ช้องมาศ ชัยโภคา, นิมิตร เชื้อเงิน

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ไก่เนื้อ อายุ 20 วัน แสดงอาการป่วย ซึม นอนสุมกัน คอตก ไม่กินอาหาร จากวิการการผ่าซากพบถุงลมขุ่น ต่อมเบอร์ซ่ามีขนาดเล็ก พบจุดเลือดออกและจุดเนื้อตาย ทําการ แยกเชื้อไวรัสโดยฉีด 10% organ suspension ของต่อมเบอร์ซ่า ปอด และไต เข้า Allantoic cavity ของไข่ไก่ฟักอายุ 10 วัน ไข่ฟักตาย 48 ชั่วโมงหลังฉีด จากการทดสอบ ด้วย HA และ HI tests พิสูจน์ได้ว่าไก่ป่วยด้วยโรคนิวคาสเซิล


รายงานสัตว์ป่วย : โรคกล่องเสียงอักเสบติดต่อในไก่, ชัยวัธน์ วิทูระกูล, ลัดดา ตรงวงศา, อนุชิต ศักดาศิริสถาพร, สุภาพ ชื่นบาน, วัลลภา พรสุขสว่าง, นิรัติศัย สิงหสันติ Jun 1986

รายงานสัตว์ป่วย : โรคกล่องเสียงอักเสบติดต่อในไก่, ชัยวัธน์ วิทูระกูล, ลัดดา ตรงวงศา, อนุชิต ศักดาศิริสถาพร, สุภาพ ชื่นบาน, วัลลภา พรสุขสว่าง, นิรัติศัย สิงหสันติ

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ไก่ป่วยจาก 3 ฟาร์มในท้องที่จังหวัดลําปาง แสดงอาการป่วยทางระบบทางเดิน หายใจ ยึดคอ อ้าปากหายใจ (gasping) ได้ทําการตรวจวินิจฉัยที่ศูนย์วิจัยและชันสูตรโรคสัตว์ภาคเหนือ ด้วย วิธีทางพยาธิวิทยา พบริการที่ดูด้วยตาเปล่าและทางจุลพยาธิ ทําการฉีดเข้าไปพักและไก่ทดลอง ยืนยันไก่ป่วยด้วยโรคกล่องเสียงอักเสบติดต่อ


Estrus And Conception Rate Following Estrous Sychronization In Heifers By Using New Prids And Re-Used Prids, Nareerat Viseshakui, Wantanee Srikosak, Pichit Pisansarakit, Peerasak Chantaraprateep, Chainarong Lohachit, Piyalumporn Poomsuwan Jun 1986

Estrus And Conception Rate Following Estrous Sychronization In Heifers By Using New Prids And Re-Used Prids, Nareerat Viseshakui, Wantanee Srikosak, Pichit Pisansarakit, Peerasak Chantaraprateep, Chainarong Lohachit, Piyalumporn Poomsuwan

The Thai Journal of Veterinary Medicine

Sixty seven from 2,500 of fifty percenť Freisian-native crossbred heifers at "The Promotion of Calves Rearing Project", Chantuk, Nakornrajasima north east province of Thailand were treated with new PRIDs, (Progesterone Releasing Intravaginal Devices) attached with 10 mg oestradiol benzoate capsule. PRIDS were inserted for 12 days, then removed. The animals were divided into 2 groups, treated with PRIDs and PRIDS plus PMSG 500 i.u. intramuscular injection on the day of removal. Percentage of synchronized estrus heifers of those two groups were 54.84 and 88.98 respectively. Removed PRIDS were inserted to another 38 heifers, 19.05% became heat when treated with PRIDs …


Optimal Period For Artificial Insemination In Cows By Measurement Of Reproductive Hormones, Kanok Pavasasuthipaisit, Wannee Boabucha, Chantana Trivitayaratn, Manit Punprapa, Suhep Kijsuksa Mar 1986

Optimal Period For Artificial Insemination In Cows By Measurement Of Reproductive Hormones, Kanok Pavasasuthipaisit, Wannee Boabucha, Chantana Trivitayaratn, Manit Punprapa, Suhep Kijsuksa

The Thai Journal of Veterinary Medicine

In order to determine the optimal time for AI, we have measured the serum reproductive hormones (progesterone, estradiol and LH) from 89 dairy cows by radioimmunoassay and mouse Leydig cell LH bioassay. Fifteen ml. of jugular blood sample was obtained on Day of AI and Day 7, 14, 21 after AI. Rectal palpation for pregnancy detection was performed by 45 days after AI, and it was found that 23 cows were pregnant. The progesterone levels were not significantly different between both groups by day of AI but it was markedly high from Day 14 through Day 21 in pregnant cow. …


Preweaning Growth Characteristics Of Rabbits, Chancharat Reodecha, Somchai Chanpongsang Mar 1986

Preweaning Growth Characteristics Of Rabbits, Chancharat Reodecha, Somchai Chanpongsang

The Thai Journal of Veterinary Medicine

Preweaning data of 336 crossbred rabbits were used to study rabbit growth characteristics from birth to weaning at an average age of of 47.73 ± 3.80 days and factors affecting growth traits. Rabbits were represented by 8 sire and 10 dam genetic groups. The colony was originated from Californian, New Zealand White and Thai native rabbits. All the young nursed their dams until 21 days of age when supplemental pelleted feed was fed. Traits studied were BW, W7, W14, W21, W28, W35, W42, ADG, ADG 1 and ADG2. DBG was an important source of variation in all weight traits (P < 0.1) while SBG was important in BW, W14, W21, W28 and W35. No sex differences observed. ADG, ADG1 and ADG2 were 19.45 ± .51, 12.27 ± .40 and 25.48 ± .71 gm, respectively. Growth pattern of this set of rabbits presented. Selection and crossbreeding programs for superior maternal performance was recommended for commercial rabbit production.


Short Communication (อิทธิพลของสารพันธุกรรมที่อยู่นอกนิวเคลียส), จันทร์จรัส เรี่ยวเดชะ Mar 1986

Short Communication (อิทธิพลของสารพันธุกรรมที่อยู่นอกนิวเคลียส), จันทร์จรัส เรี่ยวเดชะ

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


Short Communication Pseudorabies In A Dog : A Case Report, Achariya Sailasuta Mar 1986

Short Communication Pseudorabies In A Dog : A Case Report, Achariya Sailasuta

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


ประสิทธิภาพของยาฆ่าเชื้อ ไอโอดีน คลอรีน และ เบ็นซัลโคเนียม คลอไรด์ ต่อเชื้ออหิวาต์เป็ด พาสเจอเรลล่า มัลโตซิดา, เกรียงไกร เหลืองไพรัตน์, วิไล เพชรชนะกุล, เกรียงศักดิ์ สายธนู Mar 1986

ประสิทธิภาพของยาฆ่าเชื้อ ไอโอดีน คลอรีน และ เบ็นซัลโคเนียม คลอไรด์ ต่อเชื้ออหิวาต์เป็ด พาสเจอเรลล่า มัลโตซิดา, เกรียงไกร เหลืองไพรัตน์, วิไล เพชรชนะกุล, เกรียงศักดิ์ สายธนู

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ทําการศึกษาประสิทธิภาพของยาฆ่าเชื้อสามชนิดต่อเชื้อ พาสเจอเรลล่า มัลโตซิดา ซีโรทัยป์ 8 เอ. ซึ่งเป็นสเตรนจากเป็ด ในการศึกษาครั้งนี้ใช้เชื้อปริมาณมาก คือ 109-1010 เซลล์ มล. ในน้ำเกลือปกติ(สภาพสะอาด) และในน้ำเกลือที่มี 10% เซรุ่มวัว (สภาพสกปรก) มีสภาพความเป็นกรด-ด่าง 7.0 และทดลองในอุณหภูมิ 20 ± 1⁰ ซ. ผลการศึกษาปรากฏว่า ความเข้มข้นของยาฆ่าเชื้อที่ใช้ในการฆ่าเชื้อ พาสเจอเรลล่า มัลโตซิดา ให้หมดภายใน 2.5 นาที ในสภาพสะอาดคือ ไอโอดีน 1.5 พีพีเอ็ม เป็นซัลโคเนียม คลอไรด์ 25 พีพีเอ็ม และ คลอรีน 5 พีพีเอ็ม ในสภาพสกปรกความเข้มข้นของยาฆ่าเชื้อต้องเพิ่มเป็น 10, 150 และ 300 พีพีเอ็ม ตามลำดับ จึงจะฆ่าเชื้อได้หมดภายในระยะเวลาเดียวกัน ผลการศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าภายใต้สภาพการทดลองที่ได้กล่าวมา ยาฆ่าเชื้อ ไอโอดีน มีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้ออหิวาต์เป็ดได้ดีที่สุด


การใช้ Medroxyprogesterone Acetate ขัดขวางการเป็นสัดในสุนัขเพศเมีย, เกียรติศักดิ์ คูวัฒนาถาวร, ชัยพร ผลสุวรรณ, อารยา นวลศรี, ดวงนฤมล ประชัญคดี, ระบิล รัตนพานี, วิมล โพธิวงศ์ Mar 1986

การใช้ Medroxyprogesterone Acetate ขัดขวางการเป็นสัดในสุนัขเพศเมีย, เกียรติศักดิ์ คูวัฒนาถาวร, ชัยพร ผลสุวรรณ, อารยา นวลศรี, ดวงนฤมล ประชัญคดี, ระบิล รัตนพานี, วิมล โพธิวงศ์

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของวงจรการเป็นสัด อวัยวะสืบพันธุ์ที่เกี่ยวข้องและระดับ ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนในสุนัขพันธุ์ผสมเพศเมีย 12 ตัว เป็นเวลา 6 เดือน หลังจากได้รับยา Medroxyprogesterone acetate ขนาด 50 mg เข้าใต้ผิวหนัง 1 ครั้ง เมื่อสุนัขอยู่ ในระยะ metestrus และ/หรือ anestrus พบว่าสุนัขทุกตัวมีระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนต่ำกว่า 1 ng/ml. ตลอดการทดลอง และวงจรการเป็นสัดอยู่ในระยะ anestrus ใน 7 วัน หลังให้ยา ทําลายสุนัขหลังจากได้รับยานี้ 1,3 และ 6 เดือน เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางมหกายวิภาคและจุลกายวิภาคของรังไข่ ท่อนำไข่ มดลูกและต่อมน้ำนม ในสุนัขที่ไม่ได้รับยานี้ ซึ่งเป็นกลุ่มควบคุม พบว่ารังไข่สุนัขและท่อนำไข่อยู่ในสภาพ inactive การเปลี่ยนแปลงทางจุล กายวิภาคพบภายหลังให้ยา 1 เดือน ซึ่งชัดเจนขึ้นหลังให้ยา 3 และ 6 เดือน ต่อมน้ำนมอยู่ ในสภาพ active มี plasma cell แทรกอยู่ทั่วไป การเปลี่ยนแปลงของมดลูกพบได้ทั้งชนิด active uterine gland hemorrhage luu endometrium in cystic endometrial hyperplasia และชนิด pyometra สรุปได้ว่าการฉีด Medroxyprogesterone acetate ด้วยขนาด 50 mg เพียงครั้งเดียวเข้าใต้ผิวหนังสามารถยับยั้งวงจรการเป็นสัดใน สุนัขเพศเมียอย่างได้ผลตลอดระยะเวลา 6 เดือน แต่การใช้ยานี้เมื่อสุนัขอยู่ในระยะ metestrus อาจโน้มนำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของต่อมน้ำนมและมดลูกเร็วขึ้น