Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Medicine and Health Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Articles 1 - 30 of 171

Full-Text Articles in Medicine and Health Sciences

Light And Scanning Electron Microscopic Study Of Lesion In Gills Of Snakehead Fish (Ophicephalus Straitus) In Recent Massive Outbreak Of Fish Disease In Thailand, Somphong Sahaphong, Rungtiva Kongkanuntn, Thanarat Thongtong, Subhkij Angsubhakorn, Prasert Sobhon, Thanit Koosamran, Kriengsak Saitanu Dec 1986

Light And Scanning Electron Microscopic Study Of Lesion In Gills Of Snakehead Fish (Ophicephalus Straitus) In Recent Massive Outbreak Of Fish Disease In Thailand, Somphong Sahaphong, Rungtiva Kongkanuntn, Thanarat Thongtong, Subhkij Angsubhakorn, Prasert Sobhon, Thanit Koosamran, Kriengsak Saitanu

The Thai Journal of Veterinary Medicine

Gill lamellae from the snakehead fish (Ophicephalus striatus) in recent massive outbreak of fish disease in Thailand were studied by light and scanning electron microscopy. The pathological findings were non-specific and were not suggestive of any causative organism or agent. Bacteria, fungi and protozoa were not identified. Apart from frank necrosis in some area of the gill lamellae, swelling of the covering epithelial cells as evidenced by bulging of the cell surface, distortion and reduction of the microvilli and ridges and complete loss of the microvilli and ridges, was a constant finding. The authors reported these findings in order to …


รายงานเบื้องต้นเกี่ยวกับน้ำเชื้อพ่อแพะและพ่อแกะแช่แข็ง, วิชัย ชนาธินาถ, บุญญวัฒน์ สนิทวงศ์ฯ, วีระ ผดุงวัย, ระพีพรรณ เอื้อเวชนิชกุล, วันชัย เมืองสมบูรณ์กุล, สมชาย มาดหมาย, ปาริฉัตร สุขโต Dec 1986

รายงานเบื้องต้นเกี่ยวกับน้ำเชื้อพ่อแพะและพ่อแกะแช่แข็ง, วิชัย ชนาธินาถ, บุญญวัฒน์ สนิทวงศ์ฯ, วีระ ผดุงวัย, ระพีพรรณ เอื้อเวชนิชกุล, วันชัย เมืองสมบูรณ์กุล, สมชาย มาดหมาย, ปาริฉัตร สุขโต

The Thai Journal of Veterinary Medicine

การทดลองครั้งนี้เป็นการทดลองขั้นพื้นฐาน เพื่อทดสอบหาความเป็นไปได้ในการ ผลิตน้ำเชื้อแพะและแกะแช่แข็ง โดยวิธีเดียวกันกับการแช่แข็งน้ำเชื้อโค ซึ่งผลิตที่ศูนย์ผสมเทียม กรมปศุสัตว์ จังหวัดปทุมธานี ทําการรีดเก็บน้ำเชื้อพ่อและพันธุ์ผสม 2 ตัวโดยใช้ เอ.วี. รวม 20 ejaculates และพ่อแกะ 2 ตัว รวม 15 ejaculates นำน้ำเชื้อที่รีดเก็บได้แต่ละครั้ง มาศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับปริมาตร ความเข้มข้น การเคลื่อนไหวหมู่ (mass activity) การเคลื่อนไหวของตัวอจิ (motility) แล้วเจือจางด้วยน้ำยาละลายไข่แดงทริส (Egg Yolk Tris) คํานวณให้มีปริมาณของตัวอสุจิ 200 ล้านตัวต่อปริมาตร 0.25 ลบ.ซม. แล้ว ทําการแช่แข็งโดยวิธีเดียวกันกับการแช่แข็งน้ำเชื้อโค จากการทดลองพบว่า น้ำเชื้อพ่อแพะและ แกะที่รีดเก็บได้มีปริมาตรเฉลี่ย 0.98 ± 0.31 ลบ.ซม. และ 0.78 ± 0.26 ลบ.ม. ความเข้มข้นของน้ำเชื้อเฉลี่ย 3,679 ± 1,061 x 10 ตัว/ลบ.ซม. และ 4,242 ± 885 x 106 ตัว/ลบ.ซม., เปอร์เซนต์การเคลื่อนไหวของตัวอสุจิจากน้ำเชื้อที่รีดเก็บได้ (initial motility) เฉลี่ย 82.0 ± 9.0% และ 87.66 ± 5.3% เปอร์เซนต์การ เคลื่อนไหวของตัวอสุจิน้ำเชื้อแช่แข็งที่ละลายแล้ว (post thaw motility) เฉลี่ย 46.25 ± 11.0% และ 46.35 ± 8.3% จากการศึกษาครั้งนี้สรุปได้ว่า น้ำเชื้อพ่อแพะและพ่อแกะสามารถผลิตเป็นน้ำเชื้อแช่แข็งได้ โดยใช้วิธีเดียวกันกับการผลิตน้ำเชื้อแช่แข็งโค ซึ่งคุณภาพจากการตรวจทางห้อง ปฏิบัติการได้มาตรฐานอยู่ในเกณฑ์ดีสามารถนำไปใช้ผสมเทียมได้


Canine Rabies In Thailand, Sonkram Luangtongkum Dec 1986

Canine Rabies In Thailand, Sonkram Luangtongkum

The Thai Journal of Veterinary Medicine

The dog plays an important role in the prevalence of rabies in Thailand. It has accounted for 90-93 percent of all animal brain submitted for rabies diagnosis each year. Futhermore, canine rabies represents about 95 per cent of all diagnosed animal rabies. The dog is also the primary source of rabies infection in human; 97.87 per cent of human deaths due to rabies are caused by rabid dogs. Biting by rabid dogs is the main route of rabies infection in both humans and animals. All supporting data available were collected and tabulated. The evidence indicates that the dog is the …


การเพิ่มการตกไข่ในกระต่าย, มงคล เตชะกำพุ Dec 1986

การเพิ่มการตกไข่ในกระต่าย, มงคล เตชะกำพุ

The Thai Journal of Veterinary Medicine

กระต่ายพันธุ์นิวซีแลนด์ และ คาลิฟอร์เนีย จำนวนทั้งหมด 125 ตัว ได้รับการ กระตุ้นให้เพิ่มจำนวนการตกไข่ต่อตัวโดยใช้ follicular stimulating hormone (FSH) จำนวน 2.0 มก. ร่วมกับ luteinizing hormone (LH) จำนวน 0.33 มก. อัตราการ ตกไข่ การเก็บไข่และคัพภะปกติได้ถูกเปรียบเทียบในกลุ่มการทดลอง 4 กลุ่ม คือ 24, 48, 65 และ 96 h.pc. (ชม. หลังผสม) โดยพบว่ากลุ่ม 65 h.pc. มีจำนวนการตกไข่น้อยกว่า กลุ่มอื่น ๆ (P < 0.01) และยังพบว่าการเพิ่มการตกไข่ โดยการใช้ฮอร์โมน FSH-LH มีผล เสียในลดจำนวนเปอร์เซ็นต์การเก็บไข่และคัพภะปกติ (P < 0.01) ในกลุ่ม 96 h.pc. เมื่อ เทียบกับกลุ่ม 24 h.pc.


สมรรถนะของทุ่งหญ้าผสมพืชตระกูลถั่วทุ่งหญ้ามอริชัสและเซนโตรซีม่า, จินดา สนิทวงศ์ฯ, พัชรินทร์ จินกล่ำ, อรรถยา เกียรติสุนทร, ชาญชัย มณีดุลย์, ประเสริฐ โพธิ์จันทร์, เพ็ญศรี ศรประสิทธิ์, พรเพ็ญ ผดุงศักดิ์ Dec 1986

สมรรถนะของทุ่งหญ้าผสมพืชตระกูลถั่วทุ่งหญ้ามอริชัสและเซนโตรซีม่า, จินดา สนิทวงศ์ฯ, พัชรินทร์ จินกล่ำ, อรรถยา เกียรติสุนทร, ชาญชัย มณีดุลย์, ประเสริฐ โพธิ์จันทร์, เพ็ญศรี ศรประสิทธิ์, พรเพ็ญ ผดุงศักดิ์

The Thai Journal of Veterinary Medicine

การหาสมรรถนะของทุ่งหญ้ามอสผสมถั่วเป็นโตรซีม่า โดยใช้พื้นที่ 15, 20 และ 25 ไร่ ใช้ระบบการหมุนเวียนแปลงหญ้าภายใต้สภาวะธรรมชาติ ระยะเวลาของการ ทดลอง 18 เดือน โดยใช้พื้นที่แปลงหญ้า เป็นอัตราส่วนของพื้นที่ต่อจำนวนโคเท่ากับ 3, 4 และ 5 ไร่/ตัว ตามลำดับ ปรากฏว่าโคทดลองทุกตัวมีน้ําหนักเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยตลอดการทดลอง เท่ากับ 0.43, 0.51 และ 0.53 กก./ตัว/วัน ในการใช้พื้นที่ 3, 4 และ 5 ไร่ ตัว ตาม ลำดับ หรือน้ำหนักที่เพิ่มต่อไร่ต่อปีเท่ากับ 47.6, 43.95 และ 38.04 กก. ผลผลิตของหญ้ามอสผสมถั่วเซนโตรซีม่าหลังการทดลองจะมีปริมาณลดลงจากผลผลิตของหญ้าและถั่วก่อน การทดลองมาก ส่วนการวิเคราะห์ทางเคมีนั้นเกือบไม่แตกต่างกัน สภาพการฟื้นตัวของหญ้าและถั่ว สำหรับการใช้พื้นที่ 3ไร่/ตัว การฟื้นตัวของหญ้าไม่ทันกับการแทะเล็มของสัตว์ สภาพแปลงหญ้าโทรมมาก หญ้าและถั่วตายเกือบไม่มีหญ้าเหลือและมีวัชพืชขึ้นหนาแน่น การใช้พื้นที่ 4 ไร่/ตัว การฟื้นตัวของหญ้าและถั่วในระบบการหมุนเวียนภายใต้สภาวะธรรมชาตินี้พอมีหญ้าและถั่วพื้นตัวได้ทันกับการแทะเล็มของสัตว์ได้ตลอดการทดลอง แปลงหญ้าไม่โทรมมาก และยังสามารถจะใช้ เป็นทุ่งหญ้าต่อไปได้ และสำหรับพื้นที่ 5 ไร่/ตัว นั้น นับว่าเป็นการสูญเสียพื้นที่ไปโดยได้ ประโยชน์เนื่องจากใช้พื้นที่มากเกินไป โคกินหญ้าในแปลงไม่ทัน ทําให้มีส่วนลําต้นของหญ้าเหลือ ยาว ๆ เป็นจำนวนมาก และหญ้าจะเจริญคลุมถั่ว ทําให้ถั่วตาย ส่วนการทดลองทดสอบคุณภาพของหญ้าโดยใช้แกะเป็นสัตว์ทดลองนั้น พบว่ามีค่า อินทรีย์วัตถุย่อยได้เท่ากับ 47.32, 14.90 และ 42.19% และค่าโปรตีนย่อยได้เท่ากับ 3.91, 3.03 และ 3.55% สำหรับการใช้พื้นที่ 3, 4 และ 5 ไร่/ตัว ตามลำดับ


โรค ซี อาร์ ดี ในไก่ 2. แอนติบอดี ต่อเชื้อ มัยโคพลาสม่า กัลลิเซพติคุ่ม ในไก่กระทง, โสมทัต วงศ์สว่าง, เกรียงศักดิ์ สายธนู Dec 1986

โรค ซี อาร์ ดี ในไก่ 2. แอนติบอดี ต่อเชื้อ มัยโคพลาสม่า กัลลิเซพติคุ่ม ในไก่กระทง, โสมทัต วงศ์สว่าง, เกรียงศักดิ์ สายธนู

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ผลการศึกษาหาแอนติบอดี ต่อ มัยโคพลาสม่า กัลลิเซพติคุ่ม โดยวิธีแอ๊คกลูติเนชั่น ในลูกไก่ที่เกิดจากแม่พันธุ์ที่ไม่ได้วัคซีน MG 6 ฟาร์ม และจากแม่พันธุ์ที่ได้รับการฉีดวัคซีน 2 ฟาร์ม ปรากฏว่าตรวจพบแอนติบอดีในลูกไก่ที่เกิดจากแม่พันธุ์จากฟาร์มดังกล่าวข้างบน จำนวน 4 ฟาร์ม (67%) จำนวนลูกไก่ 6 รุ่น และ 2 ฟาร์ม (100%) ตามลำดับ โดยอัตรา การพบแอนติบอดีในลูกไก่อายุ 1 วันที่เกิดจากแม่พันธุ์ที่ไม่ได้ฉีดวัคซีน MG จะผันแปรระหว่าง 29-100% และแอนติบอดีจะหมดไปภายใน 21 วัน ส่วนแอนติบอดีในลูกไก่ที่เกิดจากแม่พันธุ์ที่ ฉีดวัคซีน MG จะแปรผันระหว่าง 42 -100% และแอนติบอดีจะหมดไปภายใน 14 วัน ลูกไก่ที่ตรวจพบแอนติบอดี โดยวิธีแอ็คกลูติเนชั่น จะมี HI titer สูงระหว่าง 80-160 ลูกไก่ที่ไม่สามาถ ลูกไก่ที่ไม่สามารถตรวจพบแอนติบอดีด้วยวิธีดังกล่าว ส่วนใหญ่จะไม่พบแอนติบอดี เมื่อตรวจด้วยวิธี HI เช่นกัน หรือถ้าพบแอนติบอดี ก็จะมีไตเตอร์ต่ำกว่า 40


การผลิตและการประยุกต์ใช้โมโนโคลนัล แอนติบอดีย์, วัฒนะ พันธุ์ม่วง, นราทร ธรรมบุตร Dec 1986

การผลิตและการประยุกต์ใช้โมโนโคลนัล แอนติบอดีย์, วัฒนะ พันธุ์ม่วง, นราทร ธรรมบุตร

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Opisthorchiasis: A Study On The Effective Dosages Of Praziquantel In Cases With And Without Symptoms, M. Kulkumthorn, P. Kraivichian, P. Yingyourd, P. Buhngamomgkol, P. Akaraborvorn Dec 1986

Opisthorchiasis: A Study On The Effective Dosages Of Praziquantel In Cases With And Without Symptoms, M. Kulkumthorn, P. Kraivichian, P. Yingyourd, P. Buhngamomgkol, P. Akaraborvorn

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


อดีต ปัจจุบัน และ อนาคต ของเทคโนโลยีย้ายฝากตัวอ่อน (Past, Present And Future Of En=Mbryo Transfer Technology), รังสรรค์ พาลพ่าย Dec 1986

อดีต ปัจจุบัน และ อนาคต ของเทคโนโลยีย้ายฝากตัวอ่อน (Past, Present And Future Of En=Mbryo Transfer Technology), รังสรรค์ พาลพ่าย

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ปัจจุบันเทคโนโลยีย้ายฝากตัวอ่อนได้เข้ามามีบทบาทต่อการเพิ่มผลผลิตในวงการปศุสัตว์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโค, แพะ, แกะ, และม้า เป็นต้น ด้วยเหตุที่การย้ายฝาก ตัวอ่อนสามารถเพิ่มปริมาณและคุณภาพของสัตว์ที่มีคุณสมบัติเป็นเลิศได้ในระยะเวลารวดเร็วที่สุด ในขณะนี้ ฉะนั้นจึงควรพิจารณากันถึงประวัติความเป็นมาของการศึกษาวิจัยการย้ายฝากตัวอ่อน ว่าเริ่มกันมาตั้งแต่เมื่อไร กว่าจะเป็นเทคโนโลยีที่สามารถใช้ได้ดีในปัจจุบันและแนวโน้ม ในอนาคตจะพัฒนาไปอย่างไรบ้าง การย้ายฝากตัวอ่อนมิได้เป็นเทคโนโลยีเริ่มพัฒนากันในปัจจุบันแต่เป็นวิชาการที่ เริ่มต้นกันมาไม่น้อยกว่า 95 ปี มีรายงานการย้ายฝากตัวอ่อนเป็นครั้งแรกของโลกโดย Heape (1890) นักวิทยาศาสตร์ผู้ซึ่งทําการศึกษาวิจัย อยู่เมืองเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ ได้ดูดตัวอ่อนจากกระต่ายตัวให้ แล้วย้ายฝากตัวอ่อนให้กระต่ายตัวรับ (Donor) (Recipient) ในวันที่ 27 เมษายน 2433 ในที่สุดวันที่ 29 พฤษภาคม 2433 กระต่ายตัวรับได้คลอดลูกออก มา 1 ตัว มีสุขภาพสมบูรณ์ปกติ หลังจากนั้น Heape ได้พยายามศึกษาวิจัยต่อมาแต่การทดลอง ส่วนใหญ่ไม่ประสบผลสำเร็จเนื่องจากการตายของตัวรับอันมีสาเหตุมาจากการทําให้กระต่ายสลบโดยใช้คลอโรฟอร์มและกระต่ายไม่สมบูรณ์พันธุ์ อย่างไรก็ตามเขาก็ประสบความสำเร็จอีก ครั้งโดยได้ลูกกระต่ายออกมา 8 ตัว แต่มีเพียง 1 ตัวเท่านั้นที่สามารถมีชีวิตรอดมาได้ (Heape, 1897)


ความสำคัญของสีแกรมทางแพทย์, เมธี กุลกำม์ธร, นราทร ธรรมบุตร Dec 1986

ความสำคัญของสีแกรมทางแพทย์, เมธี กุลกำม์ธร, นราทร ธรรมบุตร

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Cutaneous Leishmaniasis: A Case Report, N. Tantikun, B. Susilavorn, P. Naigowit, N. Teerawattanasuk Dec 1986

Cutaneous Leishmaniasis: A Case Report, N. Tantikun, B. Susilavorn, P. Naigowit, N. Teerawattanasuk

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


The Medical Significance Of Anaerobic Bacteroides Species, N. Dhamabutra, S. Reinprayoon, A. Navanirathsai Dec 1986

The Medical Significance Of Anaerobic Bacteroides Species, N. Dhamabutra, S. Reinprayoon, A. Navanirathsai

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


การตรวจแอนติบอดีย์ต่อหัดเยอรมันชนิด Igg และ Igm จากตัวเลือดบนกระดาษซับ, วรรณา พรรณรักษา, ศิริมา ปัทมดิลก Dec 1986

การตรวจแอนติบอดีย์ต่อหัดเยอรมันชนิด Igg และ Igm จากตัวเลือดบนกระดาษซับ, วรรณา พรรณรักษา, ศิริมา ปัทมดิลก

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


ซีโรทัยป์ของเชื้อ Bordetella Pertussis ที่แยกได้จากบางแห่งในประเทศไทย ระหว่าง พ.ศ. 2523 - 2527, พิพัฒน์ ลักษมีจรัลกุล Dec 1986

ซีโรทัยป์ของเชื้อ Bordetella Pertussis ที่แยกได้จากบางแห่งในประเทศไทย ระหว่าง พ.ศ. 2523 - 2527, พิพัฒน์ ลักษมีจรัลกุล

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Interpretations By Differen Observes In The Detection Of Neisseria Gonorrhoeae From Gram Stained Cervical Smears, P. Nunthapisud, W. Ananchanachai, W. Pawenakitiporn Dec 1986

Interpretations By Differen Observes In The Detection Of Neisseria Gonorrhoeae From Gram Stained Cervical Smears, P. Nunthapisud, W. Ananchanachai, W. Pawenakitiporn

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Detection Of Rubella Specific Igm By Solid - Phase Immunosorbent Hemagglutination Inhibition Technic, V. Punnarugsa, W. Mungmee Dec 1986

Detection Of Rubella Specific Igm By Solid - Phase Immunosorbent Hemagglutination Inhibition Technic, V. Punnarugsa, W. Mungmee

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


บนยอดพิรามิด, Srisuda Sitprija Nov 1986

บนยอดพิรามิด, Srisuda Sitprija

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Bodyweight Estimation Of Children Age 2½-5 Years Old Utilizing Chest, Arm Circumferences And Height, S. Chompootaweep, S. Sirisumpan, U. Kodchakarn, T. Ninlakarn, J. Tangusaha, B. Teepitaksak, P. Poomsuwan, N. Dusitsin Nov 1986

Bodyweight Estimation Of Children Age 2½-5 Years Old Utilizing Chest, Arm Circumferences And Height, S. Chompootaweep, S. Sirisumpan, U. Kodchakarn, T. Ninlakarn, J. Tangusaha, B. Teepitaksak, P. Poomsuwan, N. Dusitsin

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Comparative Efficacy And Safety Of Amoxycillin,Cephalexin And Pivmecillinam In Typhoid Fever, P. Suwangool, S. Reinprayoon, S. Vejjaiva Nov 1986

Comparative Efficacy And Safety Of Amoxycillin,Cephalexin And Pivmecillinam In Typhoid Fever, P. Suwangool, S. Reinprayoon, S. Vejjaiva

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Risk Factors In Gastrointestinal Bleeding At The Medical In Intensive Care Unit, S. Anantapanpong, S. Limthongkul, S. Vicharnkaikij, P. Watananukul, D. Chayanand Nov 1986

Risk Factors In Gastrointestinal Bleeding At The Medical In Intensive Care Unit, S. Anantapanpong, S. Limthongkul, S. Vicharnkaikij, P. Watananukul, D. Chayanand

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Cataract Extraction With Intraocular Lens Implantation, P. Prachakvej Nov 1986

Cataract Extraction With Intraocular Lens Implantation, P. Prachakvej

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Pitfalls In The Diagnosis Of Brain Tumors In Children, S. Phancharoen, K. Kovitangkoon Nov 1986

Pitfalls In The Diagnosis Of Brain Tumors In Children, S. Phancharoen, K. Kovitangkoon

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Cushing's Syndrome, M. Chalaprawat Nov 1986

Cushing's Syndrome, M. Chalaprawat

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Therapeutic Drug Monitoring In Patients Treated At The Chulalongkorn Hospital, A. Auansakul, A. Homchan Nov 1986

Therapeutic Drug Monitoring In Patients Treated At The Chulalongkorn Hospital, A. Auansakul, A. Homchan

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


A Preliminary Survey Of Crytosporidiosis In Children With Diarrhea, S. Jongwutiwes, P. Kraivichian, M. Kulkumthorn, B. Vivatvakin, M. Jaroenkorn Nov 1986

A Preliminary Survey Of Crytosporidiosis In Children With Diarrhea, S. Jongwutiwes, P. Kraivichian, M. Kulkumthorn, B. Vivatvakin, M. Jaroenkorn

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Vibrio Vulnificus Infection, S. Pattanaungkul, P. Suwangool, P. Moollaor, S. Reinprayoon Nov 1986

Vibrio Vulnificus Infection, S. Pattanaungkul, P. Suwangool, P. Moollaor, S. Reinprayoon

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Pathogenesis Of Chronic Diabetic Complications, W. Lueprasitkul, V. Sridama Nov 1986

Pathogenesis Of Chronic Diabetic Complications, W. Lueprasitkul, V. Sridama

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Extensive Intrapulmonary Metastases And Pleural Involvement In Primary Bronchogenic Ademocarcinoma Mimicking Metastases From Primary Extrapulmonary Cancer And Massive Pleural Effusion, Samruay Shuangshoti. Oct 1986

Extensive Intrapulmonary Metastases And Pleural Involvement In Primary Bronchogenic Ademocarcinoma Mimicking Metastases From Primary Extrapulmonary Cancer And Massive Pleural Effusion, Samruay Shuangshoti.

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Technique For Laboratory Diagnosis Of Infectious Disease (Recent Progress), N. Dhamabutra, P. Suwanakul, A. Chongthaleong, S. La-Or-Patanakul Oct 1986

Technique For Laboratory Diagnosis Of Infectious Disease (Recent Progress), N. Dhamabutra, P. Suwanakul, A. Chongthaleong, S. La-Or-Patanakul

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Reference Values In Clinical Chemistry, S. Chinayon Oct 1986

Reference Values In Clinical Chemistry, S. Chinayon

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.