Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Digital Commons Network

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Articles 61 - 90 of 189

Full-Text Articles in Entire DC Network

Effect Of Dieatary Alpha Benzene Hexachloride And Aflatoxin B In Rats, Subhkij Angsubhakorn, Kanda Romruen, Sompong Sahaphong, Makoto Miyamoto Jun 1981

Effect Of Dieatary Alpha Benzene Hexachloride And Aflatoxin B In Rats, Subhkij Angsubhakorn, Kanda Romruen, Sompong Sahaphong, Makoto Miyamoto

The Thai Journal of Veterinary Medicine

Male Buffalo rats were fed a control basal diet and diet containing a. α -BHC (500 ppm); b. AFB1 (1 ppm); and c. α -BHC (500 ppm) plus AFB1 (1 ppm) for period of 5,10,15,35, weeks. The diets were then replaced with Chow pellets for 30 weeks. The livers of the fed α-BHC or α-BHC plus AFB1 were markedly increased in size and exhibited centrolobular hepatic hypertrophy in comparison with the livers of the rats receiving AFB1 alone or those of the control. By Week 35, α-BHC produced large hepatic cytoplasmic inclusions and these changes were reversible at week 65. …


Short Communication (การติดเชื้อร่วมของฝีดาษและเชื้อราแคนดิต้าในนกแก้วออสเตรเลีย), เล็ก อัศวพลังชัย, อรวรรณ นวีภาพ, อลงกรณ์ มหรรณพ Jun 1981

Short Communication (การติดเชื้อร่วมของฝีดาษและเชื้อราแคนดิต้าในนกแก้วออสเตรเลีย), เล็ก อัศวพลังชัย, อรวรรณ นวีภาพ, อลงกรณ์ มหรรณพ

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


รายงานเบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาปัญหาการเป็นสัดช้าในแม่สุกรหลังหย่านมและวิธีแก้ไข ในฟาร์มสุกร โครงการหมู่บ้านเกษตรกรรมกำแพงเพชร, คัมภีร์ กอธีระกุล, สมชาย เลาห์วีระพานิช Jun 1981

รายงานเบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาปัญหาการเป็นสัดช้าในแม่สุกรหลังหย่านมและวิธีแก้ไข ในฟาร์มสุกร โครงการหมู่บ้านเกษตรกรรมกำแพงเพชร, คัมภีร์ กอธีระกุล, สมชาย เลาห์วีระพานิช

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ศึกษาการแก้ไขปัญหาการไม่เป็นสัดในแม่สุกรหลังหย่านม ซึ่งพบมีตั้งแต่ 16-53% ต่อเดือน ในฟาร์มโครงการหมู่บ้านเกษตรกรรมกำแพงเพชร ตั้งแต่เดือน พฤษภาคมถึงเดือนสิงหาคม 2523 แม่สุกรที่ไม่แสดงอาการเป็นสัดหลังหย่านมระยะต่าง ๆ กัน จำนวน 61 ราย ถูกแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ๆ แรก จำนวน 25 ตัวได้รับการฉีดสาร โปรสตาแกลนดินเอฟทอัลฟ่า จำนวน 125 - 200 ไมโครกรัม ในวันที่ 26.56 ± 10.80 วัน (ระยะ 6-48 วัน) หลังหย่านมแม่สุกรทุกตัวแสดงอาการเป็นสัดภายใน 7.04 ± 6.00 วัน ได้รับการผสมและติด 68% กลุ่มที่ 2 จำนวน 11 ตัว ได้รับ gonado- trophic hormone (FSH ขนาด 400 IU และ LH 400 IU) ในวันที่ 37.64 ± 22.03 วัน (ระยะ 13-78 วัน) แสดงอาการเป็นสัดทุกตัวใน 6.64 ± 5.77 วันหลัง ฉีดและผสมติด 72.70% ส่วนในกลุ่มที่ 3 ใช้ฉีด E.C.P. ขนาด 2 มก. แก่แม่สุกร 15 ตัว ซึ่งไม่เป็นสัดเป็นเวลา 24.57 ± 18.15 วัน (ระยะ 10-70 วัน) หลังฉีดเกิด การเป็นสัดภายใน 4.29 ± 4.63 วัน ผสมติด …


ประสิทธิภาพของยา Canex Plus ต่อพยาธิในทางเดินอาหารสุนัข, นิคม เสวกาพานิช, งามตา ศรีสกุล, นาลละออ สงวนดิสกุล, มานพ ม่วงใหญ่ Jun 1981

ประสิทธิภาพของยา Canex Plus ต่อพยาธิในทางเดินอาหารสุนัข, นิคม เสวกาพานิช, งามตา ศรีสกุล, นาลละออ สงวนดิสกุล, มานพ ม่วงใหญ่

The Thai Journal of Veterinary Medicine

การทดลองใช้ยา Canex Plus (R) ซึ่งประกอบด้วย Oxantel pamoate a Pyrantel pamoate เพื่อกำจัดพยาธิในทางเดินอาหารของสุนัขซึ่งเป็น สาเหตุที่สำคัญยิ่งปัญหาหนึ่งโดยการให้ยาครั้งเดียวในขนาด 1 เม็ด/น้ำหนักตัว 7 กิโลกรัม ในสุนัขทดลองจำนวน 15 ตัว แล้วดูผลของยาถ่ายพยาธิ 3 วันหลังให้ยาเปรียบเทียบ กับสุนัขอีกกลุ่มจำนวน 8 ตัวที่ไม่ได้ให้ยา พบว่า Canex Plus (R) สามารถลดจำนวน ไข่พยาธิแส้ม้าได้ 100% ใน 3 วัน แต่ลดจำนวนไข่พยาธิปากขอและพยาธิไส้เดือนได้ ไม่หมดทุกตัว และเมื่อคํานวณหาค่าประสิทธิภาพของยานี้ต่อตัวแก่ของพยาธิแส้ม้าได้ 94.44% ต่อพยาธิปากขอได้ 62.39% และต่อมาพยาธิไส้เดือนได้ 100% แต่ไม่ได้ผล ต่อพยาธิตัวจี๊ดและพยาธิเม็ดแตงกวา


Comparison Of The Efficacy Of Linco-Spectin Pig Pump And Biosol-M Pump For Prevention And Treatment Of Bacterial Enteritis In Neonatal Swine, Somlak Poungshompoo, Weeboon Sringkapaibul Jun 1981

Comparison Of The Efficacy Of Linco-Spectin Pig Pump And Biosol-M Pump For Prevention And Treatment Of Bacterial Enteritis In Neonatal Swine, Somlak Poungshompoo, Weeboon Sringkapaibul

The Thai Journal of Veterinary Medicine

438 day-old-piglets from 45 litters and 454 piglets from 127 litters were used for the prevention and treatment purposes in this study which E-coli (70.03%) was the dominant pathogen on this experimental farm. For the first trial, each piglet in each litter was randomly divided into three groups. A single oral dose of Linco-Spectin Pig Pump was administered to the group of 144 piglets compared to another two group of 144 piglets and 150 piglets which were treated with Biosol-M pump and negative control respectively. For the second trial, piglets in each litter which exhibited signs of enteritis were alternately …


ข้อสังเกตบางประการจากการใช้ Glyceryl Guaiacolate และ Methitural Thiobarbiturate เป็นยาสลบในม้า, ธีระศักดิ์ ตรัยมงคลกูล, ชาติชาย พวงชมภู Jun 1981

ข้อสังเกตบางประการจากการใช้ Glyceryl Guaiacolate และ Methitural Thiobarbiturate เป็นยาสลบในม้า, ธีระศักดิ์ ตรัยมงคลกูล, ชาติชาย พวงชมภู

The Thai Journal of Veterinary Medicine

การใช้ Glyceryl Guaiacolate ร่วมกับ Methitural Thiobarbiturate วางยาสลบม้า โดยมี Promazine hydrochloride เป็น premedication ทําให้ม้าสลบได้อย่างนุ่มนวล หมดความรู้สึกเจ็บปวดพร้อมกับมีการหย่อนตัวของกล้ามเนื้อ อย่างสมบูรณ์ ปราศจากผลกระทบกระเทือนต่อระบบหายใจและระบบสูบฉีดโลหิต ระยะฟื้นตัวเป็นไปอย่างนุ่มนวลโดยไม่มีอาการแทรกซ้อนใด ๆ เกิดขึ้น


ย่อเอกสาร, N/A Jun 1981

ย่อเอกสาร, N/A

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


รายงานสัตว์ป่วย: 1. การแพร่ของก้อนเนื้องอกวีเนอเรียลแกรนูโลม่าที่อวัยวะสืบพันธุ์ไปยังผิวหนังในสุนัขเพศผู้, พัชรี สรรพการพาณิช, ชัยณรงค์ โลหชิต, พีระศักดิ์ จันทร์ประทีป Jun 1981

รายงานสัตว์ป่วย: 1. การแพร่ของก้อนเนื้องอกวีเนอเรียลแกรนูโลม่าที่อวัยวะสืบพันธุ์ไปยังผิวหนังในสุนัขเพศผู้, พัชรี สรรพการพาณิช, ชัยณรงค์ โลหชิต, พีระศักดิ์ จันทร์ประทีป

The Thai Journal of Veterinary Medicine

สุนัขพันธุ์สปิทซ์เพศผู้ อายุ 5 ปี มีเลือดออกจากปลายหนังหุ้มอวัยวะเพศ ตรวจพบก้อนเนื้อลักษณะคล้ายดอกกระหล่ำสีชมพูที่อวัยวะสืบพันธุ์ นอกจากนี้ยังพบก้อน เนื้อลักษณะคล้ายกันที่ผิวหนัง บริเวณรักแร้ซ้าย หัวเข่าซ้าย และบริเวณฝีเย็บ (perineal area) รักษาด้วยการผ่าตัดโดยการเลาะเอาก้อนเนื้อดังกล่าวทั้งหมดออก ตรวจก้อนเนื้อทางจุลพยาธิวิทยาพบเป็นก้อนเนื้อชนิดแกรนูโลม่า (transmisible venereal tumour) หลังจากนั้น 3 เดือน ตรวจพบมีการเจริญใหม่ของก้อนเนื้องอก แกรนูโลม่าที่เยื่อบุภายใน ของหนังหุ้มอวัยวะเพศ จึงได้ทําการเลาะก้อนเนื้อออกอีก ครั้งหนึ่ง และสุนัขได้หายเป็นปกติในสองสัปดาห์ต่อมา


2. ก้อนเนื้อร้ายเมลาโนมาที่ผิวหนังสุนัข, พัชรี สรรพการพาณิช, เทอด เทศประทีป Jun 1981

2. ก้อนเนื้อร้ายเมลาโนมาที่ผิวหนังสุนัข, พัชรี สรรพการพาณิช, เทอด เทศประทีป

The Thai Journal of Veterinary Medicine

สัตว์ป่วยเป็นสุนัขเพศเมีย อายุ 9 ปี พันธุ์ดอกเกอร์สเปเนียล นำมา รักษาที่โรงพยาบาลสัตว์เล็ก คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เจ้าของสังเกตพบก้อนโตแข็ง ใต้คอด้านซ้ายแต่สุนัขไม่ได้แสดงอาการเจ็บปวด การตรวจคลําพบก้อนกลมแข็งในช่องท้องได้เก็บเลือดตรวจทางโลหิตวิทยา เปลี่ยนแปลงเป็นนัยสำคัญ การตรวจโดยฉายรังสีเอ็กซ์พบตับโต ม้ามโต relative narrowing of intervertebral space of L1-L2 spondylosis of L1-L4-L5-L6 ในระยะหลังสุนัขมีสภาพทรุดลง มีอาการเบื่ออาหาร โลหิตจาง มีการ ติดเชื้อที่ก้อนแข็งใต้คอ เจ็บปวดบริเวณส่วนท้ายของลําตัว ส่องขาหลังไม่มีแรงและไม่เดินในที่สุดเจ้าของจึงอนุญาตให้ฉีดยาทําลายสัตว์ รวมระยะเวลาการรักษาประมาณ 3 เดือนครึ่ง จากการผ่าซากและตรวจทางจุลพยาธิวิทยาพบก้อนแข็งใต้คอเป็น malignant melanoma (spindle cell type) และมีการแพร่กระจายไปที่ปอด ตับและม้าม basilar cells ของ epidermis แล้วกระจายรงควัตถุเมลานินไปในชั้น epidermis และ hair follicles ดังนั้นเนื้องอกชนิดนี้จึงพบมากที่ผิวหนังในสัตว์เกือบ ทุกชนิด แม้กระทั่งปลา (Smith et al.,1972) นอกจากนี้ก้อนเนื้องอกเมลาโนมา อาจเกิดจาก chromatophores ของม่านตาได้ (Bloom, 1942)


สุขภาพของทันตแพทย์ (ตอนที่ 4), เพ็ญศรี สิทธิสมวงศ์, สุลักษณ์ ผลานุวงศ์, สุภาพร กัณหวานิช May 1981

สุขภาพของทันตแพทย์ (ตอนที่ 4), เพ็ญศรี สิทธิสมวงศ์, สุลักษณ์ ผลานุวงศ์, สุภาพร กัณหวานิช

Chulalongkorn University Dental Journal

รายงานการศึกษาเรื่อง สุขภาพของทันตแพทย์ ตอนที่ 4 เกี่ยวกับทัศนคติของทันตแพทย์ พบว่าทันตแพทย์ร้อยละ 60.96 มีความพอใจในวิชาชีพปานกลาง และร้อยละ 42.62 ยังมีความไม่แน่ใจว่าจะประกอบอาชีพอีกนานเท่าใด และทันตแพทย์เกือบทั้งหมดให้ความเห็นว่า การบริหารร่างกายเป็นสิ่งจําเป็นและต้องการทราบวิธีการบริหารร่างกาย


รอยโรคเอ็นโดดอนติค-เพอริโอดอนติคและการรักษา, นวลฉวี หงษ์ประสงค์ May 1981

รอยโรคเอ็นโดดอนติค-เพอริโอดอนติคและการรักษา, นวลฉวี หงษ์ประสงค์

Chulalongkorn University Dental Journal

รอยโรคเอ็นโดดอนติค-เพอริโอดอนติค เป็นรอยโรคของประสาทฟัน ร่วมกับเนื้อเยื่อปริทันต์ในฟันซี่เดียวกัน ซึ่งทําให้มีอาการปวดอย่างรุนแรง บทความนี้ได้กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างประสาทฟันและเนื้อเยื่อปริทันต์, การจําแนกรอยโรค, การตรวจพิเคราะห์โรค, การแยกโรคระหว่างอาการทางประสาทฟัน กับโรคปริทันต์ และการรักษารอยโรคนี้โดยการทําการรักษาคลองรากฟัน, รักษาโรค ปริทันต์ หรือรักษาร่วมกันทั้งสองอย่างขึ้นกับลักษณะของรอยโรค


เพรซเซอร์ อินดิเคเตอร์กับงานทางทันตกรรม, ปิยวัฒน์ พันธุ์โกศล May 1981

เพรซเซอร์ อินดิเคเตอร์กับงานทางทันตกรรม, ปิยวัฒน์ พันธุ์โกศล

Chulalongkorn University Dental Journal

เพรชเชอร์ อินดิเคเตอร์ (Pressure indicator) ที่จะนํามาใช้ตรวจหาจุดกด (Pressure spot) บนฟันปลอมมีหลายชนิด แต่เพรชเชอร์อินดิเคเตอร์ เพสท์ Pressure indicator paste เป็นตัวกลางที่เหมาะที่สุด เพราะใช้ง่ายราคาถูก และให้ความถูกต้องแม่นยําสูง ถ้าใช้อย่างถูกวิธี เพสท์ ที่มีความหนืด 3 ชนิดได้ถูกแนะนําให้ใช้ในการตรวจหาจุดกดในกรณีต่าง ๆ กันตามความเหมาะสม ผู้เขียนมีความปรารถนาให้ทันตแพทย์สามารถทํา เพสท์ ทั้ง 3 ชนิดใช้เอง โดยไม่ต้องซื้อจากต่างประเทศ ซึ่งราคาแพง และมีเพียงชนิดเดียว บทความนี้ยังได้ กล่าวถึงวิธีเตรียม การเก็บรักษาและการใช้เพสท์แต่ละชนิดอย่างละเอียดอีกด้วย


การทําฟันเดือยอันใหม่เมื่อรากฟันแตก (รายงานผู้ป่วย), อิศราวัลย์ บุญศิริ May 1981

การทําฟันเดือยอันใหม่เมื่อรากฟันแตก (รายงานผู้ป่วย), อิศราวัลย์ บุญศิริ

Chulalongkorn University Dental Journal

ฟันเดือยที่ใส่ไปแล้วเกิดอุบัติเหตุทําให้ฟันเดือยหลุด จนขอบรากด้านเลเบียลแตกถึงขอบกระดูก มีวิธีการแก้ไขโดยเปิดแฟลบ (flap) ด้านเลเบียลออก แล้วพิมพ์ปากให้ได้รายละเอียดของขอบรากด้านเลเบียลที่ยังเหลืออยู่ จากนั้นจึงทําเดือยและฟันครอบอันใหม่ การทําโดยวิธีนี้จะไม่ต้องถอนฟันซึ่งเคยรักษารากไว้แล้ว


พยาธิและคลินิคสภาพขอโรคอ๊อสซิไฟอิ้ง ไฟโบรม่า ในกระดูกขากรรไกร, วินัย ศิริจิตร May 1981

พยาธิและคลินิคสภาพขอโรคอ๊อสซิไฟอิ้ง ไฟโบรม่า ในกระดูกขากรรไกร, วินัย ศิริจิตร

Chulalongkorn University Dental Journal

ในการศีกษาพยาธิและคลินิคสภาพของโรคออสซิไฟอิ้ง ไฟโบรม่า ที่แผนก ทันตพยาธิวิทยา คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ศึกษาเฉพาะ โรคที่เกิดในกระดูกขากรรไกรเท่านั้นเป็นจํานวน 33 รายหรือร้อยละ 1.03 จาก จํานวนชิ้นเนื้อทั้งหมด 3187 ราย ผลการศึกษาทางคลินิคพบว่าส่วนมากโรคจะ เกิดในผู้ป่วยวัยหนุ่มสาว โดยเฉพาะเพศหญิง ผู้ป่วยจะมีอาการบวม มีการดําเนิน การของโรค 2 ปี 7 เดือน บริเวณฟันกรามน้อยและฟันกรามของขากรรไกรล่างจะ เกิดโรคได้เสมอ ภาพถ่ายรังสีเป็นผ้ามีเงาดําและขาวปนกัน ผลการศึกษาทางจุล พยาธิวิทยาสามารถแยกโรคออกจากตระกูลไฟโบร์ออสเซียส (Fibro-osseous diseases) อื่น ๆ ได้โดยอาศัยการศึกษาด้วยวิธีปรับแสงให้มีคลื่นไปในทางเดียว กัน (Polarization) การรักษาโรคทําด้วยวิธีควักออกหมด


ปกิณกะ May 1981

ปกิณกะ

Chulalongkorn University Dental Journal

No abstract provided.


ความสัมพันธ์ระหว่างการเลี้ยงทารกด้วยนมมารดาและโรคอุจจาระร่วง, ยง ภู่วรวรรณ, รัชนี เซ็นศิริวัฒนา, สมใจ เหรียญประยูร, ประคอง โปษะกฤษณะ Mar 1981

ความสัมพันธ์ระหว่างการเลี้ยงทารกด้วยนมมารดาและโรคอุจจาระร่วง, ยง ภู่วรวรรณ, รัชนี เซ็นศิริวัฒนา, สมใจ เหรียญประยูร, ประคอง โปษะกฤษณะ

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


รังสีปริศนา, นิตยา สุวรรณเวลา, พงษ์เดช พงษ์สุวรรณ, วราภรณ์ อิสสระพานิชกิจ Mar 1981

รังสีปริศนา, นิตยา สุวรรณเวลา, พงษ์เดช พงษ์สุวรรณ, วราภรณ์ อิสสระพานิชกิจ

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


การศึกษาการผลิตกรดของกระเพาะอาหารโดยการใช้ยา Pentagastrin ในคนไทยที่ปกติ, พินิจ กุลละวณิชย์, วิมาน ศรีเจริญ, โสดา คำเกษ Mar 1981

การศึกษาการผลิตกรดของกระเพาะอาหารโดยการใช้ยา Pentagastrin ในคนไทยที่ปกติ, พินิจ กุลละวณิชย์, วิมาน ศรีเจริญ, โสดา คำเกษ

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Autoantibodies ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่สอง, สดใส เวชชาชีวะ, พิทยา จันทรกมล, ศรีจิตรา บุนนาค Mar 1981

Autoantibodies ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่สอง, สดใส เวชชาชีวะ, พิทยา จันทรกมล, ศรีจิตรา บุนนาค

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


ผลของผงชูรสต่อการแบ่งตัวของเซลล์และโครโมโซม, สุจินต์ อึ้งถาวร, อุไร อภิชิตเรืองเดช Mar 1981

ผลของผงชูรสต่อการแบ่งตัวของเซลล์และโครโมโซม, สุจินต์ อึ้งถาวร, อุไร อภิชิตเรืองเดช

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


การศึกษาเปรียบเทียบความไวของการตรวจวัดประสาท Median ด้วยไฟฟ้าในผู้ป่วยเบาหวาน, เสก อักษรานุเคราะห์, สุนิตย์ จันทรประเสริฐ, ทิพย์ประภา เปี่ยมจินดา Mar 1981

การศึกษาเปรียบเทียบความไวของการตรวจวัดประสาท Median ด้วยไฟฟ้าในผู้ป่วยเบาหวาน, เสก อักษรานุเคราะห์, สุนิตย์ จันทรประเสริฐ, ทิพย์ประภา เปี่ยมจินดา

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


Asymptomatic Neurosyphilis, ภิรมย์ กมลรัตนกุล Mar 1981

Asymptomatic Neurosyphilis, ภิรมย์ กมลรัตนกุล

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


ปริศนาคลื่นไฟฟ้าหัวใจ, จุล ทิสยากร Mar 1981

ปริศนาคลื่นไฟฟ้าหัวใจ, จุล ทิสยากร

Chulalongkorn Medical Journal

No abstract provided.


รายงานเบื้องต้นเกี่ยวกับน้ำเชื้อกระบือปลักแช่แข็ง, บุญญวัฒน์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, มานิตย์ ธนิตรวงค์, อาภรณ์ บุญคุ้ม, มานิต พันธุ์ประภา, สุรจิต ทองสอดแสง Mar 1981

รายงานเบื้องต้นเกี่ยวกับน้ำเชื้อกระบือปลักแช่แข็ง, บุญญวัฒน์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, มานิตย์ ธนิตรวงค์, อาภรณ์ บุญคุ้ม, มานิต พันธุ์ประภา, สุรจิต ทองสอดแสง

The Thai Journal of Veterinary Medicine

จากการทดลองขั้นพื้นฐานพบว่า น้ำยาละลายชนิด Egg Yolk Tris ประสิทธิภาพดีที่สุดในการทําน้ำเชื้อกระบือปลักแช่แข็ง เมื่อเปรียบเทียบกับน้ำยาละลาย อีก 2 ชนิด คือ Egg Yolk Citrate และ Citric Acid Whey จึงเลือกใช้ Egg Yolk Tris เป็นน้ำยาละลายในการทดลองผลิตน้ำเชื้อพอกระบือปลักแช่แข็ง ซึ่งได้เริ่ม ทดลองทําครั้งแรกในเดือน มิถุนายน 2521 โดยทําการรีดเก็บน้ําเชื้อจากพ่อกระบือปลัก 2 ตัว ที่สถานีผสมเทียมขอนแก่น จำนวน 44 ejaculates ในช่วงระยะเวลา 6 เดือน นำน้ำเชื้อที่รีดเก็บได้แต่ละครั้งมาเจือจางด้วย Egg Yolk Tris diluent ตามอัตรา ส่วนต่าง ๆ โดยให้มีปริมาณของตัวเชื้อเท่ากับ 30 ล้านตัวต่อปริมาตร 0.25 ลบ.ซม. ทําให้เย็นลงจนถึง 5⁰ ซ. แล้วบรรจุในกระติกน้ําแข็งที่มีอุณหภูมิ 5⁰ ซ. ส่งมาทําเป็น น้ำเชื้อแช่แข็งที่ศูนย์ผสมเทียมฯ ปทุมธานี โดยรักษาระยะ Equilibration time ให้อยู่ในระหว่าง 4-8 ชั่วโมง และบรรจุน้ำเชื้อใน French ministraw 0.25 ลบ.ซม. Freeze ในไอของไนโตรเย็นเหลวที่อุณหภูมิ – 120⁰ ซ. นาน 10 นาที ลบ.ซม.Freeze แล้วเก็บรักษาไว้ในไนโตรเยนเหลวอุณหภูมิ -196⁰ ซ. ได้ส่งน้ำเชื้อดังกล่าวไปทดลองใช้ผสมกับแม่กระบือปลักของสมาชิกผสมเทียมที่สถานีผสมเทียมเชียงใหม่, สันป่าตองและลําพูน ตั้งแต่วันที่ 15 มิถุนายน 2522 ถึงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2522 จากผลการศึกษา พบว่าค่าเฉลี่ย Motility ของน้ําเชื้อแช่แข็งที่ละลายแล้ว (Post thaw motility) เท่ากับ …


What Is Your Diagnosis, Pranee Tuntivanich Mar 1981

What Is Your Diagnosis, Pranee Tuntivanich

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


เทคนิคการเจาะเลือดจากเส้นเลือดดำจูกูล่าในไก่, เชิดชัย รัตนเศรษฐากุล Mar 1981

เทคนิคการเจาะเลือดจากเส้นเลือดดำจูกูล่าในไก่, เชิดชัย รัตนเศรษฐากุล

The Thai Journal of Veterinary Medicine

การเจาะเลือดจาก jugular vein ในไก่ทําได้โดยวิธีนั่งหรือวิธียืน เทคนิคในการเจาะเลือดทั้งสองวิธีแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย วิธีนั่งเจาะเหมาะสำหรับ ลูกไก่อายุตั้งแต่ 1 วัน ถึง 10 สัปดาห์ ส่วนวิธียืนเจาะ เหมาะสำหรับไก่อายุ 10 สัปดาห์ขึ้นไป ปริมาณเลือดเฉลี่ยที่ได้จากการเจาะเลือดจาก jugalar vein ของ ลูกไก่ 10 ตัว อายุ 1 วัน, 3 สัปดาห์ และ 10 สัปดาห์ คือ 0.6, 3.4 และ 12.1 มล. ตามลำดับ และ hematoma หลังจากการเจาะเลือดโดยวิธีนี้มีน้อยมาก


รายงานสัตว์ป่วย : เนื้องอกถุงน้ำของรังไข่ในสุนัข, ธงชัย เฉลิมชัยกิจ, ชัยณรงค์ โลหชิต, เทอด เทศประทีป Mar 1981

รายงานสัตว์ป่วย : เนื้องอกถุงน้ำของรังไข่ในสุนัข, ธงชัย เฉลิมชัยกิจ, ชัยณรงค์ โลหชิต, เทอด เทศประทีป

The Thai Journal of Veterinary Medicine

สุนัขเพศเมียรายหนึ่งพบว่าเป็นเนื้องอกถุงน้ำ (cystadenoma) ที่รังไข่ ซึ่งมีต้นกำเนิดจาก rete ovarii มีอาการเลือดปนน้ำเมือกไหลออกจากช่องคลอดเป็น เวลานาน ได้รับการรักษาโดยการผ่าตัดเอามดลูกและรังไข่ออก ผลปรากฏว่า อาการ ดังกล่าวหมดไป


Short Communications (Epitheliogenesis Imperfecta), พิมล สุดสายไทยชะนะ Mar 1981

Short Communications (Epitheliogenesis Imperfecta), พิมล สุดสายไทยชะนะ

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


ย่อเอกสาร, N/A Mar 1981

ย่อเอกสาร, N/A

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


สารหนูในไก่พันธุ์เนื้อ, ดาณิศ ทวีติยานนท์ Mar 1981

สารหนูในไก่พันธุ์เนื้อ, ดาณิศ ทวีติยานนท์

The Thai Journal of Veterinary Medicine

การให้ Arsanilic acid ผสมในอาหารไก่ด้วยขนาด Treated dose (45 - 90 gm/ton) (F.A.C., 1980) ช่วยให้ไก่เจริญเติบโตเร็วขึ้น และได้น้ำหนัก ประมาณ 2 ก.ก. ภายในเวลา 60 วัน ไก่บางตัวแสดงอาการผิดปกติให้เห็นทั้งด้วย ตาเปล่าและทางกล้องจุลทัศน์ แต่ถ้าให้ไก่กินสารดังกล่าว เพิ่มขึ้นอีก 20 เท่า จะทําให้ ไก่ไม่เจริญเติบโต มีอาการผิดปกติบริเวณที่ข้อต่อ ไก่จะเดินวางเท้าและข้อขนาดกับพื้น การตรวจโดยกล้องจุลทัศน์พบริการที่ตับและกล้ามเนื้อ ปริมาณสารหนูที่พบในอวัยวะต่าง ๆ ของไก่ทดลองใกล้เคียงกับปริมาณที่พบในไก่ที่ขายอยู่ในท้องตลาด และพบมากที่สุดที่ขนถึง 6.1 ppm.