Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Social and Behavioral Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Journal of Social Sciences

Journal

ภูมิรัฐศาสตร์

Publication Year

Articles 1 - 2 of 2

Full-Text Articles in Social and Behavioral Sciences

Post-Orientalism On The Thai-Lao Border From 1954 To 2019(สภาวะหลังบูรพคดีศึกษานิยมในการตีความชายแดนไทยลาว จากปี ค.ศ.1954 - 2019), Thanachate Wisaijorn Jan 2020

Post-Orientalism On The Thai-Lao Border From 1954 To 2019(สภาวะหลังบูรพคดีศึกษานิยมในการตีความชายแดนไทยลาว จากปี ค.ศ.1954 - 2019), Thanachate Wisaijorn

Journal of Social Sciences

This article explores how various Orientalist perspectives and their eventual hybridisation haveshaped differentconceptualisationsofspacealong theThai-Lao border. Inthiscase, theoriginal Orientalist spatial conceptualisation of borders was passed on from French during the colonial days to local academia and state practitioners along the Mekong basins. It held that the western spatial conceptualisation was objective and superior to others. It privileged the assumption that space and people should be separated according to their own state. Also, such conceptualisation was used in nationalistic policy formulation on space management by the states. However, such spatial conceptualisation became hybridised when the Westphalian border was embraced by the local …


พินิจวิกฤตยูเครน, ทิพรัตน์ บุบผะศิริ Jan 2015

พินิจวิกฤตยูเครน, ทิพรัตน์ บุบผะศิริ

Journal of Social Sciences

กรณีวิกฤตการเมืองภายในกรณี Euromaidan ยูเครนส่งผลต่อความสัมพันธ์กับรัสเชียและการเมือง ภายในยุโรปนั้นมืที่มาที่ซับซ้อนเป็นผลจากปัจจัยด้านชาติพันธ์ ประวิติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และเศรษฐกิจ ปัจจัย ดังกล่าวทำให้ซาวยูเครนไม่เคยและไม่ได้เป็นหนึ่งเดียวกันโดยเฉพาะระหว่างยูเครนด้านตะวันตกและตะวันออก ยูเครนตะวันออก ภาคใต้ รวมถึงคาบสมุทรใครเมียมีความผูกพันกับรัสเชียอย่างมาก ต่างจากยูเครนตะวันตก ที่มองว่าประวัติศาสตร์ของตนนั้นแยกจากรัสเชียซัดเจน ทำให้ซาวยูเครนทั้งสองกลุ่มเห็นต่างกันในการดำเนิน ความสัมพันธ์กับรัสเชีย ในขณะที่รัสเชียมองว่าเกียรติภูมิในฐานะมหาอำนาจของรัสเชียอันถือว่าตนเป็น ศูนย์กลางของชาติพันธุ์รัสและนิกายออร์โธดอกซ์ตะวันออกมืเคียฟ ยูเครนตะวันออก และไครเมียร่วมอยู่ด้วย ตลอด ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของยูเครนยังมีความสำคัญด้านยุทธศาสตร์ความมั่นคงและด้านเศรษฐกิจต่อรัสเชีย ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงทำให้แม้ยูเครนจะได้แยกตัวออกจากสหภาพโซเวียต (อันมีรสเชียเป็นศูนย์กลาง) เป็นชาติ เอกราชแต่รัสเชียยังคงต้องการคงอิทธิพลเหนึอยูเครนโดยมิอาจยินยอมให้มหาอำนาจอื่นใดเข้ามาสร้างอิทธิพล แข่งได้ วิกฤตยูเครนจึงเป็นวิกฤตการเมืองภายในที่ต่อเนื่องส่งผลให้เกิดวิกฤตภูรณภาพแห่งดินแดนที่เกี่ยวข้อง กับการเมืองระหว่างประเทศ