Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Physical Sciences and Mathematics Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Articles 1 - 30 of 233

Full-Text Articles in Physical Sciences and Mathematics

การแพร่กระจายของโลหะหนักที่ปนเปื้อน จากกิจกรรมการคัดแยกขยะอิเล็กทรอนิกส์ เข้าสู่ระบบระบายนํ้า, ศีลาวุธ ดำรงศิริ Oct 2017

การแพร่กระจายของโลหะหนักที่ปนเปื้อน จากกิจกรรมการคัดแยกขยะอิเล็กทรอนิกส์ เข้าสู่ระบบระบายนํ้า, ศีลาวุธ ดำรงศิริ

Environmental Journal

No abstract provided.


การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของดินเบาไดอะตอมไมต์ในการบำบัดนํ้าเสียเอสบีอาร์จากฟาร์มสุกร, ละมาย จันทะขาว Oct 2017

การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของดินเบาไดอะตอมไมต์ในการบำบัดนํ้าเสียเอสบีอาร์จากฟาร์มสุกร, ละมาย จันทะขาว

Environmental Journal

No abstract provided.


สถานการณ์การปนเปื้อนตะกั่วในสิ่งแวดล้อมบริเวณลำห้วยคลิตี้, สุพัฒน์ ปลื้มปัญญา, เพ็ญรดี จันทร์ภิวัฒน์ Oct 2017

สถานการณ์การปนเปื้อนตะกั่วในสิ่งแวดล้อมบริเวณลำห้วยคลิตี้, สุพัฒน์ ปลื้มปัญญา, เพ็ญรดี จันทร์ภิวัฒน์

Environmental Journal

No abstract provided.


มิติทางสังคมกับการใช้ประโยชน์แม่น้ำลี้, สามารถ ใจเตี้ย Oct 2017

มิติทางสังคมกับการใช้ประโยชน์แม่น้ำลี้, สามารถ ใจเตี้ย

Environmental Journal

No abstract provided.


Chula Zero Waste แผนปฏิบัติการจัดการขยะอย่างยั่งยืนในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สุจิตรา วาสนาดำารงดี Oct 2017

Chula Zero Waste แผนปฏิบัติการจัดการขยะอย่างยั่งยืนในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สุจิตรา วาสนาดำารงดี

Environmental Journal

No abstract provided.


สาระสำคัญจากงานเสวนาวิกฤตขยะบกสู่แพขยะในทะเลจะแก้อย่างไร, สุจิตรา วาสนาดำารงดี Oct 2017

สาระสำคัญจากงานเสวนาวิกฤตขยะบกสู่แพขยะในทะเลจะแก้อย่างไร, สุจิตรา วาสนาดำารงดี

Environmental Journal

No abstract provided.


สบู่ดำ สารฟอร์บอลเอสเทอร์กับคุณประโยชน์ที่มากกว่าพลังงานทดแทน, ณภัสนันท์ พสุการัชต์ชัย Oct 2017

สบู่ดำ สารฟอร์บอลเอสเทอร์กับคุณประโยชน์ที่มากกว่าพลังงานทดแทน, ณภัสนันท์ พสุการัชต์ชัย

Environmental Journal

No abstract provided.


เลี้ยงไก่ไข่...หลังบ้านสู่การบริโภคเพื่อสุขภาพ, แทน รังเสาร์ Oct 2017

เลี้ยงไก่ไข่...หลังบ้านสู่การบริโภคเพื่อสุขภาพ, แทน รังเสาร์

Environmental Journal

No abstract provided.


รูปแบบการเตรียมพร้อมสำหรับการอยู่อาศัยชุมชนบนรอยเลื่อนแผ่นดินไหว จังหวัดเชียงราย, ศักดิธัช เสริมศรี Jul 2017

รูปแบบการเตรียมพร้อมสำหรับการอยู่อาศัยชุมชนบนรอยเลื่อนแผ่นดินไหว จังหวัดเชียงราย, ศักดิธัช เสริมศรี

Environmental Journal

No abstract provided.


การพัฒนานวัตกรรมเพื่อการแจ้งเตือนภัยพิบัติแผ่นดินไหวของชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัย จังหวัดเชียงราย, สิปราง เจริญผล Jul 2017

การพัฒนานวัตกรรมเพื่อการแจ้งเตือนภัยพิบัติแผ่นดินไหวของชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัย จังหวัดเชียงราย, สิปราง เจริญผล

Environmental Journal

No abstract provided.


การถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมงานวิจัยสู่การนำไปใช้ในพื้นที่, เสาวนีย์ วิจิตรโกสุม Jul 2017

การถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมงานวิจัยสู่การนำไปใช้ในพื้นที่, เสาวนีย์ วิจิตรโกสุม

Environmental Journal

No abstract provided.


'สาส์นบนศิลา' ศิลาจารึก ณ พระจุฑาธุชราชฐานกับการเสื่อมสภาพจากสิ่งแวดล้อม, สิรินารี เงินเจริญ Jul 2017

'สาส์นบนศิลา' ศิลาจารึก ณ พระจุฑาธุชราชฐานกับการเสื่อมสภาพจากสิ่งแวดล้อม, สิรินารี เงินเจริญ

Environmental Journal

No abstract provided.


สิ่งแวดล้อมศึกษา : กระบวนการเรียนรู้ผ่านการลงมือทำอย่างเท่าเทียม, พิชญา ปิยจันทร์ Jul 2017

สิ่งแวดล้อมศึกษา : กระบวนการเรียนรู้ผ่านการลงมือทำอย่างเท่าเทียม, พิชญา ปิยจันทร์

Environmental Journal

No abstract provided.


แผนปฏิบัติการระดับท้องถิ่น 21 (Local Agenda 21) สู่การขับเคลื่อนชุมชนคาร์บอนตํ่าของประเทศไทย, อุ่นเรือน เล็กน้อย Jul 2017

แผนปฏิบัติการระดับท้องถิ่น 21 (Local Agenda 21) สู่การขับเคลื่อนชุมชนคาร์บอนตํ่าของประเทศไทย, อุ่นเรือน เล็กน้อย

Environmental Journal

No abstract provided.


การติดตามตรวจสอบสิ่งแวดล้อมโดยวิธีทางชีวภาพ, พรรณทิพย์ กาหยี Jul 2017

การติดตามตรวจสอบสิ่งแวดล้อมโดยวิธีทางชีวภาพ, พรรณทิพย์ กาหยี

Environmental Journal

No abstract provided.


การใช้ประโยชน์วัสดุชีวมวลเหลือใช้ทางการเกษตรสำหรับกักเก็บคาร์บอนและดูดซับสารอินทรีย์ระเหยง่ายในชั้นบรรยากาศ, สุทธิรัตน์ กิตติพงษ์วิเศษ Jul 2017

การใช้ประโยชน์วัสดุชีวมวลเหลือใช้ทางการเกษตรสำหรับกักเก็บคาร์บอนและดูดซับสารอินทรีย์ระเหยง่ายในชั้นบรรยากาศ, สุทธิรัตน์ กิตติพงษ์วิเศษ

Environmental Journal

No abstract provided.


บทบรรณาธิการ Jul 2017

บทบรรณาธิการ

Environmental Journal

No abstract provided.


กังหันน้ำชัยพัฒนา นวัตกรรมตามพระราชดำริ, สุเมธ ตันติเวชกุล Apr 2017

กังหันน้ำชัยพัฒนา นวัตกรรมตามพระราชดำริ, สุเมธ ตันติเวชกุล

Environmental Journal

No abstract provided.


เศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ : วิถีสู่ความยั่งยืนจากคำสอนของพ่อ, อุ่นเรือน เล็กน้อย Apr 2017

เศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ : วิถีสู่ความยั่งยืนจากคำสอนของพ่อ, อุ่นเรือน เล็กน้อย

Environmental Journal

No abstract provided.


น้ำจากฟ้า ... งานวิจัยจากพระเมตตาสู่การเยียวยาภัยแล้ว, ปนิธิ เสมอวงษ์ Apr 2017

น้ำจากฟ้า ... งานวิจัยจากพระเมตตาสู่การเยียวยาภัยแล้ว, ปนิธิ เสมอวงษ์

Environmental Journal

No abstract provided.


แกล้งดิน ... กุญแจ ...ไปสู่ความสำเร็จการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวจัด มรดกแห่งภูมิปํยหาที่พ่อสร้าง...สู่การพัฒนาอาชีพ, กิตติศักดิ์ ประชุมทอง Apr 2017

แกล้งดิน ... กุญแจ ...ไปสู่ความสำเร็จการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวจัด มรดกแห่งภูมิปํยหาที่พ่อสร้าง...สู่การพัฒนาอาชีพ, กิตติศักดิ์ ประชุมทอง

Environmental Journal

No abstract provided.


ระบบนิเวศผสมผสานในบ้านพ่อ สู่ต้นแบบวิถีนิเวศเกษตรที่ยั่งยืน, ฝอยฝา ชุติดำรง Apr 2017

ระบบนิเวศผสมผสานในบ้านพ่อ สู่ต้นแบบวิถีนิเวศเกษตรที่ยั่งยืน, ฝอยฝา ชุติดำรง

Environmental Journal

No abstract provided.


พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลเดช บรมนาถบพิตร ในการจัดการทรพัยากรชายฝั่งทะเล, ปริยาตร ซาลิมี Apr 2017

พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลเดช บรมนาถบพิตร ในการจัดการทรพัยากรชายฝั่งทะเล, ปริยาตร ซาลิมี

Environmental Journal

No abstract provided.


สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถในพระบาทสเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลเดช บรมนาถบพิตร ในการอนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล, สุเทพ เจือละออ Apr 2017

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถในพระบาทสเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลเดช บรมนาถบพิตร ในการอนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล, สุเทพ เจือละออ

Environmental Journal

No abstract provided.


แหลมผักเบี้ยวิถีบำบัดน้ำตามแนวทางพ่อ, เกษม จันทร์แก้ว Apr 2017

แหลมผักเบี้ยวิถีบำบัดน้ำตามแนวทางพ่อ, เกษม จันทร์แก้ว

Environmental Journal

No abstract provided.


บทบรรณาธิการ Apr 2017

บทบรรณาธิการ

Environmental Journal

No abstract provided.


ผลของตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดกรดและเบสต่อผลผลิตน้ำมันชีวภาพของไพโรไลซิสเหง้ามันสำปะหลังในเครื่องปฏิกรณ์แบบต่อเนื่อง, กันต์ธีรา คำภีระ Jan 2017

ผลของตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดกรดและเบสต่อผลผลิตน้ำมันชีวภาพของไพโรไลซิสเหง้ามันสำปะหลังในเครื่องปฏิกรณ์แบบต่อเนื่อง, กันต์ธีรา คำภีระ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

เหง้ามันสำปะหลังคือส่วนเหลือใช้จากกระบวนการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง โดยมีปริมาณมากถึง 6,000,000 ตันต่อปี งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการผลิตน้ำมันชีวภาพจากเหง้ามันสำปะหลังด้วยกระบวนการไพโรไลซิสแบบต่อเนื่อง โดยทำการศึกษาตัวแปรที่มีผล 4 ตัวแปรดังนี้ ขนาดอนุภาคในช่วง 0.3-3 มิลลิเมตร อุณหภูมิ 400-500 องศาเซลเซียส อัตราการป้อนสาร 3.2-32.8 กรัมต่อนาที และอัตราการไหลของแก๊สไนโตรเจน 50-250 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อนาที จากผลการทดลองพบว่าภาวะที่เหมาะสมที่สุดคือ ขนาดอนุภาค 2-3 มิลลิเมตร อุณหภูมิ 500 องศาเซลเซียส อัตราการป้อนสาร 18 กรัมต่อนาที และอัตราการไหลของแก๊สไนโตรเจน 150 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อนาที โดยที่ภาวะนี้ให้ปริมาณผลิตภัณฑ์น้ำมันชีวภาพมากถึงร้อยละ 43.04 ในงานวิจัยนี้ยังได้ศึกษาผลของตัวเร่งปฏิกิริยาต่อการผลิตน้ำมันชีวภาพ โดยใช้ศึกษาตัวเร่งปฏิกิริยาแคลไซน์โดโลไมต์ (ตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดเบส), ตัวเร่งปฏิกิริยา FCC ใช้แล้ว (ตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดกรด) และตัวเร่งปฏิกิริยาผสม (แคลไซน์โดโลไมต์ : FCC ใช้แล้ว = 1:1) จากผลการทดลองพบว่าการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยามีผลให้ปริมาณน้ำมันชีวภาพลดลง ปริมาณผลิตภัณฑ์แก๊สเพิ่มขึ้น แต่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพน้ำมันชีวภาพโดยลดปริมาณองค์ประกอบ Long residue hydrocarbon และเพิ่มปริมาณองค์ประกอบ Kerosine ได้ โดยเฉพาะตัวเร่งปฏิกิริยา FCC ใช้แล้วที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของน้ำมันชีวภาพได้โดยเพิ่มอัตราส่วนองค์ประกอบกลุ่มแอลเคน และแอลไคน์ได้ โดยลดสัดส่วนองค์ประกอบสารประกอบที่มีหมู่ออกซิเจนได้


ผลของสารตัวเติมไฮบริดเซลลูโลส/นาโนซิลิกาต่อสมบัติของพอลิแล็กทิกแอสิดคอมพอสิต, กิตติธร เลิศพิรุณ Jan 2017

ผลของสารตัวเติมไฮบริดเซลลูโลส/นาโนซิลิกาต่อสมบัติของพอลิแล็กทิกแอสิดคอมพอสิต, กิตติธร เลิศพิรุณ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้เริ่มต้นด้วยการเตรียมตัวเติมไฮบริดเซลลูโลส/นาโนซิลิกาที่ดัดแปรพื้นผิวด้วยสารดัดแปรเฮกซะเดซิลไตรเมทอกซีไซเลนผ่านปฏิกิริยาไซเลไนเซชันเพื่อให้มีสภาพผิวเป็นไฮโดรโฟบิก โดยใช้อัตราส่วนของตัวเติมเซลลูโลส/นาโนซิลิกา : สารดัดแปรเท่ากับ 1 : 1 และ 1 : 0.25 โดยน้ำหนัก จากนั้นเตรียมมาสเตอร์แบทช์ของพอลิแล็กทิกแอซิดคอมพอสิตด้วยตัวเติมไฮบริดดัดแปรที่เตรียมได้ปริมาณร้อยละ 10 โดยน้ำหนัก ด้วยเครื่องอัดรีดแบบเกลียวคู่ จากนั้นนำมาสเตอร์แบทช์ที่เตรียมได้ไปผสมกับพอลิแล็กทิกแอซิดแบบหลอมเหลวอีกครั้งเพื่อลดปริมาณตัวเติมไฮบริดเซลลูโลส/นาโนซิลิกาดัดแปรในพอลิแล็กทิกแอซิดให้เหลือร้อยละ 1, 3 และ 5 โดยน้ำหนัก ด้วยเครื่องอัดรีดแบบเกลียวคู่ที่ใช้อุณหภูมิภายในบาเรลล์จากโซนป้อนถึงหัวดายเท่ากับ 195/190/180/165/150 องศาเซลเซียส จากนั้นขึ้นรูปชิ้นงานพอลิแล็กทิกแอซิดคอมพอสิตด้วยเครื่องฉีดแบบสำหรับทดสอบสมบัติเชิงกลและการย่อยสลายทางชีวภาพ จากการทดสอบ พบว่า พอลิแล็กทิกแอซิดคอมพอสิตที่เตรียมจากตัวเติมไฮบริดดัดแปรด้วย 2 ระบบ ปริมาณร้อยละ 10 โดยน้ำหนัก มีความทนแรงกระแทกเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.1 และ 3.0 และมีความทนแรงดึงเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.9 และลดลงร้อยละ 1.6 เมื่อใช้ตัวเติมเซลลูโลส : สารดัดแปร 1 : 1 และ 1 : 0.25 ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบกับพอลิแล็กทิกแอซิดบริสุทธิ์ อย่างไรก็ตาม พอลิแล็กทิกแอซิดคอมพอสิตที่ใส่ตัวเติมไฮบริดเซลลูโลส/นาโนซิลิกาดัดแปรร้อยละ 1, 3 และ 5 โดยน้ำหนัก มีสมบัติเชิงกลต่ำกว่าคอมพอสิตที่ใส่ไฮบริดเซลลูโลส/นาโนซิลิกาดัดแปรร้อยละ 10 โดยน้ำหนัก ทั้งนี้เนื่องจากการแตกสลายของพอลิแล็กทิกแอซิดในส่วนผสมมาสเตอร์แบทช์เมื่อได้รับความร้อน 2 ครั้ง ขณะที่มาสเตอร์แบทช์ถูกนำไปฉีดขึ้นรูปโดยตรง ตัวเติมไฮบริดเซลลูโลส/นาโนซิลิกาดัดแปรร้อยละ 10 โดยน้ำหนัก จึงสามารถเสริมแรงให้กับพอลิแล็กทิกแอซิด และส่งเสริมการเร่งย่อยสลายของพอลิแล็กทิกแอซิดคอมพอสิตภายใต้สภาวะการฝังดินด้วยกลไกการดูดซึมน้ำ เพื่อนำพาจุลินทรีย์เข้าไปย่อยสลายเซลลูโลสได้เป็นกรดแล็กทิก และซิลิกาจะปลดปล่อยกรดไซลิซิก กรดที่เกิดขึ้นจะเร่งการสลายตัวของพอลิแล็กทิกแอซิดผ่านกลไกไฮโดรไลติก ไฮโดรลิซิส จึงทำให้คอมพอสิตสลายตัวได้เร็วกว่าพอลิแล็กทิกบริสุทธิ์


ผลของตัวเติมไฮบริดสตาร์ช/นาโนซิลิกาต่อสมบัติของพอลิแล็กทิกแอซิดคอมพอสิต, จินดามาศ สรรพทรัพย์สิริ Jan 2017

ผลของตัวเติมไฮบริดสตาร์ช/นาโนซิลิกาต่อสมบัติของพอลิแล็กทิกแอซิดคอมพอสิต, จินดามาศ สรรพทรัพย์สิริ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้เริ่มต้นด้วยการเตรียมตัวเติมไฮบริดสตาร์ช/นาโนซิลิกาที่ดัดแปรพื้นผิวด้วยสารดัดแปรเฮกซะเดซิลไตรเมทอกซีไซเลนผ่านปฏิกิริยาไซเลไนเซชันเพื่อให้มีสภาพผิวเป็นไฮโดรโฟบิก โดยใช้อัตราส่วนของตัวเติมสตาร์ช/นาโนซิลิกา : สารดัดแปรเท่ากับ 4 : 1 และ 1 : 1 โดยน้ำหนัก จากนั้นเตรียมมาสเตอร์แบทช์ของพอลิแล็กทิกแอซิดคอมพอสิตด้วยตัวเติมไฮบริดดัดแปรที่เตรียมได้ปริมาณร้อยละ 10 โดยน้ำหนัก ด้วยเครื่องอัดรีดแบบเกลียวคู่ จากนั้นนำมาสเตอร์แบทช์ที่เตรียมได้ไปผสมกับพอลิแล็กทิกแอซิดแบบหลอมเหลวอีกครั้งเพื่อลดปริมาณตัวเติมไVบริดสตาร์ช/นาโนซิลิกาดัดแปรในพอลิแล็กทิกแอซิดให้เหลือร้อยละ 1, 3 และ 5 โดยน้ำหนัก ด้วยเครื่องอัดรีดแบบเกลียวคู่ที่ใช้อุณหภูมิภายในบาเรลล์จากโซนป้อนถึงหัวดายเท่ากับ 150/160/170/180/190 องศาเซลเซียส จากนั้นขึ้นรูปชิ้นงานพอลิแล็กทิกแอซิดคอมพอสิตด้วยเครื่องฉีดแบบสำหรับทดสอบสมบัติเชิงกลและการย่อยสลายทางชีวภาพ จากการทดสอบ พบว่า พอลิแล็กทิกแอซิดคอมพอสิตที่เตรียมจากตัวเติมไฮบริดดัดแปรด้วย 2 ระบบ ปริมาณร้อยละ 10 โดยน้ำหนัก มีความทนแรงกระแทกเพิ่มขึ้นร้อยละ 17.4 และ 12.6 และมีความทนแรงดึงเพิ่มขึ้นร้อยละ 25.3 และ 18.8 เมื่อใช้ตัวเติมไฮบริด : สารดัดแปรที่อัตราส่วน 4 : 1 และ 1 : 1 โดยน้ำหนัก ตามลำดับ เหนือกว่าพอลิแล็กทิกแอซิดบริสุทธิ์ อย่างไรก็ตาม พอลิแล็กทิกแอซิดคอมพอสิตที่ใส่ตัวเติมไฮบริดสตาร์ช/นาโนซิลิกาดัดแปรร้อยละ 1, 3 และ 5 โดยน้ำหนัก มีสมบัติเชิงกลต่ำกว่าคอมพอสิตที่ใส่ไฮบริดสตาร์ช/นาโนซิลิกา ดัดแปรร้อยละ 10 โดยน้ำหนัก ทั้งนี้เนื่องจากการแตกสลายของคอมพอสิตเมื่อได้รับความร้อนขณะทำการผสม 2 ขั้นตอน ดังนั้น การใส่ตัวเติมไฮบริดสตาร์ช/นาโนซิลิกาดัดแปรร้อยละ 10 โดยน้ำหนัก สามารถเสริมแรงให้กับพอลิแล็กทิกแอซิด และส่งเสริมการย่อยสลายของพอลิแล็กทิกแอซิดคอมพอสิตภายใต้สภาวะการฝังดินด้วยปฏิกิริยาจากเอนไซม์ของจุลินทรีย์ที่อยู่ในดิน ซึ่งส่งผลให้เกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสและการย่อยสลายของคอมพอสิตไปพร้อมๆ กัน พร้อมทั้งปลดปล่อยกรดแล็กทิกและซาลิไซลิก


การผลิตไฮโดรเจนจากรีฟอร์มิงด้วยไอน้ำของกลีเซอรอลดิบและกลีเซอรอลบริสุทธิ์, นิพิฐพนธ์ ปะนามะสา Jan 2017

การผลิตไฮโดรเจนจากรีฟอร์มิงด้วยไอน้ำของกลีเซอรอลดิบและกลีเซอรอลบริสุทธิ์, นิพิฐพนธ์ ปะนามะสา

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้มีเป้าหมายเพื่อศึกษาผลของปัจจัยดำเนินการที่ส่งผลต่อการผลิตไฮโดรเจนจาก รีฟอร์มิงด้วยไอน้ำของกลีเซอรอลบริสุทธิ์และกลีเซอรอลดิบ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้จากกระบวนการผลิตน้ำมันไบโอดีเซล และศึกษาผลของสิ่งเจือปนในกลีเซอรอลดิบที่มีต่อรีฟอร์มิงด้วย ไอน้ำ โดยใช้เครื่องปฏิกรณ์เบดนิ่งแบบต่อเนื่อง ภายใต้ภาวะดำเนินการแตกต่างกัน โดยศึกษาช่วงอุณหภูมิ 600 - 700 องศาเซลเซียส อัตราส่วนการป้อนเข้าไอน้ำต่อคาร์บอนที่ 6 - 12 และความดัน 1 - 4 บาร์ โดยกำหนดให้ใช้อัตราการป้อนเข้าคงที่ 0.5 มิลลิลิตรต่อนาที จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าทั้งในกลีเซอรอลบริสุทฺธิ์และกลีเซอรอลดิบซึ่งมีแนวโน้มไปในทิศทางเดียวกัน โดยการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิรวมไปถึงการเพิ่มปริมาณอัตราส่วนการป้อนเข้าไอน้ำต่อคาร์บอน ส่งผลให้ผลได้ไฮโดรเจนและร้อยละการเปลี่ยนคาร์บอนเพิ่มขึ้น โดยอุณหภูมิที่ 650 องศาเซลเซียส และอัตราส่วนการป้อนไอน้ำต่อคาร์บอนที่ 9 ที่ความดันบรรยากาศ เป็นค่าปัจจัยดำเนินการที่เหมาะสมให้ผลได้ไฮโดรเจน 3.36 มิลลิโมลต่อกรัมกลีเซอรอลและร้อยละการเปลี่ยนคาร์บอนที่ 18.1 จากกลีเซอรอลบริสุทธิ์ แต่สำหรับกลีเซอรอลดิบให้ผลได้ไฮโดรเจนและร้อยละการเปลี่ยนของคาร์บอนสูงกว่าอย่างชัดเจนที่ 4.37 มิลลิโมลต่อกรัมกลีเซอรอลและร้อยละ 25.6 ตามลำดับ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าสิ่งเจือปนในกลีเซอรอลดิบ อาจส่งผลถึงปฏิกิริยารีฟอร์มิง โดยพบว่า โลหะอัลคาไลน์ และ เมทานอล ที่เจือปนอยู่ในสารละลายกลีเซอรอลน่าจะมีผลต่อผลได้ไฮโดรเจนและร้อยละการเปลี่ยนคาร์บอนเพิ่มขึ้น แต่ในทางกลับกันปริมาณกรดไขมันอิสระซึ่งเจือปนอยู่ในกลีเซอรอลไม่มีผลชัดเจนต่อการเพิ่มของผลได้ไฮโดรเจนและยังส่งผลให้ความเข้มข้นของไฮโดรเจนผลิตภัณฑ์ลดลง นอกจากนี้เมทานอลและกรดไขมันอิสระยังทำให้เกิดไฮโดรคาร์บอนมากขึ้น