Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Physical Sciences and Mathematics Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Articles 1 - 30 of 47

Full-Text Articles in Physical Sciences and Mathematics

เรื่องจากปก: จุลินทรีย์สังเคราะห์แสงสีชมพูจากนาเกลือ...จุลินทรีย์ทนเค็มทนด่างที่มาพร้อมความสามารถอันหลากหลาย, ปกฉัตร ชูติวิศุทธิ์ Oct 2020

เรื่องจากปก: จุลินทรีย์สังเคราะห์แสงสีชมพูจากนาเกลือ...จุลินทรีย์ทนเค็มทนด่างที่มาพร้อมความสามารถอันหลากหลาย, ปกฉัตร ชูติวิศุทธิ์

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: "ไซโคลน" เครื่องมือคัดแยกฝุ่นในภาคอุตสาหกรรม, รัชชานนท์ เปี่ยมใจสว่าง Oct 2020

บทความ: "ไซโคลน" เครื่องมือคัดแยกฝุ่นในภาคอุตสาหกรรม, รัชชานนท์ เปี่ยมใจสว่าง

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: "แหนแดง"....แหล่งไนโตรเจนในแปลงผัก, ภาษิตา ทุ่นศิริ, ศิริรัตน์ แจ้งกรณ์, กานดา ปุ่มสิน, ฉันทนา เคนศรี, พันธ์ทิวา กระจาย Oct 2020

บทความ: "แหนแดง"....แหล่งไนโตรเจนในแปลงผัก, ภาษิตา ทุ่นศิริ, ศิริรัตน์ แจ้งกรณ์, กานดา ปุ่มสิน, ฉันทนา เคนศรี, พันธ์ทิวา กระจาย

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: การกำจัดสารหนูปนเปื้อนในกากโลหกรรมจากการทำเหมืองแร่ด้วยพืชพลังงานและจลนศาสตร์ไฟฟ้าอย่างยั่งยืน, อุดมศักดิ์ บุญมีรติ, พันธวัศ สัมพันธ์พานิช Oct 2020

บทความ: การกำจัดสารหนูปนเปื้อนในกากโลหกรรมจากการทำเหมืองแร่ด้วยพืชพลังงานและจลนศาสตร์ไฟฟ้าอย่างยั่งยืน, อุดมศักดิ์ บุญมีรติ, พันธวัศ สัมพันธ์พานิช

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: เทคโนโลยีควบคุมมลพิษอากาศที่เกิดจากเตาเผาอิฐมอญเชื้อเพลิงชีวมวลแบบถมทรายหลังเตา, อุกฤต สมัครสมาน, สุกฤษฏิ์พงษ์ ไชยมงคล, คณิต มานะธุระ Oct 2020

บทความ: เทคโนโลยีควบคุมมลพิษอากาศที่เกิดจากเตาเผาอิฐมอญเชื้อเพลิงชีวมวลแบบถมทรายหลังเตา, อุกฤต สมัครสมาน, สุกฤษฏิ์พงษ์ ไชยมงคล, คณิต มานะธุระ

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: "วอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของพื้นที่การบริการลูกค้า"กรณีศึกษาสถานประกอบการธุรกิจโรงแรม จังหวัดภูเก็ต, เดชา สีดูกา Oct 2020

บทความ: "วอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของพื้นที่การบริการลูกค้า"กรณีศึกษาสถานประกอบการธุรกิจโรงแรม จังหวัดภูเก็ต, เดชา สีดูกา

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: การจัดการและการแปรรูป น้ำมันใช้แล้ว ในภาคครัวเรือน, ปิโยรส ทิพย์มงคล, ณัฐพงศ์ ตันติวิวัฒนพันธ์ Oct 2020

บทความ: การจัดการและการแปรรูป น้ำมันใช้แล้ว ในภาคครัวเรือน, ปิโยรส ทิพย์มงคล, ณัฐพงศ์ ตันติวิวัฒนพันธ์

Environmental Journal

No abstract provided.


เรื่องจากปก: พืชพลังงาน…ทางเลือกใหม่สำหรับการฟื้นฟูสภาพพื้นที่การทำเหมือง, อุดมศักดิ์ บุญมีรติ Jul 2020

เรื่องจากปก: พืชพลังงาน…ทางเลือกใหม่สำหรับการฟื้นฟูสภาพพื้นที่การทำเหมือง, อุดมศักดิ์ บุญมีรติ

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: การศึกษาประสิทธิภาพการลดฝุ่นโดยป่านิเวศ, ศิรพงศ์ สุขทวี, อดุลย์ เดชปัดภัย, สุธีระ บุญญาพิทักษ์, นิรัน เปี่ยมใย, หทัยรัตน์ การีเวทย์, อนงค์ ชานะมูล Jul 2020

บทความ: การศึกษาประสิทธิภาพการลดฝุ่นโดยป่านิเวศ, ศิรพงศ์ สุขทวี, อดุลย์ เดชปัดภัย, สุธีระ บุญญาพิทักษ์, นิรัน เปี่ยมใย, หทัยรัตน์ การีเวทย์, อนงค์ ชานะมูล

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: "น้ำเหมืองเป็นกรด"…ผักตบชวาช่วยได้...ทางเลือกสู่ผลิตภัณฑ์ชุมชน, วัณณิภา ก้วยเจริญพานิชก์, พันธวัศ สัมพันธ์พานิช Jul 2020

บทความ: "น้ำเหมืองเป็นกรด"…ผักตบชวาช่วยได้...ทางเลือกสู่ผลิตภัณฑ์ชุมชน, วัณณิภา ก้วยเจริญพานิชก์, พันธวัศ สัมพันธ์พานิช

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: "เฮมพ์"…พืชฟื้นฟูดินปนเปื้อนสารพิษสู่นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ชุมชน…ยุค Thailand 4.0, อชิรญาณ์ คเณศรักษพงษ์, พันธวัศ สัมพันธ์พานิช Jul 2020

บทความ: "เฮมพ์"…พืชฟื้นฟูดินปนเปื้อนสารพิษสู่นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ชุมชน…ยุค Thailand 4.0, อชิรญาณ์ คเณศรักษพงษ์, พันธวัศ สัมพันธ์พานิช

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: การประเมินประสิทธิภาพของวัสดุทำหน้ากากสำหรับกรองฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (Evaluation Of Face Mask Materials For Trapping Particulate Matter Less Than 2.5 Micron), มณีรัตน์ องค์วรรณดี, พงศธร ชมดี Jul 2020

บทความ: การประเมินประสิทธิภาพของวัสดุทำหน้ากากสำหรับกรองฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (Evaluation Of Face Mask Materials For Trapping Particulate Matter Less Than 2.5 Micron), มณีรัตน์ องค์วรรณดี, พงศธร ชมดี

Environmental Journal

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดประสิทธิภาพของวัสดุที่ทำหน้ากากในการกรองฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอนในบรรยากาศ โดยจำลองการสวมหน้ากากกับใบหน้าของหุ่นฝึกทางการแพทย์ให้แนบสนิท ใช้เครื่องดูดเสมหะดูดอากาศด้วยอัตรา 15 ลิตรต่อนาทีผ่านหน้ากากที่ทดสอบ ได้แก่ หน้ากากอนามัยทางการแพทย์ หน้ากาก N95 และหน้ากากผ้าฝ้ายสองชั้นเสริมไส้กรองต่างๆ ผลการทดสอบพบว่าหน้ากาก N95 ที่จำหน่ายในประเทศไทยมีประสิทธิภาพการกรอง 78 เปอร์เซ็นต์ ตามมาด้วยหน้ากากอนามัยทางการแพทย์มีประสิทธิภาพ 65 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งใกล้เคียงกับหน้ากากผ้าที่ใช้หน้ากากอนามัยดังกล่าวเป็นไส้กรองหรือใช้แผ่นกรองฝุ่นระดับ MERV 11 จำนวน 3 แผ่นซ้อนกัน ในขณะที่การใช้หน้ากากผ้าฝ้ายเพียงอย่างเดียวมีประสิทธิภาพเพียง 6 เปอร์เซ็นต์ และการใช้กระดาษทิชชูเป็นไส้กรองไม่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพได้ ทั้งนี้ประสิทธิภาพการกรองฝุ่นละอองของหน้ากากเมื่อสวมใส่จริงอาจมีค่าต่ำกว่าที่วัดได้ซึ่งขึ้นกับความแนบสนิทกับใบหน้าของผู้ใส่ สำหรับการฆ่าเชื้อโรคบนหน้ากากอนามัยทางการแพทย์ด้วยการพ่นเอทานอล 70 เปอร์เซ็นต์ไม่ได้ทำให้โครงสร้างทางกายภาพและเคมีของเส้นใยโพลีโพรพิลีนของหน้ากากแปลงเปลี่ยนไปจากเดิม จึงอาจเป็นทางเลือกหนึ่งสำหรับยืดอายุการใช้งานหน้ากากอนามัยในช่วงขาดแคลน เช่น การระบาดของโรคโควิด-19


บทความ: เรียนรู้ประสบการณ์การจัดการขยะบรรจุภัณฑ์ในประเทศเยอรมนี "ระบบความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้นของผู้ผลิต (Epr) และระบบมัดจำคืนเงิน (Drs)", สุจิตรา วาสนาดำรงดี Jul 2020

บทความ: เรียนรู้ประสบการณ์การจัดการขยะบรรจุภัณฑ์ในประเทศเยอรมนี "ระบบความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้นของผู้ผลิต (Epr) และระบบมัดจำคืนเงิน (Drs)", สุจิตรา วาสนาดำรงดี

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: Cu Zero Waste กรณีศึกษา "การจัดการขยะโรงอาหารของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย", นุตา ศุภคต, กัลยา สุนทรวงศ์สกุล Jul 2020

บทความ: Cu Zero Waste กรณีศึกษา "การจัดการขยะโรงอาหารของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย", นุตา ศุภคต, กัลยา สุนทรวงศ์สกุล

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: การรับรู้ข่าวสารและทัศนคติที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ถุงพลาสติกของประชากรในจังหวัดสงขลา, นาดียา กูโน, ภัทรพร อุดมทรัพย์, วรางคณา ตันฑสันติสกุล Apr 2020

บทความ: การรับรู้ข่าวสารและทัศนคติที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ถุงพลาสติกของประชากรในจังหวัดสงขลา, นาดียา กูโน, ภัทรพร อุดมทรัพย์, วรางคณา ตันฑสันติสกุล

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: การพัฒนารูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพสวนพยอม สาขาโรงพยาบาลร้อยเอ็ด The Development Of Waste Management Model Of Suanphayom Hospital, Roi - Et Hospital., กาญจนา โทหา Apr 2020

บทความ: การพัฒนารูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพสวนพยอม สาขาโรงพยาบาลร้อยเอ็ด The Development Of Waste Management Model Of Suanphayom Hospital, Roi - Et Hospital., กาญจนา โทหา

Environmental Journal

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพปัญหาขยะมูลฝอย วิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย และการพัฒนารูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพสวนพยอม สาขาโรงพยาบาลร้อยเอ็ด โดยใช้วิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ได้แก่ เจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพสวนพยอม เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ ประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไป ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมเกี่ยวกับการจัดการและการคัดแยกขยะมูลฝอย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้ ไควสแควร์ (Chi-Square) ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยอยู่ในระดับสูง ร้อยละ 88.0 และระดับปานกลาง ร้อยละ 8.0 ทัศนคติเรื่องการจัดการขยะมูลฝอยอยู่ในระดับสูง ระดับปานกลาง ร้อยละ 94.0, 6.0 ตามลำดับ พฤติกรรมในการปฏิบัติตัวในเรื่องการกำจัดการขยะมูลฝอย อยู่ในระดับปานกลาง ระดับสูง ร้อยละ 76.0, 24.0 ตามลำดับ จากการรวบรวมข้อมูลในแบบสอบถามพบว่า อายุ เพศ สถานะภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ ตำแหน่ง รายได้ ความรู้ ทัศนคติ ไม่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการปฏิบัติตนในเรื่องการกำจัดขยะมูลฝอย ส่วนการพัฒนารูปแบบการจัดการขยะมูลฝอย มีขั้นตอน ดังนี้ 1) ศึกษาบริบท สภาพปัญหา พบว่า ประสบปัญหาเกี่ยวกับการจัดการขยะที่ยังไม่เป็นระบบ 2) ศึกษารูปแบบการจัดการปัญหาขยะมูลฝอยมูลฝอยตามแนวประชารัฐ เช่น การเสริมสร้างสมรรถนะในการจัดการขยะโดยการอบรมให้ความรู้แก่บุคลากร รณรงค์สร้างจิตสำนึกตามแนวคิด 3Rs - ประชารัฐ โดยการลดปริมาณขยะ (Reduce) การใช้ซ้ำ (Reuse) และการนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) พัฒนาศักยภาพบุคลากรโดยส่งเสริมการเลี้ยงไส้เดือน ทำน้ำหมักชีวภาพ ส่งผลทำให้ปริมาณขยะหลังการดำเนินการลดลง ร้อยละ 20.35


บทความ: "ปรอทและจุลินทรีย์" บทบาทของจุลินทรีย์ในการขับเคลื่อนวัฏจักรทางชีวธรณีเคมีของปรอทในสิ่งแวดล้อม, ปกฉัตร ชูติวิศุทธิ์ Apr 2020

บทความ: "ปรอทและจุลินทรีย์" บทบาทของจุลินทรีย์ในการขับเคลื่อนวัฏจักรทางชีวธรณีเคมีของปรอทในสิ่งแวดล้อม, ปกฉัตร ชูติวิศุทธิ์

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: "หลักการความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้นของผู้ผลิต (Extended Producer Responsibility)" เครื่องมือในการจัดการขยะและส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียน, สุจิตรา วาสนาดำรงดี Apr 2020

บทความ: "หลักการความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้นของผู้ผลิต (Extended Producer Responsibility)" เครื่องมือในการจัดการขยะและส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียน, สุจิตรา วาสนาดำรงดี

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: การประเมินโครงการลดและงดการใช้โฟมและถุงพลาสติกในอำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต (Evaluation Of Katu Municipality Campaign To Stop Using Foam And Plastic Bags, Phuket Province), เพ็ญศิริ เอกจิตต์, ฮุสนา โรมินทร์ Apr 2020

บทความ: การประเมินโครงการลดและงดการใช้โฟมและถุงพลาสติกในอำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต (Evaluation Of Katu Municipality Campaign To Stop Using Foam And Plastic Bags, Phuket Province), เพ็ญศิริ เอกจิตต์, ฮุสนา โรมินทร์

Environmental Journal

No abstract provided.


เรื่องจากปก: "เขื่อนอุบลรัตน์" ภัยแล้งที่เริ่มคืบคลาน, จักรภพ พันธศรี Apr 2020

เรื่องจากปก: "เขื่อนอุบลรัตน์" ภัยแล้งที่เริ่มคืบคลาน, จักรภพ พันธศรี

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: "ถ่านชีวภาพ (Biochar)" วัสดุปรับปรุงดินเพื่อส่งเสริมการปลูกข้าวในพื้นที่ดินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย, บัวหลวง ฝ้ายเยื่อ, เสาวนีย์ วิจิตรโกสุม Apr 2020

บทความ: "ถ่านชีวภาพ (Biochar)" วัสดุปรับปรุงดินเพื่อส่งเสริมการปลูกข้าวในพื้นที่ดินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย, บัวหลวง ฝ้ายเยื่อ, เสาวนีย์ วิจิตรโกสุม

Environmental Journal

No abstract provided.


การประยุกต์ใช้ถ่านชีวภาพในการปลูกข้าวในพื้นที่เกษตรกรรมดินเค็ม, สิรภัทร ประเสริฐสุข Jan 2020

การประยุกต์ใช้ถ่านชีวภาพในการปลูกข้าวในพื้นที่เกษตรกรรมดินเค็ม, สิรภัทร ประเสริฐสุข

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

จังหวัดนครราชสีมาเป็นพื้นที่วิกฤตดินเค็มของประเทศไทย โดยสาเหตุสำคัญของดินเค็มในพื้นที่เกิดจากสภาพทางธรณีวิทยา และมีแนวโน้มการแพร่กระจายพื้นที่ดินเค็มเพิ่มมากขึ้นจากกิจกรรมของมนุษย์และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการทำเกษตรกรรม โดยทำให้การเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชลดลงอย่างมาก และบางพื้นที่ไม่สามารถเพาะปลูกได้ งานวิจัยนี้จึงมุ่งปรับปรุงดินเค็มด้วยถ่านชีวภาพแกลบเพื่อให้สามารถเพาะปลูกข้าวได้ โดยทำการทดลองปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในดินเค็มโซดิกที่มี pH เท่ากับ 10.6 ปริมาณโซเดียมทั้งหมดเท่ากับ 0.83 % ค่าการนำไฟฟ้าเท่ากับ 68.6 dS/m และ SAR เท่ากับ 11,707 และจำกัดปัญหาการระเหยของเกลือจากน้ำใต้ดินขึ้นมาสู่ผิวดินโดยทำการปลูกข้าว ในวงบ่อซีเมนต์ปิดก้นบ่อ ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า ถ่านชีวภาพแกลบสามารถปรับปรุงดินเค็มโซดิกได้ โดยสามารถลดความเค็มของดินได้ภายในรอบการปลูกข้าว (120 วัน) ซึ่งพบว่า การนำไฟฟ้า ปริมาณโซเดียม และค่า SAR ของดินมีค่าลดลงอย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนั้นการใส่ถ่านชีวภาพยังช่วยเพิ่มปริมาณธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช ทั้งไนโตรเจน แคลเซียม และแมกนีเซียมได้ โดยเฉพาะการใส่ถ่านชีวภาพแกลบในอัตรา 1.5 กิโลกรัมต่อวงบ่อซีเมนต์ร่วมกับปุ๋ยคอกในอัตรา 1 กิโลกรัมต่อวงบ่อซีเมนต์ (ตำรับการทดลองที่ 3) มีค่าการนำไฟฟ้าลดลงอย่างมีนัยสำคัญ (13.33 dS/m) เช่นเดียวกับปริมาณโซเดียมทั้งหมด (0.18 %) และค่า SAR (4,602) ของดินในตำรับการทดลองที่ 3 ที่ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ อีกทั้งยังให้ผลการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวดีที่สุด ยิ่งไปกว่านั้น เมื่อทำการปลูกข้าวรอบที่ 2 และรอบที่ 3 พบว่า ถ่านชีวภาพแกลบสามารถปรับปรุงคุณภาพดินให้ดีขึ้นได้อย่างต่อเนื่อง ผลการศึกษายังพบว่า ตำรับการทดลองที่ใส่ถ่านชีวภาพ ให้ผลผลิตของข้าวในรอบการปลูกข้าวที่ 3 เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ (202.77-492.77 กรัม) จากรอบการปลูกที่ 1 อีกด้วย ในขณะที่ ตำรับการทดลองที่ไม่ใส่ถ่านชีวภาพ ให้ผลการเจริญเติบโตข้าวที่ดีในรอบการปลูกที่ 1 (15.55 กรัม) แต่ให้ผลการเจริญเติบโตต่ำที่สุดในรอบการปลูกที่ 3 (7.30 กรัม) ดังนั้น การศึกษาครั้งนี้จึงสรุปได้ว่า การใส่ถ่านชีวภาพร่วมกับปุ๋ยคอกสามารถลดความเค็มในดินได้ดีกว่าการใส่ปุ๋ยคอกเพียงอย่างเดียว โดยการใส่ถ่านชีวภาพแกลบในอัตรา 1.5 และ 2 กิโลกรัมต่อวงบ่อซีเมนต์ เป็นอัตราการใส่ถ่านชีวภาพที่เหมาะสมที่สุดในการปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในดินเค็มโซดิกในวงบ่อซีเมนต์ เนื่องจากสามารถปรับปรุงดินเค็มโซดิกให้มีสมบัติที่เหมาะแก่การเพาะปลูก ส่งผลให้การเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวดีที่สุด


การประเมินความสมดุลของการจัดการทรัพยากรที่ดิน (Ldn) ในพื้นที่เกษตรกรรม จังหวัดสระบุรี เพื่อการจัดการทรัพยากรดินที่ยั่งยืน, นครินทร์ มูลรัตน์ Jan 2020

การประเมินความสมดุลของการจัดการทรัพยากรที่ดิน (Ldn) ในพื้นที่เกษตรกรรม จังหวัดสระบุรี เพื่อการจัดการทรัพยากรดินที่ยั่งยืน, นครินทร์ มูลรัตน์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้เป็นการประเมินความเสื่อมโทรมของทรัพยากรที่ดิน ตามแนวคิด Land Degradation Neutrality (LDN) พื้นที่ศึกษาครอบคลุมพื้นที่เกษตรกรรม จังหวัดสระบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสถานะความเสื่อมโทรมของดิน และนำเสนอการพื้นฟูความเสื่อมโทรมของที่ดินบริเวณพื้นที่ศึกษา โดยกำหนดตัวชี้วัดทั้งหมด 3 ตัวชี้วัด ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน (LU) การเปลี่ยนแปลงผลิตภาพของที่ดิน (LP) และการเปลี่ยนแปลงปริมาณคาร์บอนอินทรีย์ในดิน (SOC) ภายในช่วงเวลา พ.ศ. 2560 ถึง พ.ศ. 2563 ตัวชี้วัด LU และ LP ดำเนินการวิเคราะห์โดยใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Landsat 8 วิเคราะห์หาการเปลี่ยนแปลงโดยใช้โปรแกรมทางสารสนเทศภูมิศาสตร์ (ArcMap version 10.7) ในขณะที่ตัวชี้วัด SOC มีการเก็บตัวอย่างดิน 2 ครั้ง ในพื้นที่เกษตรกรรมที่ระดับความลึก 30 ซม. ครั้งที่หนึ่งในปี พ.ศ.2560 โดยสำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 และครั้งที่สองในปี พ.ศ.2563 ซึ่งงานวิจัยนี้เก็บตัวอย่างซ้ำตำแหน่งเดิม การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของ SOC แบ่งออกเป็น 2 วิธี ได้แก่ collocated site และ interpolation การศึกษานี้ใช้หลักการ "one out, all out" ในการประเมินสถานะของ LDN จากการเปลี่ยนแปลงของตัวชี้วัดทั้งหมด ผลการศึกษาพบว่าพื้นที่สีเขียวของตัวชี้วัด LU เกิดการสูญเสียในเชิงพื้นที่ประมาณ 47 ตารางกิโลเมตร ตัวชี้วัด LP ที่ได้จากการวิเคราะห์ไม่ได้แสดงความแตกต่างของการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของพื้นที่สีเขียวมากนักในช่วงเวลาที่กำหนด ในขณะที่ตัวชี้วัด SOC แสดงการลดลงของปริมาณคาร์บอนอินทรีย์ในดินร้อยละ -0.04 ถึง -0.2 จากการวิเคราะห์ 2 แบบ ทั้งนี้ การวิเคราะห์สถานะของ LDN พบสัญญาณของความเสื่อมโทรมทรัพยากรที่ดิน ใน 3 อำเภอของพื้นที่ศึกษา เนื่องจากเกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงลบในตัวชี้วัด SOC ควรใช้มาตรการถ่วงดุล และหลักการจัดการที่ดินอย่างยั่งยืนเข้ามาใช้ในพื้นที่ดังกล่าว


การประเมินความยั่งยืนตลอดวัฏจักรชีวิตและประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจของผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก, ณัฐพงษ์ วิชัยอัชชะ Jan 2020

การประเมินความยั่งยืนตลอดวัฏจักรชีวิตและประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจของผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก, ณัฐพงษ์ วิชัยอัชชะ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การประเมินความยั่งยืนตลอดวัฏจักรชีวิตและการประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจของผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก กรณีศึกษาคือการผลิตเม็ดพลาสติกความหนาแน่นสูงและเม็ดพลาสติกความหนาแน่นต่ำ โดยศึกษาในด้านความยั่งยืนทั้งสามด้านได้แก่ ด้านสิ่งแวดล้อมใช้เครื่องมือการประเมินผลกระทบตลอดวัฏจักรชีวิต ด้านเศรษฐกิจใช้เครื่องมือการประเมินต้นทุนตลอดวัฏจักรชีวิต และด้านสังคมใช้การประเมินผลกระทบทางสังคม โดยนำผลการศึกษาไปประยุกต์ใช้เพื่อประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจของผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกความหนาแน่นสูง และผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกความหนาแน่นต่ำ นอกจากนี้ยังนำไปประยุกต์ใช้เพื่อประเมินความยั่งยืนตลอดวัฏจักรชีวิตด้วยวิธีระเบียบวิธีที่ช่วยในการสร้างการตัดสินใจกับการประเมินหลายส่วน (Multi-Criteria Decision Analysis) และการทำการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสีย(Actor Network Analysis) เพื่อวิเคราะห์การดำเนินการด้านความยั่งยืนของกรณีศึกษาผลการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมพบว่า ผลกระทบด้านการใช้พลังงานที่ใช้แล้วหมดไป มีสัดส่วนผลกระทบมากที่สุดอย่างมีนัยสำคัญประมาณร้อยละ 50 เพราะเนื่องจากการผลิตเม็ดพลาสติกนั้นใช้วัตถุดิบจากแนฟทาและก๊าซธรรมชาติเป็นวัตถุดิบตั้งต้น โดยกิจกรรมที่ก่อให้เกิดผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมมากที่สุดคือการได้มาของวัตถุดิบโดยสัดส่วนที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมสูงถึงรอยละ 93-99 จากกิจกรรมทั้งหมดในการดำเนินการผลิตโดยมีค่าผลกระทบที่ใกล้เคียงกันทั้งการผลิตเม็ดพลาสติกทั้งสองชนิด ผลการประเมินด้านเศรษฐกิจ การศึกษาต้นทุนพบว่าต้นทุนที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มาจากต้นทุนในการดำเนินระบบร้อยละ 80 และต้นทุนด้านการบำรุงรักษาร้อยละ 20 โดยต้นทุนของเม็ดพลาสติกความหนาแน่นสูงจะสูงกว่าต้นทุนของเม็ดพลาสติกความหนาแน่นต่ำอยู่เล็กน้อย ผลการประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ ระหว่างเม็ดพลาสติกความหนาแน่นสูงและเม็ดพลาสติกความหนาแน่นต่ำพบว่า ค่าประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจของเม็ดพลาสติกความหนาแน่นสูงจะมีค่า 5.55 ดีกว่าเม็ดพลาสติกความหนาแน่นต่ำคือ 4.8 อยู่เล็กน้อย ผลการประเมินผลกระทบทางด้านสังคมพบว่า กรณีศึกษาได้ดำเนินการได้ครบถ้วนตามตัวชี้วัดที่ทำการศึกษาทั้งหมด 13ตัวชี้วัดทางด้านสังคม โดยครอบคลุมกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคือ คนงาน ผู้บริโภค สังคม และชุมชนท้องถิ่น และผลความถึงพอใจจากการดำเนินการพบว่า คนงานมีความพึงพอใจในระดับสูงสุดในระดับพึงพอใจมาก ส่วนกลุ่มอื่นๆอยู่ในระดับดี การวิเคราะห์ผู้มีสวนได้ส่วนได้ส่วนเสียต่อการดำเนินการของบริษัท ในด้านนโยบาย สังคม และเศรษฐกิจ พบว่า การดำเนินการกรณีศึกษาต้องปฏิบัติตามกฎหมายที่บังคับใช้เป็นลำดับแรกและมีการยกระดับตามมาตรฐานและข้อตกลงในระดับสากลอย่างต่อเนื่องโดยข้อจำกัดในการการค้าภายในประเทศไม่พบปัญหาจากการดำเนินการแต่สำหรับการค้ากับต่างประเทศมีการเรียกร้องการปฏิบัติตามมาตรฐานเพื่อลดข้อจำกัดและอุปสรรคทางการค้ากับต่างประเทศเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้โรงงานดำเนินการยกระดับมาตรฐานการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง การประเมินความยั่งยืนนั้นจำเป็นต้องทำการเปรียบเทียบเพื่อดูผลิตภัณฑ์ว่ามีความยั่งยืนมากเพียงใดตามตัวชี้วัด ผู้วิจัยจึงนำผลการศึกษาของเม็ดพลาสติกความหนาแน่นต่ำนำมาเปรียบเทียบแต่สิ่งที่เป็นข้อจำกัดคือผลกระทบทางด้านสังคมไม่สามารถทำการปันส่วนได้ในลักษณะเดียวกับผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมและทางด้านต้นทุน ทำให้ผลกระทบทางสังคมของเม็ดพลาสติกทั้งสองชนิดมีค่าผลกระทบเท่ากัน โดยผลการประเมินความยั่งยืนพบว่าเม็ดพลาสติกความหนาแน่นต่ำมีค่าความยั่งยืนที่มากกว่าหากประเมินด้วยวิธีที่ผู้วิจัยเลือกใช้


Fishermen's Participation In Marine Litter Collection Schemes In Thailand, Phornphavit Thongphaijit Jan 2020

Fishermen's Participation In Marine Litter Collection Schemes In Thailand, Phornphavit Thongphaijit

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Marine litter is a global environmental problem that poses various threats to the environment, the economy and society. Its impacts, for example, are the cost of beach cleaning, tourism, the beautiful landscape and etc. Marine litter, which later breaks into microplastics, affects marine lives contributing to the loss of economy to the people who depend on them. Several measures are used to tackle marine litter, including prevention and reduction of waste generation, prevention and reduction of litter reaching the marine environment, and marine litter removal. The latter is essential to clean already-at-sea litter or marine debris. Thailand, among the top …


เรื่องจากปก: "Single Use Plastic" มีค่ามากกว่าที่เรารู้, สุทธิรัตน์ กิตติพงษ์วิเศษ Jan 2020

เรื่องจากปก: "Single Use Plastic" มีค่ามากกว่าที่เรารู้, สุทธิรัตน์ กิตติพงษ์วิเศษ

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: ผลกระทบของสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงต่อทรัพยากรน้ำและการจัดการ, ศิริรัตน์ สังขรักษ์, พัชชาพันธ์ รัตนพันธ์, อาทิตย์ เพ็ชร์รักษ์, สุทธิรัตน์ กิตติพงษ์วิเศษ Jan 2020

บทความ: ผลกระทบของสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงต่อทรัพยากรน้ำและการจัดการ, ศิริรัตน์ สังขรักษ์, พัชชาพันธ์ รัตนพันธ์, อาทิตย์ เพ็ชร์รักษ์, สุทธิรัตน์ กิตติพงษ์วิเศษ

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: เรียนรู้ความพยายามของเกาหลีใต้และไต้หวันในการลดขยะพลาสติก, สุจิตรา วาสนาดำรงดี Jan 2020

บทความ: เรียนรู้ความพยายามของเกาหลีใต้และไต้หวันในการลดขยะพลาสติก, สุจิตรา วาสนาดำรงดี

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: จีโอพอลิเมอร์…ทางเลือกใหม่สู่อุตสาหกรรมการก่อสร้าง, วราพร วงษ์เจริญสมบัติ, วีระวรรณ เฉลิมสกุลกิจ, นุตา ศุภคต Jan 2020

บทความ: จีโอพอลิเมอร์…ทางเลือกใหม่สู่อุตสาหกรรมการก่อสร้าง, วราพร วงษ์เจริญสมบัติ, วีระวรรณ เฉลิมสกุลกิจ, นุตา ศุภคต

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมการท่องเที่ยวไทยผ่านมุมมองของตลาดญี่ปุ่น, อำพัน เหล่าสุนทร, ณัฏฐ์ ลีละวัฒน์, Jing Tang, วันใหม่ โพธิ์ถาวร, ศิวกร กมลภากรณ์ Jan 2020

บทความ: แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมการท่องเที่ยวไทยผ่านมุมมองของตลาดญี่ปุ่น, อำพัน เหล่าสุนทร, ณัฏฐ์ ลีละวัฒน์, Jing Tang, วันใหม่ โพธิ์ถาวร, ศิวกร กมลภากรณ์

Environmental Journal

No abstract provided.