Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Medicine and Health Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

1992

Chulalongkorn University

Veterinary Medicine

การถ่ายเลือด สุนัข

Articles 1 - 1 of 1

Full-Text Articles in Medicine and Health Sciences

ผลการถ่ายเลือดต่อระบบต่าง ๆ ทางสรีรวิทยาของสุนัขทดลอง, อธิภู นันทประเสริฐ, สมศักดิ์ ภัคภิญโญ, ประภา ลอยเพ็ชร, กฤษ อังคนาพร Mar 1992

ผลการถ่ายเลือดต่อระบบต่าง ๆ ทางสรีรวิทยาของสุนัขทดลอง, อธิภู นันทประเสริฐ, สมศักดิ์ ภัคภิญโญ, ประภา ลอยเพ็ชร, กฤษ อังคนาพร

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ผลการถ่ายเลือดต่อระบบต่าง ๆ ของสุนัขทดลองที่ได้รับการถ่ายเลือด (whole blood) จาก ตัวให้ ประมาณ 1% ของน้ำหนักตัว ของตัวรับ โดยมี ACD เป็นสารกันเลือดแข็งตัว ผลข้อมูลทางสรีรวิทยาที่ศึกษาได้แก่ค่าเม็ดเลือดแดงอัดแน่น ฮีโมโกลบินการทำงานของหัวใจ ปริมาณเลือดและพลาสม่าในร่างกาย ฮีโมโกลบินในพลาสม่า ฮีโมโกลบินในปัสสาวะ อัตราการขับปัสสาวะ ความดันเลือดแดงสูงสุดแบบทางอ้อม อัตราการหายใจ SGPT BUN creatinine ทำการบันทึกข้อมูล หลังการถ่ายเลือด 24 ชั่วโมง 4 วัน 7 วัน และ 14 วัน พบว่า การให้เลือด ทั้งที่เข้ากันได้หรือเข้ากันไม่ได้ครั้งเดียว ไม่มีผลเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาต่อระบบต่าง ๆ อย่างมีนัยสำคัญ (P>0.05) สำ หรับการให้เลือดที่เข้ากันได้ 2 ครั้ง จะทำให้ค่า PCV ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) ในช่วงเวลาหลังถ่ายเลือดครั้งแรก 4 วัน และ 7 วัน