Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Medicine and Health Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Chulalongkorn University Dental Journal

Journal

2015

Keyword

Articles 1 - 29 of 29

Full-Text Articles in Medicine and Health Sciences

Single Nucleotide Polymorphisms Associated With Angleûs Class I And Iii Occlusal Relationship In Thais With Thyrotoxic Hypokalemic Periodic Paralysis, Jaijam Suwanwela, Virunpat Nitipong, Naruborn Ongprakobkul Sep 2015

Single Nucleotide Polymorphisms Associated With Angleûs Class I And Iii Occlusal Relationship In Thais With Thyrotoxic Hypokalemic Periodic Paralysis, Jaijam Suwanwela, Virunpat Nitipong, Naruborn Ongprakobkul

Chulalongkorn University Dental Journal

Objective To identify single nucleotide polymorphisms (SNPs) that associated with different occlusal relationship in a group of Thai population. Materials and Methods One hundred and sixty unrelated Thai subjects†who participated†in Ramathibodi GWAS study for thyrotoxic hypokalemic periodic paralysis (TTPP) (Jongjaroenprasert, 2012) were selected. The subjects that were 20 years old and above with at least a pair of untilted permanent first molars or canines were selected from these subjects. Seventeen subjects met these criteria in our study.† Angleûs/canine classification of subjects were observed† both intraorally and from diagnostic models. Eight hundred and sixty four† human active SNPs from 28 related …


ผลของสารคอนดิชันเนอร์ทีมีต่อความแข็งแรงพันธะเฉือนระยะแรกของเรซินมอดิฟายด์กลาสไอโอโนเมอร์ต่อเคลือบฟัน, ณัฐพร เลาห์ทวีรุ่งเรือง, ไพบูลย์ เตชะเลิศไพศาล Sep 2015

ผลของสารคอนดิชันเนอร์ทีมีต่อความแข็งแรงพันธะเฉือนระยะแรกของเรซินมอดิฟายด์กลาสไอโอโนเมอร์ต่อเคลือบฟัน, ณัฐพร เลาห์ทวีรุ่งเรือง, ไพบูลย์ เตชะเลิศไพศาล

Chulalongkorn University Dental Journal

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการปรับสภาพผิวฟันด้วยสารคอนดิชันเนอร์ต่าง ๆ ต่อความแข็งแรงพันธะเฉือนในช่วงแรกของเรซินมอดิฟายด์กลาสไอโอโนเมอร์ต่อเคลือบฟัน วัสดุและวิธีการ แบ่งฟันกรามน้อย 55 ปี ออกเป็น 5 กลุ่ม โดยกลุ่ม 1-4 (กลุ่มทดลอง) ยึดติดแบร็กเกตด้วย สารยึดติดเรซินมอดิฟายด์กลาสไอโอโนเมอร์ (Fuji Ortho LC) โดยสารคอนดิชันเนอร์แต่ละกลุ่มดังนี้ กลุ่ม 1 ไม่ ใช้สารคอนดิชันเนอร์ กลุ่ม 2 กรดพอลิอะคริลิกเข้มข้นร้อยละ 20 กลุ่ม 3 กรดฟอสฟอริกเข้มข้นร้อยละ 37 กลุ่ม 4 สารเซลฟ์เอชชิงไพร์มเมอร์ (Transbond Plus SEP) กลุ่ม 5 (กลุ่มควบคุม) กรดฟอสฟอริกและสารยึดติดเรซิน คอมโพสิต (Transbonds XT) นําตัวอย่างกลุ่มละ 10 ชิ้นไปวัดความแข็งแรงพันธะเฉือนภายหลังการฉายแสง 5 นาที โดยเครื่องทดสอบสากล บันทึกค่าความแข็งแรงพันธะเฉือนที่ทําให้แบร์กเกตหลุดออกจากผิวฟัน คํานวณหา ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทําการเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มด้วยค่าสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ ทางเดียว วัดค่าการเหลืออยู่ของสารยึดติดบนตัวฟันด้วยค่าดัชนีการเหลืออยู่ของสารยึดติด ทดสอบด้วยค่าสถิติ ไคสแควร์ ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ส่วนตัวอย่างอีกกลุ่มละ 1 ชิ้นนําไปศึกษาการยึดติดระหว่างสารยึดติด และเคลือบฟันด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด ผลการศึกษาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความแข็งแรงพันธะเฉือนของกลุ่ม 1 2 3 4 และ 5 เท่ากับ 8.4 12.0 10.8 + 0.7 14.6 + 3.0 13.7 + 1.7 และ 21.5 + 4.0 เมกะปาสคาล ตามลําดับ ไม่พบความแตกต่างอย่างมี นัยสําคัญของค่าเฉลี่ยความแข็งแรงพันธะเฉือนระหว่างกลุ่มที่ 3 และ 4 (p = 0.433) ค่าดัชนีการเหลืออยู่ของสารยึด ติดสัมพันธ์กับชนิดของสารคอนดิชันเนอร์ …


ประสิทธิภาพของอาหารเลี้ยงเชื้อ ไมติส ซาลิวาเรียส แบซิทราซิน อะการ์ ที่จัดเก็บไว้นาน 4 สัปดาห์ในการแยกเชื้อ มิวแทนส์ สเตร็ปโตคอคไค ในน้ำลายมนุษย์, บรรเจิด ยะพงศ์, ศิษฎา ตันนุกิจ, สุวรรณา จิตภักดีบดินทร์ Sep 2015

ประสิทธิภาพของอาหารเลี้ยงเชื้อ ไมติส ซาลิวาเรียส แบซิทราซิน อะการ์ ที่จัดเก็บไว้นาน 4 สัปดาห์ในการแยกเชื้อ มิวแทนส์ สเตร็ปโตคอคไค ในน้ำลายมนุษย์, บรรเจิด ยะพงศ์, ศิษฎา ตันนุกิจ, สุวรรณา จิตภักดีบดินทร์

Chulalongkorn University Dental Journal

วัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของอาหารเลี้ยงเชื้อไมติส ซาลิวาเรียส แบซิทราชิน อะการ์ ที่เตรียม เก็บไว้นาน 1, 3 และ 4 สัปดาห์ วัสดุและวิธีการ เก็บน้ําลายโดยใช้พาราฟินเป็นตัวกระตุ้นจากอาสาสมัคร 20 คน แล้วนําไปเพาะเลี้ยงเชื้อบน อาหารเลี้ยงเชื้อไมติส ซาลิวาเรียส อะการ์ และ ไม่ติส ซาลิวาเรียส แบซิทราซิน อะการ์ ที่เตรียมเก็บไว้นาน 1, 3 และ 4 สัปดาห์ โดยวิธีสเปรดเพลท ผลการศึกษา จํานวนมิวแทนส์ สเตร็ปโตคอคไค ที่เจริญบนอาหารเลี้ยงเชื้อไมติส ซาลิวาเรียส แบซิทราซิน อะการ์ เก็บที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียสเป็นระยะเวลา 1, 3 และ 4 สัปดาห์ มีจํานวนเชื้อและลักษณะโคโลนีไม่แตกต่างกัน และไม่พบการเจริญของเชื้อสปีชีส์อื่น เชื้อที่เลี้ยงบนอาหารเลี้ยงเชื้อที่ไม่มีแบซิทราซินมีจํานวนสูงกว่าอาหารเลี้ยง เชื้อที่มีแบซิทราซินอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) สรุป อาหารเลี้ยงเชื้อไมติส ซาลิวาเรียส แบซิทราซิน อะการ์ สามารถเก็บที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียสได้นานถึง 4 สัปดาห์ โดยไม่สูญเสียคุณสมบัติของการเป็นอาหารเลี้ยงเชื้อจําเพาะสําหรับเชื้อกลุ่มมิวแทนส์ สเตร็ปโตคอคไค (ว ทันต จุฬาฯ 2558;38:177-184)


Challenges In Complete Denture Fabrication: Opinions And Experiences Of Postgraduate Students, Kultida Raksinkant, Napa Sukjai Suansuwan, Waranuch Pitiphat Sep 2015

Challenges In Complete Denture Fabrication: Opinions And Experiences Of Postgraduate Students, Kultida Raksinkant, Napa Sukjai Suansuwan, Waranuch Pitiphat

Chulalongkorn University Dental Journal

Objectives Limited information is available on prosthodontic postgraduate studentsû views regarding complete denture education. This study aimed to investigate the opinions and experiences of Thai prosthodontic postgraduate students toward complete denture laboratory practice. Materials and methods A self-administered questionnaire was mailed to all dentists who currently enrolled in prosthodontic postgraduate programs in Thailand during the academic year 2012. The questionnaire consisted of close-and open-ended questions on opinions and experiences related to laboratory work in complete denture fabrication. Results The response rate was 95 percent. Majority indicated that, among all laboratory procedures, posterior teeth arrangement was the most difficult (82%), most …


Fluid Emerging From Etched And Unetched Dentin Surface Under Carious Lesions In Primary Mandibular Second Molars, Monsiri Nardkosa, Varisara Sirimaharaj, Sitthichai Wanachantararak Sep 2015

Fluid Emerging From Etched And Unetched Dentin Surface Under Carious Lesions In Primary Mandibular Second Molars, Monsiri Nardkosa, Varisara Sirimaharaj, Sitthichai Wanachantararak

Chulalongkorn University Dental Journal

Background: Only a limited number of reports existed about fluid flow through dentin in primary teeth, none of them were studied in carious dentin in vivo. Objectives: To study the dentinal fluid flow on both etched and unetched dentin surfaces beneath carious lesions of vital primary mandibular and second molars by using impression and replica technique. Materials and Methods: Thirty primary lower second molars were included in this study. They were divided into 3 groups according to the depth of the carious lesions. The teeth were anesthetized with 3% plain mepivacaine. Caries was removed with standard procedure. A silicone impression …


A Comparison Of The Push-Out Bond Strength Between Dual Polymerized Core Build-Up Composite And Total-Etch Resin Luting Cement For Prefabricated Fiber Post, Maytinee Vivathanasittiphong, Napapa Aimjirakul, Teerachai Limlawan Sep 2015

A Comparison Of The Push-Out Bond Strength Between Dual Polymerized Core Build-Up Composite And Total-Etch Resin Luting Cement For Prefabricated Fiber Post, Maytinee Vivathanasittiphong, Napapa Aimjirakul, Teerachai Limlawan

Chulalongkorn University Dental Journal

Objectives: Compare the push-out bond strength of a dual-cured core build-up resin composite and dual-cured resin cement using total-etch adhesive for bonding fiber post to root canal dentin. Materials and Methods: Sixty extracted single-rooted human premolars were sectioned transversely in mesiodistal direction 2 mm coronal to cementoenamel junction, standard endodontically treated, post space prepared and randomly divided into two groups (n=30). Group 1 fiber posts were luted with a total-etch resin cement (Variolink® II) and group 2 were luted with a composite resin core build-up material (Luxacore® Z-Dual) using total-etch adhesive system. All roots were cut transversely into 3 sections …


การหาพันธะคู่ระหว่างคาร์บอนชนิดอะลิฟาติค บนพื้นผิวของเดือยฟันคอมโพสิตเสริมเส้นใยด้วยวิธีไมโครเอทีอาร์-เอฟทีไออาร์สเปคโตรสโคปี, ศิริพร อรุณประดิษฐ์กุล, สุนิตา ทิพย์มณฑา, สราเพ็ญ ภูเบศอรรถวิชญ์ May 2015

การหาพันธะคู่ระหว่างคาร์บอนชนิดอะลิฟาติค บนพื้นผิวของเดือยฟันคอมโพสิตเสริมเส้นใยด้วยวิธีไมโครเอทีอาร์-เอฟทีไออาร์สเปคโตรสโคปี, ศิริพร อรุณประดิษฐ์กุล, สุนิตา ทิพย์มณฑา, สราเพ็ญ ภูเบศอรรถวิชญ์

Chulalongkorn University Dental Journal

วัตถุประสงค์ เพื่อหาพันธะคู่ระหว่างคาร์บอนชนิดอะลิฟาติคบนพื้นผิวของเดือยฟันคอมโพสิตเสริมเส้นใยด้วย วิธีไมโครเอทีอาร์-เอฟทีไออาร์สเปคโตรสโคปี วัสดุและวิธีการ ทดสอบหาพันธะคู่ระหว่างคาร์บอนชนิดอะลิฟาติคบนพื้นผิวของเดือยฟันเสริมเส้นใยด้วยวิธี สเปคโตรสโคปีแบบไมโครเอทีอาร์-เอฟทีไออาร์โดยใช้อินฟราเรดช่วงกลาง 4000-600 เซนติเมตร พื้นที่สัมผัสของผลึกเจอร์เมเนียมกับเดือยฟันเสริมเส้นใยเป็นวงกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 100 ไมโครเมตร ความลึกของ อินฟราเรดที่ส่องผ่านพื้นผิวเดือยฟัน 1 ไมโครเมตร บันทึกผลเป็นกราฟระหว่างค่าเลขคลื่น และการส่งผ่านของรังสี วิเคราะห์หาพันธะคู่ระหว่างคาร์บอนชนิดอะลิฟาติคจากแถบสเปคตรัมเทียบกับค่าเลขคลื่นอ้างอิง ผลการศึกษา พื้นผิวของเดือยฟันเอฟอาร์ซีโพสเทคพลัส และไฟบริเคลียร์เทเปอร์โพสท์มีพันธะคู่ระหว่าง คาร์บอนชนิดอะลิฟาติคโดยให้แถบสเปคตรัมที่ 1638-1636 และ 1637-1632 เซนติเมตร โดยไม่พบแถบ สเปคตรัมนี้บนพื้นผิวเดือยฟันรีไลเอ็กซ์ไฟเบอร์โพสท์ และดีทีไลท์โพสท์ สรุป เดือยฟันเอฟอาร์ซีโพสเทคพลัส บนพื้นผิวของเดือยฟัน และไฟบริเคลียร์เทเปอร์โพสท์มีพันธะคู่ระหว่างคาร์บอนชนิดอะลิฟาติค (ว ทันต จุฬาฯ 2558:38:129-140)


การวินิจฉัยและการประเมินมิติแนวดิ่ง, วัชรศักดิ์ ตุมราศวิน, สุดารัตน์ นับดี May 2015

การวินิจฉัยและการประเมินมิติแนวดิ่ง, วัชรศักดิ์ ตุมราศวิน, สุดารัตน์ นับดี

Chulalongkorn University Dental Journal

การวินิจฉัยและการประเมินมิติแนวดิ่งเป็นขั้นตอนที่สําคัญสําหรับงานทันตกรรมประดิษฐ์ทั้งในด้านความงามและการใช้งานโดยเฉพาะในรายที่มีการสูญเสียมิติแนวดิ่งจากการสึกของฟัน การสูญเสียฟันหลังและรายที่สูญเสียฟันทั้งปาก การวินิจฉัยและการประเมินมิติแนวดิ่งของทันตแพทย์ที่ผิดพลาดทําให้เกิดพยาธิสภาพต่อฟัน อวัยวะปริทันต์และระบบบดเคี้ยว บทความปริทัศน์นี้ได้รวบรวมแนวคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงมิติแนวดิ่ง วิธีการประเมินมิติแนวดิ่งเพื่อเป็นข้อมูลสําหรับทันตแพทย์ในการวินิจฉัยและบูรณะการสบฟันที่มิติแนวดิ่งใหม่ในผู้ป่วยที่สูญเสียมิติแนวดิ่ง


ผลของซีเมนต์ชั่วคราวชนิดไดแคลต่อค่ากําลัง แรงยืดเฉือนของเรซินซีเมนต์ 4 ชนิดกับเนื้อฟัน, ตุลย์ ศรีอัมพร, ชุติมา โฆษิตพันธวงศ์, นิยม ธํารงค์อนันต์สกุล May 2015

ผลของซีเมนต์ชั่วคราวชนิดไดแคลต่อค่ากําลัง แรงยืดเฉือนของเรซินซีเมนต์ 4 ชนิดกับเนื้อฟัน, ตุลย์ ศรีอัมพร, ชุติมา โฆษิตพันธวงศ์, นิยม ธํารงค์อนันต์สกุล

Chulalongkorn University Dental Journal

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของไดแคลต่อค่ากําลังแรงยึดเฉือนของเรซินซีเมนต์ 4 ชนิด วัสดุและวิธีการ ฟันกรามแท้ของมนุษย์จํานวน 120 ซี่ ตัดด้านบดเคี้ยวให้เนื้อฟันเผย แบ่งฟันโดยการสุ่มเป็น 3 กลุ่ม ๆ ละ 40 ปี กลุ่มที่ 1 คือไม่เคลือบไดแคลบนเนื้อฟัน (กลุ่มควบคุม) ส่วนกลุ่มที่ 2 และ 3 เคลือบไดแคลบน เนื้อฟันแล้วทิ้งไว้เป็นระยะเวลา 7 และ 28 วัน ตามลําดับ จากนั้นแต่ละกลุ่มยังแบ่งเป็น 4 กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 ปี ตามชนิดของเรซินซีเมนต์ที่ใช้ทดสอบ 4 ชนิด (วารีโอลิงค์เอ็น พานาเวียเอฟทู รีไลเอ็กซ์ยูสองร้อย และแม็กเซมอีลิต) กําจัดไดแค ออกหลังจากครบเวลาที่กําหนดยึดแท่งเรซินคอมโพสิตบนผิวเนื้อฟันด้วยเรซินซีเมนต์ นําชิ้นทดสอบ แช่ในน้ํากลั่นที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง ทดสอบหาค่ากําลังแรงยึดเฉือนโดยเครื่องทดสอบ สากล ด้วยความเร็วหัวกด 0.5 มิลลิเมตรต่อนาที วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสอง ทางและการเปรียบเทียบเชิงซ้อนชนิดทุกย์ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ตรวจสอบลักษณะความล้มเหลวของ การยึดติดบริเวณรอยแตกหักของชิ้นทดสอบด้วยกล้องจุลทรรศน์สเตอริโอไมโครสโคป และกล้องจุลทรรศน์ อิเล็กตรอนแบบส่องกราด ผลการศึกษา ค่ากําลังแรงยึดเฉือนของทุกกลุ่มที่ยึดด้วยวารีโอลิงค์เอ็นและพานาเวียเอฟทู ไม่มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ชิ้นทดสอบทุกชิ้นของกลุ่มวารีโอลิงค์เอ็นและพานาเวียเอฟทูแสดงความล้มเหลว แบบผสม ส่วนกลุ่มไลเอ็กซ์ยูสองร้อยและแม็กเซมอีลิต พบว่าค่ากําลังแรงยึดเฉือนของกลุ่มที่สัมผัสไดแคลเป็น เวลา 7 วัน และ 28 วัน มีค่าต่ํากว่ากลุ่มที่ไม่สัมผัสใดแคลอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ แต่ค่ากําลังแรงยึดเฉือน ระหว่างกลุ่มที่สัมผัสไดแคลด้วยระยะเวลา 7 วัน และ 28 วัน ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ชิ้นทดสอบทุกชิ้นของกลุ่มไลเอ็กซ์ยูสองร้อยและแม็กเซมอีลิต แสดงความล้มเหลวแบบยึดไม่ติด เมื่อพิจารณา เฉพาะกลุ่มที่เนื้อฟันสัมผัสสารได้แคล พบว่ากลุ่มไลเอ็กซ์ยูสองร้อยและแม็กเซมอีลิตมีค่ากําลังแรงยึดเฉือนต่ํากว่า กลุ่มวารีโอลิงค์เอ็นและพานาเวียเอฟทอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ สรุป ได้แคลมีผลต่อค่ากําลังแรงยึดเฉือนต่อเนื้อฟันในกลุ่มที่ยึดด้วยรึไลเอ็กซ์ยูสองร้อยหรือแม็กเซมอีลิต แต่ไม่มีผลต่อค่ากําลังแรงยึดเฉือนในกลุ่มที่ยึดด้วยวาริโอลิงค์เอ็นหรือพานาเวียเอฟทู


การศึกษาการลดลงของปริมาณเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อราในอากาศของคลินิกศัลยกรรม ช่องปากหลังจากฉีดพ่นสารเคมีฆ่าเชื้อ, ศิริพันธุ์ ขัตตพงษ์, เกศกัญญา สัพพะเลข, วันเพ็ญ ชินเฮง, รัชนี อัมพรอร่ามเวทย์ May 2015

การศึกษาการลดลงของปริมาณเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อราในอากาศของคลินิกศัลยกรรม ช่องปากหลังจากฉีดพ่นสารเคมีฆ่าเชื้อ, ศิริพันธุ์ ขัตตพงษ์, เกศกัญญา สัพพะเลข, วันเพ็ญ ชินเฮง, รัชนี อัมพรอร่ามเวทย์

Chulalongkorn University Dental Journal

No abstract provided.


Accuracy Of Linear Measurements In Stitched Versus Non-Stitched Cone Beam Ct Images, Preeyaporn Srimawong, Anchali Krisanachinda, Jira Chindasombatjaroen May 2015

Accuracy Of Linear Measurements In Stitched Versus Non-Stitched Cone Beam Ct Images, Preeyaporn Srimawong, Anchali Krisanachinda, Jira Chindasombatjaroen

Chulalongkorn University Dental Journal

Objective To assess the accuracy of linear measurements from stitched and non-stitched cone beam computed tomography (CBCT) images in comparison to direct measurements. Materials and methods Ten dry human mandibles were marked with gutta-percha at reference points to obtain five vertical and five horizontal distances. CBCT using stitching and non-stitching programs were performed. All distances on CBCT images obtained using stitching and non-stitching programs were measured and compared with direct measurements. The intraclass correlation coefficients (ICCs) were calculated. Results The intraobserver ICCs of direct measurements were 0.998 to 1.000, and those of measurements on both non-stitched and stitched CBCT images …


ความชุกและตําแหน่งของคลองท้ายฟันกรามล่างในภาพรังสีโคนบีมซีทีในผู้ป่วยชาวไทยในศูนย์ภาพถ่ายรังสีเอกชนแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร, อาทิพันธุ์ พิมพ์ขาวขํา, เกศกัญญา สัพพะเลข, ณัฐาภรณ์ ประวิตรางกูร, ศิริพิมพ์ เศวตชัยกุล May 2015

ความชุกและตําแหน่งของคลองท้ายฟันกรามล่างในภาพรังสีโคนบีมซีทีในผู้ป่วยชาวไทยในศูนย์ภาพถ่ายรังสีเอกชนแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร, อาทิพันธุ์ พิมพ์ขาวขํา, เกศกัญญา สัพพะเลข, ณัฐาภรณ์ ประวิตรางกูร, ศิริพิมพ์ เศวตชัยกุล

Chulalongkorn University Dental Journal

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกและตําแหน่งของคลองท้ายฟันกรามล่างในผู้ป่วยชาวไทยในศูนย์ภาพถ่ายรังสีเอกชนแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร โดยใช้ภาพรังสีโคนบีมซีทีที่ครอบคลุมบริเวณท้ายฟันกรามล่าง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553-ปี พ.ศ. 2554 ทําการตรวจหาคลองท้ายฟันกรามล่างด้วยโปรแกรมวัน วอลลุม วิวเวอร์ หาค่าเฉลี่ยของระยะห่างระหว่างรูเปิดคลองท้ายฟันกรามล่างกับคลองขากรรไกรล่าง แผ่นกระดูกด้านแก้ม แผ่นกระดูกด้านลิ้น และด้านไกลกลางของฟันกรามซี่ที่สอง วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างจํานวนคลองท้ายฟัน กรามล่างที่พบกับเพศและข้างของกระดูกขากรรไกรโดยสถิติการทดสอบของฟิชเชอร์ มีภาพที่ครอบคลุมบริเวณ ท้ายฟันกรามล่างจํานวน 64 ภาพ พบคลองท้ายฟันกรามล่าง 8 ภาพ คิดเป็นร้อยละ 12.5 พบระยะห่างระหว่างรูเปิดคลองท้ายฟันกรามล่างกับคลองขากรรไกรล่าง แผ่นกระดูกด้านแก้ม และแผ่นกระดูกด้านลิ้น มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 12.07, 7.04 และ 5.14 มิลลิเมตร ตามลําดับ นอกจากนี้ระยะห่างระหว่างรูเปิดคลองท้ายฟันกรามล่าง กับด้านไกลกลางของฟันกรามซี่ที่สอง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 15.90 มิลลิเมตร โดยไม่พบความแตกต่างอย่างมี นัยสําคัญระหว่างเพศ และระหว่างขากรรไกรข้างซ้ายและขวา (p > 0.05) จากการศึกษานี้พบว่า ถึงแม้ว่าความชุก ใน ผู้ป่วยที่ถ่ายภาพรังสีที่ศูนย์ภาพถ่ายรังสีแห่งหนึ่งใน กทม. ที่พบคลองท้ายฟันกรามล่างค่อนข้างต่ํา (ร้อยละ 12.5) การผ่าตัดบริเวณท้ายฟันกรามล่างควรตระหนักถึงความผันแปรที่สําคัญนี้ด้วย (ว ทันต จุฬาฯ 2558;38:105-116)


ผลของกรดฟอสฟอริกต่อความแข็งแรงดึงระดับจุลภาคระหว่างเดือยฟันไดเมทาคริเลตเสริมเส้นใยกับวัสดุก่อแกนฟันเรซินคอมโพสิต, ศริยา เสารยะ, วัชรศักดิ์ ตุมราศวิน, ศิริพร อรุณประดิษฐ์กุล May 2015

ผลของกรดฟอสฟอริกต่อความแข็งแรงดึงระดับจุลภาคระหว่างเดือยฟันไดเมทาคริเลตเสริมเส้นใยกับวัสดุก่อแกนฟันเรซินคอมโพสิต, ศริยา เสารยะ, วัชรศักดิ์ ตุมราศวิน, ศิริพร อรุณประดิษฐ์กุล

Chulalongkorn University Dental Journal

วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินค่าความแข็งแรงดึงระดับจุลภาคระหว่างเดือยฟันไดเมทาคริเลตเสริมเส้นใยกับวัสดุก่อแกน ฟันเรซินคอมโพสิต หลังจากปรับสภาพผิวเดือยฟันด้วยกรดฟอสฟอริกตามด้วยการทาไซเลนและ/หรือสารบอนด์ดึง วัสดุและวิธีการ เดือยฟันยี่ห้อเอฟอาร์ซี โพสต์เทค พลัส จํานวน 30 แท่ง แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม โดยทาพื้นผิว เดือยฟันด้วย กลุ่มที่ 1 ไซเลน กลุ่มที่ 2 สารบอนด์ดึง และกลุ่มที่ 3 ไซเลนและสารบอนด์ดึง ส่วนกลุ่มที่ 4-6 ปรับ สภาพผิวเดือยฟันด้วยกรดฟอสฟอริกความเข้มข้นร้อยละ 37 นาน 1 นาที แล้วทาพื้นผิวเดือยฟันด้วยไซเลน (กลุ่มที่ 4) สารบอนด์ดึง (กลุ่มที่ 5) ไซเลนและสารบอนด์ดึง (กลุ่มที่ 6) วางเดือยฟันที่ปรับสภาพผิวแล้วกลางท่อพลาสติกใส แล้วฉีดมัลติคอร์โฟลว์เข้าไปในท่อพลาสติกและฉายแสง นําชิ้นเดือยฟัน-แกนฟันมาตัดเป็นชิ้นทดสอบรูปแท่ง จํานวน 20 ชิ้นต่อกลุ่ม เพื่อทดสอบค่าความแข็งแรงดึงระดับจุลภาค จําแนกความล้มเหลวของชิ้นทดสอบด้วยกล้อง สเตอริโอไมโครสโคป (40 เท่า) วิเคราะห์ผลด้วยสถิติความแปรปรวนสองทางและวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่าง กลุ่มด้วยสถิติ ดันเนท ที่สาม ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 (p<0.05) ผลการศึกษา การปรับสภาพผิวเดือยฟันด้วยกรดฟอสฟอริกตามด้วยการทาไซเลนและสารบอนด์ดิงให้ค่าความแข็งแรงดึงระดับจุลภาคสูงสุดอย่างมีนัยสําคัญ ส่วนการทาไซเลนโดยไม่ได้ปรับสภาพผิวเดือยฟันด้วยกรด ฟอสฟอริกให้ค่าความแข็งแรงดึงระดับจุลภาคต่ําสุดอย่างมีนัยสําคัญและเกิดความล้มเหลวชนิดยึดไม่อยู่ ในขณะที่ ชิ้นทดสอบส่วนใหญ่ในกลุ่มอื่น ๆ เกิดความล้มเหลวชนิดเชื่อมแน่นล้มเหลวในเดือยฟัน สรุป การปรับสภาพผิวเดือยฟันด้วยกรดฟอสฟอริกความเข้มข้นร้อยละ 37 นาน 1 นาที ตามด้วยการทาไซเลน และ/หรือสารบอนด์ดิ้ง สามารถเพิ่มความแข็งแรงดึงระดับจุลภาคระหว่างเดือยฟันไดเมทาคริเลตเสริมเส้นใยกับ วัสดุก่อแกนฟันเรซินคอมโพสิต (2 ทันต จุฬาฯ 2558:38:155-164)


Comparison Of Residual Monomer In The Mma-Based Orthodontic Base-Plate Materials Before And After Water Immersion, Pajima Thaitammayanon, Chintana Sirichompun, Chairat Wiwatwarrapan Jan 2015

Comparison Of Residual Monomer In The Mma-Based Orthodontic Base-Plate Materials Before And After Water Immersion, Pajima Thaitammayanon, Chintana Sirichompun, Chairat Wiwatwarrapan

Chulalongkorn University Dental Journal

Objective To compare the residual monomer in two brands of MMA-based orthodontic base-plate materials before and after water immersion (for 24 and 72 hours). Materials and Methods A total of 36 disc specimens (3 x 50 mm) were prepared from MMA-based orthodontic base-plate materials; Orthocryl (Dentaurum) and Orthoplast (Vertex) according to the manufacturersû instructions and ISO 20795-2 (2013). The specimens from each brand were divided into three groups (six specimens per group). Group I was those before water immersion and served as controls. Groups II and III were those after water immersion for 24 and 72 hours, respectively. The level …


C-Fos: A Neural Activity Marker For Craniofacial Pain Research, Weera Supronsinchai, Robin James Storer Jan 2015

C-Fos: A Neural Activity Marker For Craniofacial Pain Research, Weera Supronsinchai, Robin James Storer

Chulalongkorn University Dental Journal

It is well known that pain in animal models is difficult to measure. c-Fos, the protein product of the cellular immediate-early proto-oncogene gene, c-fos, can be activated in neuronal cells by noxious sensory stimuli including chemical irritation, mechanical, thermal, and electrical stimulation. The expression of c-Fos provides researchers with a tool by which the processing of somatosensory information, particularly nociception, from the craniofacial regions can be better understood. c-Fos is widely used as an indirect marker of neuronal activation after noxious stimulation in dental pain research, including in the trigeminal nervous system as activated by craniofacial or orofacial stimulation. Anatomical …


การศึกษาย้อนหลังของการบําบัดฉุกเฉินทาง ทันตกรรมในคลินิกตรวจพิเคราะห์โรค คณะทันตแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2553-2555, ภัทรนฤน กาญจนบุษย์, ภาสวัชร์ วิริยกิจจา, กนกวรรณ วลีรัตนวงศ์, ณัฐพลี นรเศรษฐ์ตระกูล Jan 2015

การศึกษาย้อนหลังของการบําบัดฉุกเฉินทาง ทันตกรรมในคลินิกตรวจพิเคราะห์โรค คณะทันตแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2553-2555, ภัทรนฤน กาญจนบุษย์, ภาสวัชร์ วิริยกิจจา, กนกวรรณ วลีรัตนวงศ์, ณัฐพลี นรเศรษฐ์ตระกูล

Chulalongkorn University Dental Journal

วัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมและรายงานข้อมูลผู้ป่วยที่ได้รับการบําบัดฉุกเฉินทางทันตกรรมในคลินิกตรวจ พิเคราะห์โรค คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วัสดุและวิธีการ คัดเลือกรายชื่อและเบิกแฟ้มเวชระเบียนของผู้ป่วยที่เข้ารับการบําบัดฉุกเฉินทางทันตกรรม ในคลินิกตรวจพิเคราะห์โรค คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยนิสิตทันตแพทย์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553-2555 บันทึกข้อมูลของผู้ป่วยแต่ละราย ได้แก่ เพศ อายุ ประวัติทางแพทย์ อาการสําคัญ การวินิจฉัย โรค การรักษา ตําแหน่ง จํานวนครั้ง ระยะเวลารอรับการบําบัดฉุกเฉิน ปัญหาแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นขณะบําบัดฉุกเฉิน ทางทันตกรรม ลงในแบบบันทึกข้อมูล และนําข้อมูลไปวิเคราะห์ ผลการศึกษา จากการศึกษาพบผู้ป่วยจํานวน 1,545 ราย จํานวนครั้งที่มารับการรักษา 1,974 ครั้ง เป็นผู้ป่วยเพศ ชาย 521 คน (ร้อยละ 33.7) เพศหญิง 1,024 คน (ร้อยละ 66.3) ส่วนใหญ่มีอายุเฉลี่ย 51-60 ปี (ร้อยละ 22.9) ส่วนใหญ่มาด้วยอาการสําคัญ คือ อาการปวดฟัน (ร้อยละ 46) และอาการเสียวฟัน (ร้อยละ 12.2) ผู้ป่วยส่วน ใหญ่ได้รับการวินิจฉัยโรคเป็นโรคเนื้อเยื่อในอักเสบผันกลับไม่ได้และเนื้อเยื่อรอบปลายรากฟันอักเสบ (ร้อยละ 33.6) โรคฟันผุ (ร้อยละ 22.7) โรคเนื้อเยื่อในอักเสบผันกลับไม่ได้และเนื้อเยื่อรอบปลายรากฟันปกติ (ร้อยละ 13.8) โรคเนื้อเยื่อในอักเสบผันกลับได้ (ร้อยละ 13.8) และได้รับการบําบัดฉุกเฉินทางเอ็นโดดอนต์มากสุด (ร้อยละ 47.4) รองลงมาคือ การกําจัดรอยผุ (ร้อยละ 36.5) การขูดหินน้ําลาย (ร้อยละ 13) ผู้ป่วยมีระยะเวลาการรอรับการ บําบัดฉุกเฉินหลังการตรวจวินิจฉัยแล้วส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 4-7 วัน (ร้อยละ 28.3) สรุป อาการสําคัญที่นําผู้ป่วยมาพบทันตแพทย์เพื่อรับการบําบัดฉุกเฉินบ่อยที่สุดคือ อาการปวดฟัน สาเหตุหลัก มาจากโรคเนื้อเยื่อในอักเสบมันกลับไม่ได้และเนื้อเยื่อรอบปลายรากฟันอักเสบ และได้รับการบําบัดฉุกเฉินโดยการ รักษาทางเอ็นโดดอนต์ ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะได้รับการบําบัดฉุกเฉินภายใน 4-7 วัน …


ผลการรักษาของการทําศัลยกรรมบูรณะเพื่อการทํารากเทียม, วิภาวรรณ ฉัตรรัตนารักษ์, ศิริกาญจน์ ทองมีอาคม, ศุทธินี ตี๋สงวน, พรชัย จันศิษย์ยานนท์, พลกฤษณ์ ศิลป์พิทักษ์สกุล Jan 2015

ผลการรักษาของการทําศัลยกรรมบูรณะเพื่อการทํารากเทียม, วิภาวรรณ ฉัตรรัตนารักษ์, ศิริกาญจน์ ทองมีอาคม, ศุทธินี ตี๋สงวน, พรชัย จันศิษย์ยานนท์, พลกฤษณ์ ศิลป์พิทักษ์สกุล

Chulalongkorn University Dental Journal

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการรักษาและภาวะแทรกซ้อน ที่ทําให้เกิดความล้มเหลวของการทําศัลยกรรมบูรณะ เพื่อการทํารากเทียม วัสดุและวิธีการ ศึกษาข้อมูลย้อนหลังจากเวชระเบียนและภาพถ่ายรังสีของผู้ป่วยที่ได้รับการทําศัลยกรรมบูรณะ เพื่อการทํารากเทียม ที่ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2546-2555 ผลการศึกษา อัตราความสําเร็จของการทําศัลยกรรมบูรณะมีค่าร้อยละ 97.58 (อัตราความสําเร็จของการปลูก ถ่ายกระดูกอ่อนเลย์ และการเสริมโพรงอากาศแมกซิลลา มีค่าร้อยละ 96.55 และ 98.48 ตามลําดับ) และอัตรา ความสําเร็จในการใส่รากเทียมในบริเวณที่ทําศัลยกรรมบูรณะมีค่าร้อยละ 97.52 โดยพบผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อน หลักทั้งสิ้น 4 ตําแหน่ง (คิดเป็นร้อยละ 3.23) โดยแบ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนหลักจากการปลูกถ่ายกระดูกอ่อนเลย์ 2 ตําแหน่ง ได้แก่ การเผยฝั่งของเนื้อเยื่อปลูกถ่ายขนาดใหญ่ซึ่งทําให้เกิดความล้มเหลวในผู้ป่วย 2 ราย และภาวะ แทรกซ้อนหลักจากการเสริมโพรงอากาศแมกซิลลา 2 ตําแหน่ง ได้แก่ การติดเชื้อของโพรงอากาศแมกซิลลาซึ่งทําให้เกิดความล้มเหลวในผู้ป่วย 1 ราย สรุป การทําศัลยกรรมบูรณะด้วยการปลูกถ่ายกระดูกอ่อนเลย์และการเสริมโพรงอากาศแมกซิลลา เพื่อการทํารากเทียมเป็นวิธีที่มีอัตราความสําเร็จสูง และเกิดภาวะแทรกซ้อนน้อย (ว ทันต จุฬาฯ 2558;38:51-66)


ผลของสารเรซินเหลวที่มีต่อความแข็งแรงพันธะเฉือนในช่วงแรกของสารยึดติดทางทันตกรรมจัดฟัน, พรรณทิพย์ ดงไพบูลย์, ไพบูลย์ เตชะเลิศไพศาล Jan 2015

ผลของสารเรซินเหลวที่มีต่อความแข็งแรงพันธะเฉือนในช่วงแรกของสารยึดติดทางทันตกรรมจัดฟัน, พรรณทิพย์ ดงไพบูลย์, ไพบูลย์ เตชะเลิศไพศาล

Chulalongkorn University Dental Journal

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของสารเรซินเหลวที่มีต่อความแข็งแรงของพันธะเฉือนในช่วงแรกของสารยึดติดทางทันตกรรมจัดฟันสามชนิดระหว่างแบร็กเกตและผิวเคลือบฟัน วัสดุและวิธีการ เตรียมฟันกรามน้อยจํานวน 60 ที่แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ๆ ละ 20 ซี่เตรียมผิวฟันด้วยกรดฟอสฟอริก ล้างน้ําและเป่าแห้งนําแบร็กเกตติดลงบนผิวฟันด้วยสารยึดติดชนิดบ่มด้วยแสงโดยกลุ่ม 1 (T) วัสดุ Transbond XT (3M Unitek, CA, USA) กลุ่ม2 (G) วัสดุ Grengloo (Ormco, Glendora, CA, USA) กลุ่ม 3 วัสดุ (P) Padlock (Reliance Orthodontic Product, Inc., Itasca, IL, USA) ในแต่ละกลุ่มถูกแบ่งเป็นกลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 10 ซี่ กลุ่มทดลองไม่มีการทาสารเรซินเหลว (T1, G1, P1) กลุ่มควบคุมทาสาร เรซินเหลว (T2, G2, P2) ตามคําแนะนําของผู้ผลิตนําตัวอย่างกลุ่มละ 9 ชิ้นไปวัดค่าความแข็งแรงของพันธะเฉือนหลังการฉายแสง 5 นาทีด้วยเครื่องทดสอบสากล ส่วนอีก 1 ชิ้น นําไปศึกษาลักษณะการแทรกซึมของเรซิน ในเคลือบฟันด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความแข็งแรงของพันธะเฉือนระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมของสารยึดติดแต่ละชนิดด้วยค่าสถิติที่ เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความแข็งแรงของ พันธะเฉือนในแต่ละกลุ่มด้วยค่าความแปรปรวนแบบทางเดียว วัดค่าการเหลืออยู่ของสารยึดติดบนตัวฟันด้วยค่า ดัชนีการเหลืออยู่ของสารยึดติด ทดสอบด้วยค่าทางสถิตไคสแควร์ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ผลการศึกษา ค่าเฉลี่ยและค่าความแปรปรวนของความแข็งแรงพันธะเฉือนของกลุ่ม T1 G1 และ P1 เท่ากับ 10.182.33 10.72+3.21 และ 17.61 23.67 เมกะปาสคาล ตามลําดับกลุ่ม T2 G2 P2 เท่ากับ 12.12 3.29 11.94 + 3.20 และ 10.44 + 3.47 เมกะปาสคาล ตามลําดับ …


เสถียรภาพของสีของเรซินซีเมนต์ชนิดต่างๆ เมื่อแช่ในน้ำกลั่นและไวน์แดง, เกวลิน ปฏิเวธวิทูร, เฉลิมพล ลี้ไวโรจน์ Jan 2015

เสถียรภาพของสีของเรซินซีเมนต์ชนิดต่างๆ เมื่อแช่ในน้ำกลั่นและไวน์แดง, เกวลิน ปฏิเวธวิทูร, เฉลิมพล ลี้ไวโรจน์

Chulalongkorn University Dental Journal

วัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบเสถียรภาพของสีของเรซินซีเมนต์ชนิดต่างๆ จากหลายผลิตภัณฑ์ ซึ่งมีองค์ประกอบและสีแตกต่างกันเมื่อผ่านการแช่ในสารละลายหรือเครื่องดื่มที่สามารถทําให้เกิดการเปลี่ยนสีของวัสดุในช่วงเวลาต่างๆ วัสดุและวิธีการ การศึกษานี้ใช้เรซินซีเมนต์ 6 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ 1) เรซินซีเมนต์ชนิดดั้งเดิม 4 ผลิตภัณฑ์ คือ เน็กซัสสทรีชนิดก่อตัวด้วยแสง (NxL) เน็กซัสสทรีชนิดก่อตัวสองรูปแบบ (NxD) รีไลเอ็กซ์ วีเนียร์ (RvL) และ วาลิโอลิงค์ วีเนียร์ (VvL) 2) เรซินซีเมนต์ชนิดเซลฟ์เอทช์-เซลฟ์แอดฮีซีฟ 2 ผลิตภัณฑ์ คือ แมกเซ็มอีไลท์ (MxD) และ รีไลเอ็กซ์ยูนิเซ็ม แบบแคปซูล (RuD) โดยทําชิ้นงานเป็นแผ่นรูปวงกลมขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง 12 มม. หนา 0.8 มม. ผลิตภัณฑ์ละ 2 สี ได้แก่ สีใสและสีขาวขุ่น กลุ่มละ 20 ชิ้น ทําการวัดสีครั้งแรกภายหลังวัสดุบ่มตัว เพื่อเป็นค่าพื้นฐาน ด้วยเครื่องวัดและเทียบสี (Ultrascan XE, Hunter Lab, USA) จากนั้นแบ่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 10 ชิ้น เพื่อแช่ในน้ํากลั่นหรือไวน์แดง ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส ทําการวัดสี ณ เวลา 10 20 30 60 และ 90 วัน แล้วนํามาเปรียบเทียบกับค่าพื้นฐานที่วัดไว้ เพื่อหาค่าการเปลี่ยนแปลงของสี (ΔE*) นําข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ด้วยสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสามทาง ผลการศึกษา เมื่อเรซินซีเมนต์ถูกแช่ในน้ํากลั่นหรือไวน์แดงด้วยเวลาที่นานขึ้น จะมีการเปลี่ยนแปลงของสีเพิ่มขึ้น การเปลี่ยนแปลงสีของเรซินซีเมนต์ที่แช่ในน้ํากลั่น เรียงจากน้อยไปมาก ในกลุ่มสีใส ได้แก่ NxD VVL NxL RvL MxD และ RuD ในกลุ่มสีขาวขุ่น ได้แก่ RuD NxD NxL …


An Inverse Relationship Between A Disintegrin And Metalloproteinase-9 And Proliferating Cell Nuclear Antigen Expression In Oral Lichen Planus, Darussakorn Maneerat, Pareena Chotjumlong, Thanapat Sastraruji, Surawut Pongsiriwet, Anak Iamaroon, Suttichai Krisanaprakornkit Jan 2015

An Inverse Relationship Between A Disintegrin And Metalloproteinase-9 And Proliferating Cell Nuclear Antigen Expression In Oral Lichen Planus, Darussakorn Maneerat, Pareena Chotjumlong, Thanapat Sastraruji, Surawut Pongsiriwet, Anak Iamaroon, Suttichai Krisanaprakornkit

Chulalongkorn University Dental Journal

Background A Disintegrin and Metalloproteinase-9 (ADAM-9) is a type I transmembrane protein associated with epithelial differentiation. ADAM-9 is involved in wound healing process by controlling keratinocyte migration and tumorigenesis. Proliferating cell nuclear antigen (PCNA) is a useful marker for cell proliferation. Several studies reported increased PCNA expression in oral lichen planus (OLP), but ADAM-9 expression in OLP has not yet been studied. Objectives To compare the expression of ADAM-9 and PCNA in OLP with that in normal oral mucosa and to find correlations between ADAM-9 or PCNA expression and OLP clinical severity. Materials and Methods The expression of ADAM-9 and …


Compressive Stress Enhances Notch1 Mrna Expression In Human Deciduous Dental Pulp Cells In Vitro, Karnnapas Peetiakarawach, Thanaphum Osathanon, Prasit Pavasant, Panarat Rattanaworawipa, Waleerat Sukarawan Jan 2015

Compressive Stress Enhances Notch1 Mrna Expression In Human Deciduous Dental Pulp Cells In Vitro, Karnnapas Peetiakarawach, Thanaphum Osathanon, Prasit Pavasant, Panarat Rattanaworawipa, Waleerat Sukarawan

Chulalongkorn University Dental Journal

Objective The present study aimed to investigate the influence of mechanical stress on Notch signaling component expression by human deciduous dental pulp cells. Materials and Methods Cells were isolated from human deciduous teeth. The mechanical stress was applied to cell culture using a computerized cell compressive force loading apparatus. Cell viability was evaluated using MTT assay. The mRNA expression of selected Notch signaling components was determined using quantitative real-time PCR. Results A computerized cell compressive mechanical stress did not influence cell viability. After mechanical stress treatment for 2 h, the NOTCH1, JAG1, and HEY1 mRNA levels were upregulated. However, the …


Lithium Chloride Activates Wnt Pathway And Suppresses Proliferation And C-Fos Mrna Expression In Human Deciduous Dental Pulp Cells, Panarat Rattanaworawipa, Thanaphum Osathanon, Prasit Pavasant, Waleerat Sukarawan Jan 2015

Lithium Chloride Activates Wnt Pathway And Suppresses Proliferation And C-Fos Mrna Expression In Human Deciduous Dental Pulp Cells, Panarat Rattanaworawipa, Thanaphum Osathanon, Prasit Pavasant, Waleerat Sukarawan

Chulalongkorn University Dental Journal

Objectives The objective of this study was to investigate the effects of the canonical Wnt pathway activated by LiCl, a GSK3β inhibitor, on proliferation of human deciduous pulp (hDDP) cells. Material and Methods Human deciduous dental pulp cells were stimulated with LiCl at various concentrations (5 mM, 10 mM, 20 mM). Cell morphology was visualized with inverted transmitted light microscope. Cell viability was determined using MTT assay. The mRNA expression levels were determined by quantitative real time polymerase chain reaction. Results LiCl did not exhibit cell toxicity, as evaluated by cell morphology and viability at 24 h. In addition, LiCl …


Taste Perception In Patients Wearing Upper Removable Orthodontic Appliances With Posterior Bite Planes, Sarawan Siripanthana, Chidsanu Changsiripun Jan 2015

Taste Perception In Patients Wearing Upper Removable Orthodontic Appliances With Posterior Bite Planes, Sarawan Siripanthana, Chidsanu Changsiripun

Chulalongkorn University Dental Journal

Objectives To compare the recognition threshold of the four taste qualities in patients wearing upper removable orthodontic appliances with posterior bite planes before and after insertion. Material and Methods Subjects who received upper removable orthodontic appliances with posterior bite planes were recruited in the study. Recognition threshold for salty, sweet, bitter and sour was measured using a Modified Harris-Kalmus test. The tests were conducted on three different occasions; T0-one month before appliance insertion; T1-on the day of appliance insertion; T2-one month after appliance insertion. The retest was additionally performed on T1, prior to appliance insertion. Friedman test was used to …


Cephalometric Correlation Among Pharyngeal Airway Dimensions And Surrounding Structures In Growing Thai Orthodontic Patients With Normodivergent Facial Pattern, Janeta Chavanavesh, Sirima Petdachai, Vannaporn Chuenchompoonut Jan 2015

Cephalometric Correlation Among Pharyngeal Airway Dimensions And Surrounding Structures In Growing Thai Orthodontic Patients With Normodivergent Facial Pattern, Janeta Chavanavesh, Sirima Petdachai, Vannaporn Chuenchompoonut

Chulalongkorn University Dental Journal

Objective To assess sexual dimorphism and correlation among pharyngeal airway dimensions, bony and soft tissue variables, and skeletal ages. Materials and Methods Four hundred and eighteen pretreatment lateral cephalometric radiographs (183 males, 235 females) of growing Thai orthodontic patients (6-20 years old; mean age, 13.95±3.62 years; divided into 3 skeletal ages, pre-pubertal (CS 1,2), pubertal (CS 3,4), and post-pubertal (CS 5,6)), Faculty of Dentistry, Chulalongkorn University were collected from 2007-2014. Twelve angular, 13 linear, and 3 area cephalometric measurements were analyzed. Sexual dimorphism was assessed by Studentûs t-test. Pearsonûs and Spearmanûs correlation coefficients were applied to explain variable correlations, including …


Soft Tissue Profile Changes Following Treatment Of Class Ii Division 1 Malocclusion With Different Orthodontic Modalities, Suhatcha Maetevorakul, Smorntree Viteporn Jan 2015

Soft Tissue Profile Changes Following Treatment Of Class Ii Division 1 Malocclusion With Different Orthodontic Modalities, Suhatcha Maetevorakul, Smorntree Viteporn

Chulalongkorn University Dental Journal

Objective To compare the soft tissue profile changes of Class II Division 1 patients who were treated by different orthodontic modalities. Materials and Methods The subjects comprised 104 Thai growing patients who presented Class II Division 1 malocclusion and were treated by different orthodontic modalities. Group I: 30 patients were treated with cervical headgear. Group II: 30 patients were treated with Class II traction. Group III: 44 patients were treated as an extraction of the four first premolars. The profile changes were scrutinized from lateral cephalograms before and after treatments by means of the X-Y coordinate system. Significant differences of …


Increased Wetting Time Of Methyl Formate-Methyl Acetate Did Not Increase Tensile Bond Strength Of Relined Denture Base Resin, Chalita Tanasamanchoke, Chairat Wiwatwarrapan Jan 2015

Increased Wetting Time Of Methyl Formate-Methyl Acetate Did Not Increase Tensile Bond Strength Of Relined Denture Base Resin, Chalita Tanasamanchoke, Chairat Wiwatwarrapan

Chulalongkorn University Dental Journal

Objective The interface between denture base and hard reline resin can be improved with chemical surface treatment, methyl formate-methyl acetate (MF-MA) solution, by dissolving the relined surface.This study evaluated the effect of various MF-MA wetting times on the tensile bond strength between a non-methyl methacrylate (MMA) based reline material and denture base. Materials and Methods One hundred plates of heat-cured denture base resin (Meliodent®) were prepared according to ISO 10139-2 and randomly divided into five groups: control and four experimental groups treated with CU Acrylic Bond, MF-MA at a ratio of 25:75 by volume, for 15, 30, 60, and 180 …


Microtensile Bond Strength Of New Self-Adhesive Flowable Resin Composite On Different Enamel Substrates, Mayurach Pipatphatsakorn Jan 2015

Microtensile Bond Strength Of New Self-Adhesive Flowable Resin Composite On Different Enamel Substrates, Mayurach Pipatphatsakorn

Chulalongkorn University Dental Journal

Objective The purpose of this study was to evaluate the impact of etching time on the microtensile bond strength (μTBS) of Vertise® FlowTM on sound enamel, artificial initial caries-like enamel and remineralized artificial initial caries-like enamel. Materials and Methods One hundred and twenty extracted human molars were ground to create a flat surface of enamel. Samples were randomly divided into 15 groups according to enamel substrates (S: sound enamel, D: artificial initial caries-like enamel, or R: remineralized artificial initial caries-like enamel), materials (C: ConciseTM or V: Vertise® FlowTM) and ethching time (0: Etching time 0 sec, 10: Etching time 10 …


Microtensile Bond Strength Of Self-Adhesive Resin Composite To Dentin, Suparit Chantchaimongkol, Sirivimol Srisawasdi Jan 2015

Microtensile Bond Strength Of Self-Adhesive Resin Composite To Dentin, Suparit Chantchaimongkol, Sirivimol Srisawasdi

Chulalongkorn University Dental Journal

Objective To evaluate the effect of pretreatment and aging process, by means of water storage, on microtensile bond strength (μTBS) of a self-adhesive resin composite to dentin. Materials and methods 72 extracted human molars were selected. μTBS was evaluated using mid-coronal dentin. According to pretreatment methods, type of materials and water storage time, teeth were randomly divided into 4 groups: control group: dentin pretreatment with Single BondTM Universal followed by FiltekTM Z350 XT Flowable; group without pretreatment followed by Vertise® FlowTM.group with pretreatment with 37.5% phosphoric acid followed by Vertise® FlowTM; and group with pretreatment with 37.5% phosphoric acid and …


ผลของสารคืนแร่ธาตุต่อการสึกกร่อนจากกรด ของผิวเคลือบฟันที่ปกคลุมด้วยแผ่นคราบน้ำลาย, สวัสดิ์ พจน์เลิศอรุณ, รังสิมา สกุลณะมรรคา Jan 2015

ผลของสารคืนแร่ธาตุต่อการสึกกร่อนจากกรด ของผิวเคลือบฟันที่ปกคลุมด้วยแผ่นคราบน้ำลาย, สวัสดิ์ พจน์เลิศอรุณ, รังสิมา สกุลณะมรรคา

Chulalongkorn University Dental Journal

วัตถุประสงค์ ศึกษาผลของซีพีพี เอซีพีและโนวามินต่อการต้านทานการสึกกร่อนจากกรดซิตริกบนผิวเคลือบฟัน ที่ปกคลุมด้วยแผ่นคราบน้ำลาย วัสดุและวิธีการ สร้างแผ่นคราบน้ําลายที่ผิวเคลือบฟันขนาด 2 x 2 x 2 มิลลิเมตร จํานวน 36 ชิ้นงาน โดยนําไปยึดติดในช่องปากของอาสาสมัคร 1 คน เป็นเวลา 2 ชั่วโมง นําชิ้นงานออกมาแบ่ง 3 กลุ่ม กลุ่มละ 12 ชิ้นงาน คือ กลุ่มควบคุม กลุ่มซีพีพี เอซีพี และกลุ่มโนวามิน โดยทาซีพีพีเอชพีหรือโนวามินที่ผิวเคลือบฟันของ กลุ่มทดลองทิ้งไว้ 3 นาที แล้วล้างออกด้วยน้ําปราศจากอิออน จากนั้นนําชิ้นงานทั้งสามกลุ่มไปแช่ในกรดซิตริกความเข้มข้นร้อยละ 1 เป็นระยะเวลา 60 วินาที วัดปริมาณการละลายออกของแคลเซียมอิออนในสารละลายด้วยเครื่องวิเคราะห์ธาตุ ส่วนชิ้นงานนําไปส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด ผลการศึกษา ค่าเฉลี่ย (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) ปริมาณแคลเซียมอิออนที่ละลายออกมา (หน่วยเป็นมิลลิกรัม ต่อลิตร) ของกลุ่มควบคุม กลุ่มซีพีพี เอซีพี และกลุ่มโนวามิน คือ 23.65 (7.80) 29.76 (6.55) 45.90 (9.61) ตามลําดับกลุ่มโนวามิน มีค่าเฉลี่ยมากกว่ากลุ่มควบคุมและกลุ่มซีพีพี- เอซีพี อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนกลุ่มควบคุมและกลุ่มซีพีพี เอซีพี มีค่าเฉลี่ยไม่แตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) สรุป ปริมาณแคลเซียมอิออนที่ละลายออกมาเมื่อแช่ในกรดซิตริกของกลุ่มโนวามินมีค่ามากกว่ากลุ่มควบคุมและกลุ่มซีพีพีเอชพีอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยผลจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดยืนยันว่าสารคืนแร่ธาตุทั้งสองชนิดสามารถต้านทานการสึกกร่อนจากกรดซิตริกบนผิวเคลือบฟันที่ปกคลุมด้วยแผ่นคราบน้ําลายได้