Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Medicine and Health Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Articles 1 - 3 of 3

Full-Text Articles in Medicine and Health Sciences

Quality Of Life Among Southwest American Indians And Alaska Natives Living With The Hepatitis C Virus, Rydell Todicheeney-Mannes Phd, Rn, Acns-Bc Dec 2013

Quality Of Life Among Southwest American Indians And Alaska Natives Living With The Hepatitis C Virus, Rydell Todicheeney-Mannes Phd, Rn, Acns-Bc

Dissertations

Background: Hepatitis C Virus is considered to be a global public health threat because seventy-five percent of infected persons have no symptoms and are unaware of their infection. It is significant to note that AI/ANs commonly contend with issues that prevent them from receiving or seeking medical care. Objectives: The purpose of this study was to: (a) Characterize the level of depression, alcohol consumption, stigma, and quality of life; (b) Examine the relationship among the variables of age, gender, residing on an AI/AN reservation, current partner status, depression, alcohol consumption, and stigma with quality of life in a sample of …


Evidenced Based Asthma Education Intervention For Adults In A Primary Care Setting Using Self Management Guidlines, Jeanette Toro-Linnehan Jan 2013

Evidenced Based Asthma Education Intervention For Adults In A Primary Care Setting Using Self Management Guidlines, Jeanette Toro-Linnehan

Doctor of Nursing Practice (DNP) Projects

Using the standard of treatment for asthma developed by the expert panel reports from the National Heart, Lung, and Blood Institute allows a clear roadmap to patient centered control(National Heart Lung And Blood Institute, 2007). A focus on proper diagnosis and control of a patient’s asthma, using self-management tools that will allow the patient to partner with their primary care provider is crucial to successful control of this disease (Safety Net Medical Home Initiative, 2010). In order to achieve this, educational interventions on control and reduction of exacerbations was taught in a primary care practice/medical home under the direction of …


อิทธิพลของความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย ความแตกฉานด้านสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคมต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว (The Influence Of Uncertainty In Illness, Health Literacy, And Social Support On Quality Of Life Of Patients With Heart Failure), วนิดา หาจักร, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ Jan 2013

อิทธิพลของความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย ความแตกฉานด้านสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคมต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว (The Influence Of Uncertainty In Illness, Health Literacy, And Social Support On Quality Of Life Of Patients With Heart Failure), วนิดา หาจักร, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ

Journal of Nursing Science Chulalongkorn University (วารสารพยาบาลศาสตร์)

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว และทำนายความรู้สึกไม่แน่นอนใน ความเจ็บป่วย ความแตกฉานด้านสุขภาพ และการสนับสนุนทางสังคมที่มีต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ภาวะหัวใจล้มเหลว \nรูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงความสัมพันธ์พยากรณ์ \nวิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวอายุมากกว่าหรือเท่ากับ 18 ปี ที่มา ติดตามรับการรักษา ณ คลินิกโรคหัวใจ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 85 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความ รู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยฉบับชุมชน แบบประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพขั้นพื้นฐานสำหรับ ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว แบบวัดการช่วยเหลือทางสังคมแบบพหุมิติ และแบบสอบถามวิถีชีวิตของ ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและวิเคราะห์ความเที่ยงแล้ว มีค่า ความเที่ยงมากกว่า 0.80 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน \nและการวิเคราะห์ถดถอยแบบเข้าพร้อมกัน \nผลการวิจัย: \n1. ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับปานกลางร้อยละ 54.1 \n2. ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวมีความแตกฉานด้านสุขภาพอยู่ในระดับไม่เพียงพอร้อยละ 47.1\n3. ความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยเพียงตัวแปรเดียวที่สามารถทํานายคุณภาพชีวิตของ ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (B = 651, p < .001) \n4. ความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย ความแตกฉานด้านสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคม สามารถร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวได้ร้อยละ 46.8 อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ AWANG (R2 = .468, p < .001) \nสรุปและข้อเสนอแนะ: \nการศึกษาครั้งนี้พบว่าความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยสามารถทำนายคุณภาพ ชีวิตได้สูง จึงควรนำผลการวิจัยที่ได้มาพัฒนาโปรแกรมการดูแลผู้ป่วย และมีการทดสอบประสิทธิผลของ โปรแกรม เพื่อลดความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยที่จะส่งผลให้ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวมีคุณภาพชีวิต ที่ดีต่อไป