Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Education Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

PDF

1999

Journal of Education Studies

Articles 1 - 30 of 37

Full-Text Articles in Education

ลานสาระ, ลัดดา ภู่เกียรติ Jul 1999

ลานสาระ, ลัดดา ภู่เกียรติ

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การศึกษาแนวทางการติดตามและประเมินโครงการพัฒนาในระดับจังหวัด, ศิริชัย กาญจนวาสี, สุมล ติรกานันท์, ศิริเดช สุชีวะ, ดวงกมล ไตรวิจิตรคุณ, ประเสริฐ แย้มสรวล, อุษา ปัญญาวดี, พิสณุ ฟองศรี Jul 1999

การศึกษาแนวทางการติดตามและประเมินโครงการพัฒนาในระดับจังหวัด, ศิริชัย กาญจนวาสี, สุมล ติรกานันท์, ศิริเดช สุชีวะ, ดวงกมล ไตรวิจิตรคุณ, ประเสริฐ แย้มสรวล, อุษา ปัญญาวดี, พิสณุ ฟองศรี

Journal of Education Studies

No abstract provided.


ผลของการนำเสนอวินโดว์ร่วมกับการจัดโครงสร้างเนื้อหาที่ต่างกันในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบไฮเปอร์มีเดียที่มีต่อการใช้ความรู้ของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ชั้นปีที่ ๑, เกียรติศักดิ์ พันธ์ลำเจียก Jul 1999

ผลของการนำเสนอวินโดว์ร่วมกับการจัดโครงสร้างเนื้อหาที่ต่างกันในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบไฮเปอร์มีเดียที่มีต่อการใช้ความรู้ของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ชั้นปีที่ ๑, เกียรติศักดิ์ พันธ์ลำเจียก

Journal of Education Studies

การศึกษาการนำเสนอวินโดว์แบบหน้าจอเดียวและแบบหลายหน้าจอ ที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ยังมีไม่มากและมีข้อขัดแย้งกันอยู่ ส่วนการจัดโครงสร้างเนื้อหาให้และการให้ผู้เรียนจัดโครงสร้างเนื้อหาด้วยตนเองที่ช่วยให้มีการเรียนรู้ อย่างมีความหมาย และสร้างโครงสร้างทางปัญญาให้ผู้เรียนนั้น การนําเสนอ วินโดว์แบบใดกับการจัดโครงสร้างเนื้อหาแบบใดให้ผลในการใช้ความรู้ของผู้เรียนได้ดีกว่ากัน การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการนำเสนอวินโดว์ร่วมกับการจัดโครงสร้างเนื้อหาที่ต่างกันในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบไฮเปอร์มีเดีย ที่มีต่อการใช้ความรู้ของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ชั้นปีที่ ๑ กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตระดับปริญญาบัณฑิต ชั้นปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๔๑ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จํานวน ๘๔ คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง ๔ กลุ่ม กลุ่มละ ๒๑ คน โดยวิธีสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย การนําเสนอวินโดว์ ๒ แบบ คือ แบบหน้าจอเดียวและแบบหลายหน้าจอ การ จัดโครงสร้างเนื้อหา ๒ แบบ คือ แบบบทเรียนจัดโครงสร้างเนื้อหาให้และแบบ กําหนดให้ผู้เรียนจัดโครงสร้างเนื้อหาด้วยตนเอง บทเรียนเป็นเรื่อง “หลักการ สอนรายบุคคลเบื้องต้น” ผลการวิจัยพบว่า ๑) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แบบไฮเปอร์มีเดียที่มีการนำเสนอวินโดว์แบบหน้าจอเดียวและแบบหลายหน้าจอมีผลต่อการใช้ความรู้ของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ชั้นปีที่ ๑ ไม่แตกต่าง กันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ๒) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบไฮเปอร์ มีเดียที่บทเรียนจัดโครงสร้างเนื้อหาให้และผู้เรียนพยายามจัดโครงสร้างเนื้อหา ด้วยตนเอง มีผลต่อการใช้ความรู้ของนักศึกษา ระดับปริญญาบัณฑิต ชั้นปีที่ ๑ ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ ๓) ไม่มีปฏิ สัมพันธ์ระหว่างการนําเสนอวินโดว์และการจัด โครงสร้างเนื้อหาในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบไฮเปอร์มีเดีย ที่มีต่อการใช้ความรู้ ของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ชั้นปีที่ ๑ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาคะแนนที่เพิ่มขึ้นจากผลการวิจัยพอที่จะเป็นประโยชน์ต่อนักออกแบบการสอนและ นักเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาที่จะนําไปพิจารณาในการออกแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และการศึกษาวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิด ผลสัมฤทธิ์ด้านพุทธิปัญญาระดับสูง ดังนี้ ๑) การนําเสนอวินโดว์แบบหลายหน้าจอที่บทเรียนจัดโครงสร้างเนื้อหาให้ ให้ผลดีในด้าน ความเข้าใจ และการวิเคราะห์ ๒) การนำเสนอ วินโดว์แบบหน้าจอเดียวที่กำหนดให้ผู้เรียน พยายามจัดโครงสร้างเนื้อหาด้วยตนเอง ให้ผล ดีในด้านการแก้ปัญหาระดับง่าย และการแก้ปัญหาระดับยาก


เด็กที่รู้สองภาษาในสหัสสวรรษใหม่, วรวรรณ เหมชะญาติ Jul 1999

เด็กที่รู้สองภาษาในสหัสสวรรษใหม่, วรวรรณ เหมชะญาติ

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การวัดบุคลิกภาพ : ศึกษาบุคลิกภาพ ของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, เกษมศักดิ์ ภูมิศรีแก้ว, ไพบูลย์ เทวรักษ์ Jul 1999

การวัดบุคลิกภาพ : ศึกษาบุคลิกภาพ ของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, เกษมศักดิ์ ภูมิศรีแก้ว, ไพบูลย์ เทวรักษ์

Journal of Education Studies

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาหาเกณฑ์คะแนนมาตรฐานการวัด บุคลิกภาพของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยใช้แบบทดสอบ The Maudsley Personality Inventory (MPI) ของ H.J., Eysenck ฉบับภาษาไทย ซึ่งแปล และเรียบเรียงโดย เกษมศักดิ์ ภูมิศรีแก้ว และ แฮรี่ การ์ดิเนอร์ การศึกษาวิจัย ครั้งนี้มีนิสิตที่ศึกษาระดับปริญญาตรี ระหว่างปีการศึกษา ๒๕๔๐-๒๕๔๑ จํานวน ๑,๔๙๐ คน อาสาสมัครเข้ารับการทดสอบบุคลิกภาพโดยผู้วิจัยได้ทําการทดสอบ ครั้งละ ๕๐ คน การทดสอบดำเนินไปตามคำอธิบายของคู่มือการทดสอบ MPI ทุกประการ กล่าวคือ ผู้รับการทดสอบได้รับแจกแบบทดสอบพร้อมกระดาษคำตอบ ซึ่งผู้รับการทดสอบจะทำแบบทดสอบตามความรู้สึกที่แท้จริงต่อข้อกระทงทั้งหมด ๔๘ ข้อ ในเวลา ๑๐-๑๕ นาที เมื่อเสร็จแล้วผู้วิจัยได้ทําการตรวจนับคะแนนแล้ว นำมาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และความถี่ของคะแนน Extro- vert Scale กับ Neurotic Scale ผลปรากฏว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนน Extrovert Scale เท่ากับ ๒๙.๒๗๙ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ ๖.๔๒๔ และค่าเฉลี่ยคะแนน Neurotic Scale เท่ากับ ๒๒.๓๔๐ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ ๗.๕๖๔ สำหรับ ผู้ที่อยู่ในเกณฑ์ปรกติคือ คะแนน Extrovert Scale ระหว่าง ๒๒.๔๕๕ กับ ๓๖.๗๐๓ และคะแนน Neurotic Scale ระหว่าง ๑๔.๗๗๖ กับ ๒๙.๙๐๔ มีจำนวนทั้งสิ้น ๖๘๗ คน ส่วนกลุ่มนิสิตที่ได้คะแนน Extrovert สูง Neurotic ปรกติ มีจำนวน ๑๒๖ คน กลุ่มนิสิตที่ได้คะแนน Neurotic สูง Extrovert ปรกติ มีจำนวน …


ทางเลือกการลดความสูญเปล่าทางการศึกษาของโปรแกรมวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ศึกษาในมหาวิทยาลัยของรัฐ : การพัฒนาและการวางนโยบายการศึกษา, จันทร์ชลี มาพุทธ Jul 1999

ทางเลือกการลดความสูญเปล่าทางการศึกษาของโปรแกรมวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ศึกษาในมหาวิทยาลัยของรัฐ : การพัฒนาและการวางนโยบายการศึกษา, จันทร์ชลี มาพุทธ

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การวิเคราะห์โปรแกรมช่วยสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน, สุกรี รอดโพธิทอง, อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง, วิชุดา รัตนเพียร Jul 1999

การวิเคราะห์โปรแกรมช่วยสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน, สุกรี รอดโพธิทอง, อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง, วิชุดา รัตนเพียร

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การสร้างแบบฝึกวิชาคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖, ลัดดา ภู่เกียรติ Jul 1999

การสร้างแบบฝึกวิชาคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖, ลัดดา ภู่เกียรติ

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การนำเสนอโครงสร้างระบบอุดมศึกษาในสังกัดกระทรวงกลาโหมในอนาคต, ชัยศึก เกตุทัต Jul 1999

การนำเสนอโครงสร้างระบบอุดมศึกษาในสังกัดกระทรวงกลาโหมในอนาคต, ชัยศึก เกตุทัต

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การเรียนรู้เพื่อรักและรักษ์สิ่งแวดล้อมด้วยกระบวนการซึมซับ, สุมน อมรวิวัฒน์ Jul 1999

การเรียนรู้เพื่อรักและรักษ์สิ่งแวดล้อมด้วยกระบวนการซึมซับ, สุมน อมรวิวัฒน์

Journal of Education Studies

กระบวนการเรียนรู้แบบซึมซับ เกิดขึ้นจากการที่อินทรีย์ทั้ง 5 ของมนุษย์ ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ได้สัมผัสกับรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (ความ กระทบทางกาย) และธรรมารมณ์ (ความกระทบทางใจ) แล้วเกิดความสัมพันธ์ ปฏิกิริยาโต้ตอบตามวิถีทางของสิ่งมีชีวิต กระบวนการเรียนรู้แบบซึมซับ ถือเป็นแนวทางการพัฒนาองค์ประกอบ ทั้งห้าที่รวมกันเข้าเป็นชีวิตหรือขันธ์ ๕ ได้แก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ซึ่งอาจแปลให้เข้ากับศัพท์ทางการศึกษาว่า เป็นการพัฒนาพฤติกรรม ความรู้สึก การรับรู้ การคิดพิจารณา และส่วนที่เป็นความรู้แจ้งของมนุษย์ การสอนให้บุคคลเกิดความรักและรักษาสิ่งแวดล้อม คือ การเชื่อมโยง ชีวิตกับธรรมชาตินั่นเอง ถึงแม้ว่าสิ่งแวดล้อมจะมีทั้งสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมทางสังคมและสิ่งแวดล้อมทางเทคโนโลยี การเผชิญและการอิงอาศัยซึ่ง กันและกันอาจมีความแตกต่างหลากหลาย แต่ถ้าการศึกษาสามารถสร้างกระบวนการการเรียนรู้ให้มนุษย์สามารถพัฒนาองค์ประกอบทั้งห้าของชีวิตให้เกิดการ วิวัฒน์อย่างต่อเนื่องยาวนานมนุษย์ย่อมสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมได้สมดุลและกลมกลืน สิ่งแวดล้อมถูกทําลายเพราะตัณหา ความทะยานอยากอย่างไร้ขอบเขต ของมนุษย์ กระบวนการเรียนรู้แบบซึมซับค่อยๆ เปลี่ยน ปรับปรุงแก้ไขให้ตัณหา กลายเป็นฉันทะ คือ ความใฝ่ใจรักและปรารถนาจะทําให้เกิดผลดียิ่ง ๆ ขึ้นไป ผู้มี ฉันทะคือผู้สร้างสรรค์ ส่วนตัณหานั้น คือตัวการของการทําลาย กระบวนการเรียนรู้แบบซึมซับเน้นการเรียนรู้ความจริงของชีวิตและสิ่งแวดล้อม โดยมุ่งให้ผู้เรียนได้สัมผัสและสัมพันธ์กับธรรมชาติ ได้รับรู้ลักษณะที่ดีงามและ เลวร้ายของธรรมชาติและของมนุษย์ ได้เผชิญสถานการณ์และปัญหา ได้ฝึกทักษะ การคิดและการปฏิบัติจนสามารถแก้ปัญหานั้นได้ การเรียนรู้นี้เกิดขึ้นตลอดเวลา ทั้งในครอบครัว โรงเรียน และ ในชุมชน


หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ, อุทัย บุญประเสริฐ Jul 1999

หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ, อุทัย บุญประเสริฐ

Journal of Education Studies

No abstract provided.


เวทีวิชาการ, พิมพันธ์ เดชะคุปต์ Jul 1999

เวทีวิชาการ, พิมพันธ์ เดชะคุปต์

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชางานประดิษฐ์ และงานช่างของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโดยการสอนด้วยวิธีสอนแบบสาธิต แบบใช้ใบงาน และแบบใช้วีดิทัศน์, ลาวัลย์ ศรีศิลปนันท์ Jul 1999

การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชางานประดิษฐ์ และงานช่างของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโดยการสอนด้วยวิธีสอนแบบสาธิต แบบใช้ใบงาน และแบบใช้วีดิทัศน์, ลาวัลย์ ศรีศิลปนันท์

Journal of Education Studies

No abstract provided.


ชีพจรการศึกษาโลก, อมรวิชช์ นาครทรรพ Jul 1999

ชีพจรการศึกษาโลก, อมรวิชช์ นาครทรรพ

Journal of Education Studies

No abstract provided.


ทางเลือกรูปแบบการศึกษาเพื่อพัฒนาอุดมการณ์ประชาธิปไตยของนักการเมืองท้องถิ่นในประเทศไทย, ชาญชัย ยมดิษฐ์ Mar 1999

ทางเลือกรูปแบบการศึกษาเพื่อพัฒนาอุดมการณ์ประชาธิปไตยของนักการเมืองท้องถิ่นในประเทศไทย, ชาญชัย ยมดิษฐ์

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับสถาบันการศึกษาก่อนประจำการของกรมตำรวจ, พินิจ อุสาโห Mar 1999

การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับสถาบันการศึกษาก่อนประจำการของกรมตำรวจ, พินิจ อุสาโห

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การวิเคราะห์ต้นทุนและทางเลือกในการลดต้นทุนโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, วิลาวัณย์ ตันวัฒนะพงษ์ Mar 1999

การวิเคราะห์ต้นทุนและทางเลือกในการลดต้นทุนโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, วิลาวัณย์ ตันวัฒนะพงษ์

Journal of Education Studies

No abstract provided.


พัฒนาวัฒนธรรม พัฒนาวิถีชีวิต ด้วยสีสันชนบท, จุมพล พูลภัทรชีวิน, ศักดิ์ชัย เกียรตินาคินทร์ Mar 1999

พัฒนาวัฒนธรรม พัฒนาวิถีชีวิต ด้วยสีสันชนบท, จุมพล พูลภัทรชีวิน, ศักดิ์ชัย เกียรตินาคินทร์

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การจัดการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง : โมเดลซิปปา (Cippa Model), ทิศนา แขมมณี Mar 1999

การจัดการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง : โมเดลซิปปา (Cippa Model), ทิศนา แขมมณี

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การสอนผ่านเครือข่ายเวิลด์ ไวด์ เว็บ, ใจทิพย์ ณ สงขลา Mar 1999

การสอนผ่านเครือข่ายเวิลด์ ไวด์ เว็บ, ใจทิพย์ ณ สงขลา

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามแนวคิดเชิงพุทธศาสตร์, จุมพล พูลภัทรชีวิน, ดลพัฒน์ ยศธร Mar 1999

การศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามแนวคิดเชิงพุทธศาสตร์, จุมพล พูลภัทรชีวิน, ดลพัฒน์ ยศธร

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การนำเสนอแนวทางสำหรับผู้ปกครองในการส่งเสริมการเรียนระดับประถมศึกษา โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม, พัชรี วรจรัสรังสี Mar 1999

การนำเสนอแนวทางสำหรับผู้ปกครองในการส่งเสริมการเรียนระดับประถมศึกษา โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม, พัชรี วรจรัสรังสี

Journal of Education Studies

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อนำเสนอแนวทางสําหรับผู้ปกครองในการส่งเสริมการเรียนของนักเรียนระดับประถมศึกษาของโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม สรุปผลวิจัยได้ดังนี้ แนวทางในการส่งเสริมการเรียน ประกอบด้วย ๒ ส่วน คือ ๑. ส่วนที่เป็นความเรียงประกอบด้วย คำนำ วัตถุประสงค์ วิธีใช้และ ประโยชน์ที่จะได้รับ ๒. ส่วนที่เป็นรายการปฏิบัติ ประกอบด้วย ๕ หัวข้อใหญ่ คือ ด้านความกดดัน การสนับสนุนทางจิตวิทยา ความช่วยเหลือ การกระตุ้นพัฒนาทางสติปัญญา และการแบ่งเวลา มีรายการปฏิบัติทั้งหมด ๙๓ ข้อ


เวทีวิชาการ, พิมพันธ์ เดชะคุปต์ Mar 1999

เวทีวิชาการ, พิมพันธ์ เดชะคุปต์

Journal of Education Studies

No abstract provided.


ชีพจรการศึกษาโลก, อมรวิชช์ นาครทรรพ Mar 1999

ชีพจรการศึกษาโลก, อมรวิชช์ นาครทรรพ

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การเรียนการสอนผ่านเว็บ : ทางเลือกใหม่ของเทคโนโลยีการศึกษาไทย, วิชุดา รัตนเพียร Mar 1999

การเรียนการสอนผ่านเว็บ : ทางเลือกใหม่ของเทคโนโลยีการศึกษาไทย, วิชุดา รัตนเพียร

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การวิจัยและพัฒนา, อุทัย บุญประเสริฐ Mar 1999

การวิจัยและพัฒนา, อุทัย บุญประเสริฐ

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การวิเคราะห์สภาพ ปัญหา และแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนวิชาธุรกิจในโรงเรียนมัธยมเขตกรุงเทพมหานคร : การวิจัยเอกสารและการวิจัยเชิงปริมาณ, สิริฉันท์ สถิรกุล เตชพาหพงษ์, จรูญศรี มาดิลกโกวิทย Mar 1999

การวิเคราะห์สภาพ ปัญหา และแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนวิชาธุรกิจในโรงเรียนมัธยมเขตกรุงเทพมหานคร : การวิจัยเอกสารและการวิจัยเชิงปริมาณ, สิริฉันท์ สถิรกุล เตชพาหพงษ์, จรูญศรี มาดิลกโกวิทย

Journal of Education Studies

No abstract provided.


การพัฒนาครูรูปแบบใหม่, โกวิท ประวาลพฤกษ์ Feb 1999

การพัฒนาครูรูปแบบใหม่, โกวิท ประวาลพฤกษ์

Journal of Education Studies

No abstract provided.


ชีพจรการศึกษาโลก, อมรวิชช์ นาครทรรพ Feb 1999

ชีพจรการศึกษาโลก, อมรวิชช์ นาครทรรพ

Journal of Education Studies

No abstract provided.


หลักสูตร “พัฒนศึกษา” ในต่างประเทศ : การวิเคราะห์ เพื่อบทเรียนสำหรับประเทศไทย, ชนิตา รักษ์พลเมือง Feb 1999

หลักสูตร “พัฒนศึกษา” ในต่างประเทศ : การวิเคราะห์ เพื่อบทเรียนสำหรับประเทศไทย, ชนิตา รักษ์พลเมือง

Journal of Education Studies

หลักสูตรสาขาวิชาพัฒนศึกษาได้มีการบุกเบิกในประเทศสหรัฐอเมริกา มาตั้งแต่ต้นทศวรรษ ๑๙๖๐ และได้แพร่หลายไปประเทศต่างๆ อย่างกว้างขวาง แต่ ดูเหมือนว่าความเข้าใจเกี่ยวกับสาขาวิชานี้ยังมีความคลาดเคลื่อนในประเทศไทย ผู้เขียนจึงได้วิเคราะห์เอกสารหลักสูตรสาขาวิชา “พัฒนศึกษา” ๒๓ แห่งในภูมิภาค ต่างๆ ทั้งในสหรัฐอเมริกา แคนาดา สหราชอาณาจักร สวีเดน ออสเตรเลีย และญี่ปุ่น เพื่อสํารวจพัฒนาการและ “เอกลักษณ์” ของสาขาวิชาเพื่อเป็นข้อคิดสําหรับการพัฒนา หลักสูตรในประเทศไทย สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้ (๑) สาขาวิชาพัฒนศึกษาเปิดสอนในระดับบัณฑิตศึกษา มีความเกี่ยวข้อง อย่างมากกับสาขาวิชาพื้นฐานการศึกษา (๒) การกำหนดเนื้อหาหลักสูตรมีลักษณะสหวิทยาการ (interdisciplinary),international/comparative no intercultural studies (๓) องค์ความรู้ของสาขาวิชาประกอบด้วยเนื้อหาทฤษฎีทางด้านการศึกษากับ การพัฒนา พื้นฐานการศึกษาด้านต่าง ๆ และนโยบายการศึกษา รวมไปถึงเทคนิคการ วิจัยและการวิเคราะห์ความสัมพันธ์และบทบาทการศึกษาในการพัฒนาประเทศด้านต่างๆ (๔) ขอบเขตของการศึกษาวิเคราะห์เน้นระดับกว้าง (macro) และให้ความ สนใจต่อการศึกษากับการพัฒนาและประเด็นปัญหาในประเทศกำลังพัฒนา (develop- ing countries) หรือโลกที่สาม (the Third World)