Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Architecture Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

2021

Architectural Technology

Theses/Dissertations

Institution
Keyword
Publication

Articles 1 - 30 of 34

Full-Text Articles in Architecture

Hurricanes And Housing: Highlighting The Ongoing Impact Of Hurricane Michael And The Post-Disaster Housing Problem, Mary Beth Barr Dec 2021

Hurricanes And Housing: Highlighting The Ongoing Impact Of Hurricane Michael And The Post-Disaster Housing Problem, Mary Beth Barr

Architecture Undergraduate Honors Theses

Hurricanes impact individuals and communities on many levels - emotional, physical, mental, financial - to name a few. Every time a hurricane occurs, lives are drastically altered forever. One of the ways that hurricanes impact individuals and communities most powerfully is through the effect that they have on housing. Unleashing uncontrollable damage to infrastructure and the built environment, hurricanes exacerbate housing problems that exist and create new ones where they did not exist before. Hurricane Michael, which catastrophically impacted the Florida Panhandle in 2018, is a case study in which the impact that hurricanes have on housing is prevalent.

By …


Construction Of An Apartment Building And Parking Garage, Kirsten Wilson, Kirsten R. Wilson Oct 2021

Construction Of An Apartment Building And Parking Garage, Kirsten Wilson, Kirsten R. Wilson

Honors College Theses

Construction projects are known far and wide to all people. Buildings we need for daily survival would not exist if it were not for the construction industry. Our homes, healthcare facilities, groceries, and other necessary amenities would be gone if it were not for the structures they are housed in. This project aims to simulate the lifespan of a construction job from the design phase to the preconstruction phase and stops at the final presentation before an agreement to start construction.

To create the simulation for the students, a fake RFP, or request for proposal, was created and given to …


3d Printed Concrete & Polymer Concrete For Infrastructure Applications, Daniel Heras Murcia Sep 2021

3d Printed Concrete & Polymer Concrete For Infrastructure Applications, Daniel Heras Murcia

Civil Engineering ETDs

Additive manufacturing technology has been established as one of the fastest-growing building technologies worldwide. Three-dimensional concrete printing (3DCP) has developed an increasing interest in the last decade due to its prospects as a transformative technology for industries such as the concrete precast. Besides the improvements in automation technologies in construction, traditional construction has faced considerable challenges: high accident rates, labor dependency, significant potential for automation, and high costs associated with the use of traditional formwork. In this context, three-dimensional concrete, also referred to as physical prototyping, is a novel construction technique in which the concrete is extruded layer-to-layer. 3DCP is …


Physical To Virtual: A Model For Future Virtual Classroom Environments, Stephen J. Fink Jul 2021

Physical To Virtual: A Model For Future Virtual Classroom Environments, Stephen J. Fink

Masters Theses

Virtual reality is a technology that has seen unprecedented growth since the turn of the century with increasing applications within business, entertainment, and educational applications. As virtual reality technologies continue to develops and markets expand, the world may see an increased demand for virtual classrooms: virtual environments (VEs) that students may access through immersive virtual reality technologies to receive guided instruction, conduct simulations, or perform tasks typical in a classroom setting. While many studies document how virtual reality is beneficial to educational processes, there is little discussion on how virtual environments should be architecturally designed. Thus one may hypothesize that …


Revitalización Urbana Sobre El Borde Marítimo. Propuestas De Diseño Urbano Y Arquitectónico En Tumaco - Nariño, Brian Camilo Zuleta Londoño Jul 2021

Revitalización Urbana Sobre El Borde Marítimo. Propuestas De Diseño Urbano Y Arquitectónico En Tumaco - Nariño, Brian Camilo Zuleta Londoño

Arquitectura

No abstract provided.


Alternativas Espaciales, Técnicas Y Constructivas Para La Educación Básica Primaria En La Ruralidad, Edgar Andrés Matiz López, Daniel Alberto Galvis Duarte Jun 2021

Alternativas Espaciales, Técnicas Y Constructivas Para La Educación Básica Primaria En La Ruralidad, Edgar Andrés Matiz López, Daniel Alberto Galvis Duarte

Arquitectura

Esta nueva propuesta Arquitectónica contempla en principio, unas dinámicas que se adaptan de mejor manera al entorno rural, puesto que considera la autonomía del estudiante un factor a favor, dado que integra una dinámica educativa adaptable al entorno ya la cultura, variable que en el contexto colombiano es muy importante; bajo estos criterios se hace necesario contemplar que esta solución es transversal entre diferentes disciplinas, donde la arquitectura de igual manera es fundamental para poder lograr una solución efectiva puesto que permite generar unos espacios adecuados e integrales. por esta razón este trabajo contempla las determinantes rurales, los principios espaciales …


Zoologijos Sodas, Arjun Elvis Urbonas, Dara Lin, Jesus Ramirez Zambrano, Samantha Ung, Robert Milkovich, Jakob Olsen, Azuolas Skucas Jun 2021

Zoologijos Sodas, Arjun Elvis Urbonas, Dara Lin, Jesus Ramirez Zambrano, Samantha Ung, Robert Milkovich, Jakob Olsen, Azuolas Skucas

Architecture

50'x50' glass house in Palm Springs.


Take Heart School, Quentin John Porter Jun 2021

Take Heart School, Quentin John Porter

Architectural Engineering

Journeyman International, also known as JI, is a non-profit organization that groups together design and construction students with organizations looking to build humanitarian projects around the world. This pairing is beneficial for both the organization because they get free design and construction expertise, as well as for the students who get real-world experience. The Take Heart School is a planned school and grounds for the region of Migori Kenya. Take Heart Africa is a fair trade store with all profits going to help the impoverished communities of Kenya. The three-acre site will have a school with eight classrooms, offices, a …


[Aero]Tecture: An Exploration Of The Relationship Between Natural Air And The High-Rise Office Typology, Matthew Williams May 2021

[Aero]Tecture: An Exploration Of The Relationship Between Natural Air And The High-Rise Office Typology, Matthew Williams

Bachelor of Architecture Theses - 5th Year

This thesis explores the relationship between natural air and high-rise office typology and questions “has air been neglected as an essential element of spatial design, and if so, what are the consequences of such neglect?” Pre-1900, office buildings relied on natural ventilation to function. With the advent of technology such as air conditioning in 1902, accompanied by innovations in standardized steel, artificial lighting, and hydraulic elevators at the turn of the century, office buildings got bigger, taller, and deeper for economic benefit. The resulting architecture of high-rise offices supplemented natural air with mechanical air. The thesis concludes that several complications …


Technological Augmentation: Creating A Public Center For Making, Timothy Hardeman May 2021

Technological Augmentation: Creating A Public Center For Making, Timothy Hardeman

Bachelor of Architecture Theses - 5th Year

We live in an era where technology is driving forward at an unprecedented pace. We have access to tools, materials, and processes which weren’t even conceptualized 50 years ago. 3D printing, CNCs, and Laser Cutters allow us to create incredible designs, and at affordable prices. We have carbon fiber, advanced composites, and modern alloys.

But where do we experience these things? In a classroom? Through screens as we read about these intangible leaps in technology? Why don’t we have a place where we get to experience these things first-hand, and experiment with our own ideas about how they could be …


Medkit: Modular Emergency Deployment, Christian Ladefoged, Zamila Karimi May 2021

Medkit: Modular Emergency Deployment, Christian Ladefoged, Zamila Karimi

Bachelor of Architecture Theses - 5th Year

This thesis began with exploring low-cost prefab dwelling units to be implemented in struggling communities with extreme poverty, homelessness, and unemployment. The initial research on modular units shifted to focus on our healthcare infrastructure challenges here at home given the COVID-19 crisis.

“Coronavirus disease 2019 (COVID-19) has had a substantial impact on racial and ethnic minority populations and essential workers in the United States …”1 This disease disproportionately impacts poor and rural communities in the United States, showing double the mortality than urban areas simply due to the neglected environment2. Emergency assistance is needed to expand the …


Encapsulating Sound, Jackie Soto May 2021

Encapsulating Sound, Jackie Soto

Bachelor of Architecture Theses - 5th Year

This thesis aims to identify the acoustic anomalies of Cannon Chapel by understanding how its visitants typically occupy the flexible space, the use of materials, and the shape of the spaces, and therefore to accurately resolve those acoustic anomalies, improving the auditory experience of those visitants and advancing architectural acoustic research.


Evolving Efficient Floor Plans For Hospital Emergency Rooms, Alex Ramsey May 2021

Evolving Efficient Floor Plans For Hospital Emergency Rooms, Alex Ramsey

Theses/Capstones/Creative Projects

Genetic Algorithms find wide use in optimization problems across many fields of research, including crowd simulation. This paper proposes that genetic algorithms could be used to create better floor plans for hospital emergency rooms, potentially saving critical time in high risk situations. The genetic algorithm implemented makes use of a hospital-specific crowd simulation to accurately evaluate the effectiveness of produced layouts. The results of combining genetic algorithms with a crowd simulation are promising. Future work may improve upon these results to produce better, more optimal hospital floor plans.


Evaluation Of Conventional Energy Conservation Strategies And Active Thermal Insulation Wall System And Economic Analyses., Li Liu May 2021

Evaluation Of Conventional Energy Conservation Strategies And Active Thermal Insulation Wall System And Economic Analyses., Li Liu

Electronic Theses and Dissertations

For the past few decades, the importance and the technology of building energy conservation is increasing. In support of this research into energy efficiency, the Department of Energy has developed simulation models of sixteen buildings representing most commercial buildings in the US. In this research, four of these sixteen prototype models were used in energy conservation analyses variety of energy conservation strategies in the seven US Climate Zones. To estimate the effectiveness of several common energy conservation measures on yearly building energy use, holistic analyses were conducted using software that accounts for the interactions of the building systems, occupants and …


Vivienda Rural Neovernacular Tradicional Para Sabana Semiinundable – Tame-Arauca., Angela Liliana Espinel Solano Jan 2021

Vivienda Rural Neovernacular Tradicional Para Sabana Semiinundable – Tame-Arauca., Angela Liliana Espinel Solano

Arquitectura

Se expone un proceso de investigación, en primer lugar se hace una búsqueda de viviendas ru - rales de distintos tiempos y territorios en Colombia, logrando crear una recolección de caracte - rísticas en planta, que demuestren su arquitectura profunda. En segundo lugar, se estudia una muestra de diez (10) viviendas rurales, cinco (5) pertenecientes al departamento de Arauca y cinco (5) del municipio de Tame, por medio de estas se busca comprender su contexto, los mo - dos de vida de las familias que las habitan, relaciones espaciales y el paisaje cultural, con el objeti - vo de obtener …


Humanizing Architecture: A Polymorphic Space, Nada Abbara Jan 2021

Humanizing Architecture: A Polymorphic Space, Nada Abbara

Theses and Dissertations

The built environments in which our communities thrive constitute an integral part of human experience and evolution. Yet, many places are detached from the way we experience them due to mass-production, which often produces standardized environments, and due to the tendency of modern architecture to delineate spaces as static objects rather than dynamic interactions. Thus, there is an emerging need to humanize architecture through an interdisciplinary approach that engages nature’s behavioral patterns. The project proposes a transformable polyhedral structure that interacts with human emotion through a three-dimensional morphing space that contracts and expands. This spatial interaction is achieved through a …


Arquitectura Modular Para El Uso Educativo Y Comunitario En La Ruralidad, Juan Sebastian Pascagaza León, Johan Sebastian Rodriguez Jaramillo Jan 2021

Arquitectura Modular Para El Uso Educativo Y Comunitario En La Ruralidad, Juan Sebastian Pascagaza León, Johan Sebastian Rodriguez Jaramillo

Arquitectura

En una primera instancia del proyecto se debe conocer a partir de un problema a escala macro en el contexto rural y a partir de eso se determina que el sector educativo y comunitario en la ruralidad ha tenido problemas a lo largo de la historia en Colombia, debido a diferentes problemas sociales, conflicto armado o a la mala adecuación y administración que se da a las instituciones lo que ocasiona una mala cobertura y la pésima calidad en la educación rural en el país. Para generar un proyecto arquitectónico por medio de la arquitectura modular adaptable se deben estudiar …


ผลกระทบของแสงสว่างเพื่อนาฬิกาชีวิตต่อการใช้พลังงานอาคารประเภทสำนักงานในประเทศไทย, วริยาภรณ์ กิตติวังชัย Jan 2021

ผลกระทบของแสงสว่างเพื่อนาฬิกาชีวิตต่อการใช้พลังงานอาคารประเภทสำนักงานในประเทศไทย, วริยาภรณ์ กิตติวังชัย

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ปัจจุบันการออกแบบอาคารให้ความสำคัญกับคุณภาพชีวิตของผู้ใช้งานอาคารมากขึ้น การออกแบบแสงสว่างภายในอาคารเพื่อระบบนาฬิกาชีวิตของร่างกายมนุษย์เป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยส่งเสริมสุขภาพที่ดีให้กับผู้ใช้อาคาร ซึ่งแสงสว่างในอาคารจะประกอบด้วยแสงธรรมชาติและแสงประดิษฐ์ ที่ส่งผลต่อการใช้พลังงานของอาคารจากการทำความเย็น และไฟฟ้าแสงสว่าง จากการศึกษางานวิจัยที่ผ่านมายังพบการศึกษาในเรื่องแสงสว่างเพื่อนาฬิกาชีวิตที่ส่งผลกระทบต่อการใช้พลังงงานโดยรวมของอาคารจากทั้งระบบปรับอากาศและไฟฟ้าแสงสว่างค่อนข้างน้อย งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวแปรการออกแบบแสงสว่างภายในอาคารที่มีผลต่อนาฬิกาชีวิต ตามเกณฑ์ WELL Building Standard v.2 หัวข้อ Circadian Lighting วิเคราะห์ผลกระทบต่อการใช้พลังงานโดยรวมของอาคาร และเสนอแนวทางการออกแบบแสงสว่างที่เหมาะสมต่อนาฬิกาชีวิตที่สามารถนำไปช่วยในการตัดสินใจให้กับผู้ออกแบบ โดยเป็นงานวิจัยเชิงจำลอง ที่ต้องการศึกษาตัวแปรที่มีผลต่อทั้งปริมาณแสงธรรมชาติ ปริมาณแสงประดิษฐ์ และการใช้พลังงานอาคาร ได้แก่ รูปทรงอาคาร ขนาดสัดส่วนพื้นที่ช่องเปิดต่อเปลือกอาคาร (WWR) ประเภทกระจก ค่าอุณหภูมิสีสัมพันธ์ของหลอดไฟ และการวางผังดวงโคมไฟฟ้าแสงสว่างภายในที่แตกต่างกัน เพื่อนำไปคำนวณค่า Spatial Daylight Autonomy (sDA) ค่า Vertical Illuminance (Ev) และค่า Equivalent Melanopic Lux (EML) รวมทั้งจำลองการใช้พลังงานโดยรวมของอาคาร ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ DesignBuilder และ Dialux Evo ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ในบางกรณีค่าการใช้พลังงานโดยรวมของอาคารไม่สัมพันธ์กับค่า EML เนื่องจากค่า EML ตามเกณฑ์ WELL นั้น กำหนดให้ประเมินจากความส่องสว่างในแนวดิ่งจากแสงประดิษฐ์เท่านั้น ไม่ได้ประเมินโดยนำแสงธรรมชาติมาร่วมด้วย แต่การใช้พลังงานโดยรวมของอาคาร ต้องพิจารณาทั้งการใช้พลังงานไฟฟ้าแสงสว่างจากแสงประดิษฐ์ และพลังงานจากเครื่องปรับอากาศที่มีผลจากความร้อนที่เข้ามาภายในอาคารพร้อมกับแสงธรรมชาติ โดยอาคารที่ได้แสงสว่างที่เหมาะสมต่อนาฬิกาชีวิต หรือมีค่า EML ที่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำนั้น เมื่อเทียบกับอาคารต้นแบบมีทั้งกรณีที่การใช้พลังงานโดยรวมของอาคารเพิ่มขึ้น 0.04%-4.82% และกรณีที่การใช้พลังงานโดยรวมของอาคารลดลง 0.01-5.33% นอกจากนี้การใช้แสงประดิษฐ์เพื่อให้ได้ปริมาณความส่องสว่างที่เหมาะสมต่อนาฬิกาชีวิตในอาคารสำนักงาน ทำให้การใช้พลังงานไฟฟ้าแสงสว่างเพิ่มขึ้นสูงสุดถึง 3.47 เท่า เมื่อเทียบกับอาคารต้นแบบ อย่างไรก็ตามแสงธรรมชาติในประเทศไทยนั้นเหมาะสมต่อนาฬิกาชีวิต หากสามารถศึกษาการประเมินค่า EML จากแสงธรรมชาติร่วมกับแสงประดิษฐ์ ก็จะสามารถลดการใช้พลังงานไฟฟ้าแสงสว่างลงได้


Arquitectura Efímera Mediante Diseño Paramétrico Para La Participación Social En Espacios Públicos, Miguel Ángel Fernández Ortiz Jan 2021

Arquitectura Efímera Mediante Diseño Paramétrico Para La Participación Social En Espacios Públicos, Miguel Ángel Fernández Ortiz

Arquitectura

No abstract provided.


ขนาดประตูอลูมิเนียมกระจกที่เหมาะสมที่สุดต่อการประหยัดวัสดุ ในการออกแบบอาคาร, ดุษฎี อังคณาวิศัลย์ Jan 2021

ขนาดประตูอลูมิเนียมกระจกที่เหมาะสมที่สุดต่อการประหยัดวัสดุ ในการออกแบบอาคาร, ดุษฎี อังคณาวิศัลย์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ประตูหน้าต่างเป็นส่วนประกอบสำคัญของอาคาร และมีมูลค่ามากถึง 15% ของค่าก่อสร้างทั้งหมด โดยราคาของประตูหน้าต่างอลูมิเนียมและกระจกที่กำลังเป็นที่นิยมนั้น จะมาจากค่าวัสดุมากถึง 3 ใน 4 ส่วน ของต้นทุนทั้งหมด การศึกษาครั้งนี้จะหาขนาดประตูที่เหมาะสมกับวัตถุดิบที่ผลิตในประเทศและให้เหลือเศษน้อย โดยเลือกอาคารที่ทำการที่กรมโยธาธิการและ ผังเมืองออกแบบเป็นกรณีศึกษา จากการศึกษาแบบอาคาร จำนวน 18 อาคาร พบว่ามีการออกแบบประตูหลายรูปแบบ ได้แก่ แบบบานเปิดเดี่ยว บานเปิดเดี่ยวแบบมีช่องแสง บานเปิดคู่ บานเลื่อนเดี่ยว บานเลื่อนคู่ และบานเลื่อนสลับ แต่ละรูปแบบยังมีขนาดแตกต่างกัน เฉพาะประตูบานเปิดเดี่ยวและบานเปิดเดี่ยวแบบมีช่องแสง จะมีความกว้างตั้งแต่ 0.800 – 1.000 ม. และความสูงตั้งแต่ 2.050 – 3.000 ม. และมีขนาดต่างๆ ได้แก่ 0.800x2.050, 0.800x2.500, 0.900x2.600, 1.000x2.200, 1.000x2.250, 1.000x2.500, 1.000x2.600, 1.000x2.900 และ 1.000x3.000 ม. เนื่องจากอลูมิเนียมที่ผลิตจากโรงงานมีความยาว 6.400 ม. แต่จะใช้งานจริงได้เพียง 6.300 ม. ดังนั้นเพื่อให้ขนาดประตูบานเปิดเดี่ยวสัมพันธ์กับความยาวอลูมิเนียม และไม่เหลือเศษ จะต้องกว้าง 0.900 ม. และ 1.050 ม. และสูง 2.100 ม. และ 3.150 ม. สำหรับกระจกนั้น ส่วนใหญ่จะกำหนดให้ใช้ คือ กระจกใส หนา 6 มม. ซึ่งในปัจจุบันโรงงานผลิตมากถึง 11 ขนาด มีความกว้างตั้งแต่ 1.524 - 3.048 ม. และยาวตั้งแต่ 1.829 - 5.080 ม. เมื่อพิจารณาขนาดประตูที่เหมาะกับอลูมิเนียมที่ผลิต และสัมพันธ์กับขนาดกระจก จะพบว่า ถ้าใช้กระจกขนาด 1.829x2.134 ม. หรือ 2.134x3.658 ม. …


Vivienda Palafítica Para Entorno Inundable Proyecto De Vivienda Ccc Canal Del Dique Bolívar, Laura Sofia López Cerro, Diego Alejandro Jiménez Bonilla Jan 2021

Vivienda Palafítica Para Entorno Inundable Proyecto De Vivienda Ccc Canal Del Dique Bolívar, Laura Sofia López Cerro, Diego Alejandro Jiménez Bonilla

Arquitectura

El presente trabajo de investigación y proyecto arquitectónico, surge en la oportunidad de plantear una solución para la vivienda en una zona con inundación moderada, en el cual se pueda generar un propicio para el desarrollo de la vida campesina.

Sustentada en dos partes fundamentales, la primera en el diagnostico y análisis del lugar frente a las condiciones ambientales, sociales y económicas existentes y los posibles cambios respecto a las propuestas de cambio y adaptación enfocadas en el sector; la segunda, surge del estudio de la familia Cerro, la cual, de acuerdo a unas necesidades específicas, propicia la creación de …


Urban Attraction Policies For Science And Technology Talent: Case Studies Of Chinese Cities, Yuxuan Shan Jan 2021

Urban Attraction Policies For Science And Technology Talent: Case Studies Of Chinese Cities, Yuxuan Shan

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

In the modern era of rapid socio-economic development, high-skill human resources, especially science and technology talents, have become pivotal to promoting urban development. For decades, there has been fierce competition among local governments in China to issue more competitive policies to attract talents to live and work in the cities. As China’s first-tier cities, Beijing, Shanghai, Guangzhou, and Shenzhen have tried to achieve the goal of becoming a scientific and technological innovation center with global influence. Thus, these cities have implemented their local policies on talents. This study adopts a case study research method to analyze the contexts of local …


การกัลปนาพระตำหนักจากพระบรมมหาราชวัง ในมิติการอนุรักษ์สถาปัตยกรรม, ณัฐปภัสร์ นิยะเวมานนท์ Jan 2021

การกัลปนาพระตำหนักจากพระบรมมหาราชวัง ในมิติการอนุรักษ์สถาปัตยกรรม, ณัฐปภัสร์ นิยะเวมานนท์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

วิทยานิพนธ์นี้มุ่งเน้นในการศึกษาหาแนวความคิดการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมจากการกัลปนาเรือน อันเป็นความเชื่อและระเบียบปฏิบัติที่ทำต่อกันมาในสังคมไทย การกัลปนาเรือนเป็นการถวายเรือนพักอาศัยที่หมดหน้าที่ใช้สอยเพื่อการใช้ประโยชน์ทางศาสนา ผลคือทำให้เรือนนั้นถูกใช้งานถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นผลลัพธ์เช่นเดียวกับการอนุรักษ์สถาปัตยกรรม ทั้งนี้ การศึกษาได้เลือกกรณีศึกษาเป็นกลุ่มอาคารที่มาจากที่เดียวกัน สร้างในระยะเวลาใกล้เคียงกัน แต่กัลปนาออกไปต่างสถานที่และต่างสมัยกัน เพื่อให้เห็นแนวความคิดในการกัลปนาเรือนจากกลุ่มอาคารดังกล่าว โดยเลือกกรณีศึกษาเป็นหมู่พระตำหนักในพระบรมมหาราชวัง 3 หมู่ที่สร้างสมัยรัชกาลที่ 1-2 ได้แก่ 1) หมู่พระตำหนักตึกพบ 1 หลัง กัลปนาสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นศาลาการเปรียญ วัดรัชฎาธิษฐาน 2) หมู่ตำหนักเขียวพบ 1-2 หลัง กัลปนาสมัยรัชกาลที่ 3 ไปเป็นกุฏิเจ้าอาวาสวัดอมรินทราราม และ 3) หมู่พระตำหนักแดงพบ 3 หลัง ได้แก่ พระตำหนักแดงกัลปนาไปเป็นกุฏิ วัดเขมาภิรตาราม ในสมัยรัชกาลที่ 4 ต่อมาคือพระที่นั่งมูลมณเฑียร กัลปนาไปเป็นโรงเรียนที่วัดเขมาภิรตาราม ในสมัยรัชกาลที่ 5 และสุดท้ายคือพระตำหนักแดง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ที่ไม่ได้กัลปนาเพียงแต่มีการย้ายที่ตั้ง และปรับการใช้สอยในเวลาต่อมา วิธีวิจัยในการศึกษาใช้การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ เรื่องการกัลปนา การอนุรักษ์สถาปัตยกรรม และข้อมูลพระตำหนักในพระบรมมหาราชวัง จากนั้นทำงานภาคสนามด้วยการรังวัดและทำโฟโตแกรมเมตรี เพื่อแสดงรูปทรง ร่องรอยต่าง ๆ นำมาทำแบบสถาปัตยกรรม จากนั้นนำข้อมูลทั้งหมดมาประมวลให้เกิดแบบทางการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมเพื่อให้เห็นพัฒนาการ ความเปลี่ยนแปลง เพื่อนำมาวิเคราะห์หาแนวความคิดการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมกับการกัลปนาเรือน ซึ่งจากการศึกษาพิจารณาตามแนวทางการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมที่สอดคล้องกับแนวทางการกัลปนาเรือนเบื้องต้น ได้แก่ คุณค่าและความแท้ การปรับการใช้สอยอาคาร และลำดับชั้นความเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบ พบว่าการกัลปนาเรือนเป็นแนวทางการอนุรักษ์แบบหนึ่งที่คำนึงถึงคุณค่าทางจิตวิญญาณมากกว่าคุณค่าที่เป็นรูปธรรม ได้แก่ จุดตั้งต้นแนวคิดในการอุทิศส่วนกุศล ส่งผลให้มีการย้ายที่ตั้งและปรับการใช้สอยสู่วัด การพิจารณาอาคารที่มีขนาด ผัง และฐานานุศักดิ์ที่มาใช้งานแทนกันได้แล้วจึงต่อเติมวัสดุเพื่อประโยชน์สูงสุดคืออาคารยังใช้งานได้สืบมา แต่ก็ยังคำนึงถึงประเด็นที่จะรักษาไว้อย่างแนบแน่น คือ เครื่องแสดงฐานานุศักดิ์และเครื่องแสดงความเป็นเอกลักษณ์ของเรือนนั้นไว้ โดยจะสงวนรักษาองค์ประกอบเหล่านั้นไว้อย่างดี ทำให้ส่วนหลังคาและเรือนคงรูปแบบอย่างดีถึงปัจจุบัน แต่เมื่อมีการใช้งานใหม่จะนิยมต่อเติมในส่วนใต้ถุนของอาคารแทน ทั้งนี้ การศึกษาแนวความคิดการอนุรักษ์ผ่านกรณีศึกษายังทำให้เห็นความเปลี่ยนแปลง รวมไปถึงการย้อนไปหาความดั้งเดิมของรูปแบบจนเกิดแนวทางการสันนิษฐานหมู่พระตำหนักที่กล่าวมาผ่านการอนุรักษ์สถาปัตยกรรม


การพัฒนาเครื่องมือเสริมบนแบบจำลองสารสนเทศอาคารเพื่อหาค่าแสงที่ส่งผลต่อนาฬิกาชีวภาพสำหรับการออกแบบอาคารสำนักงานขั้นต้น, เจนจิรา เรืองทรัพย์เอนก Jan 2021

การพัฒนาเครื่องมือเสริมบนแบบจำลองสารสนเทศอาคารเพื่อหาค่าแสงที่ส่งผลต่อนาฬิกาชีวภาพสำหรับการออกแบบอาคารสำนักงานขั้นต้น, เจนจิรา เรืองทรัพย์เอนก

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

แสงธรรมชาติ (Daylight) เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อวงจรการหลับ-ตื่น (Circadian rhythm) หากมีการใช้ร่วมกับแสงประดิษฐ์ (Artificial light) ในปริมาณที่เหมาะสมจะช่วยให้ผู้ใช้งานมีคุณภาพความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น งานวิจัยนี้เพื่อศึกษาวิธีการคำนวณหาค่าปริมาณแสงที่ส่งผลต่อนาฬิกาชีวภาพ เพื่อพัฒนาเครื่องมือแบบจำลองสารสนเทศอาคาร (Building Information Modeling: BIM) ช่วยคำนวณให้ผู้ออกแบบ โดยใช้โปรแกรม Autodesk Revit (Revit) ร่วมกับการใช้เครื่องมือเสริม Autodesk Dynamo Studio (Dynamo) วิจัยเริ่มต้นโดยการหาค่า Melanopic Ratio: MR ของแสงธรรมชาติให้เหมาะสมกับบริบทประเทศไทย สำหรับการคำนวณหาค่า Equivalent Melanopic Lux: EML และศึกษาการทำงานของแบบจำลองสารสนเทศอาคาร เพื่อกำหนดข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นในการพัฒนาเครื่องมือเสริม และได้ทดลองใช้เครื่องมือที่พัฒนามาทำการเปรียบเทียบผลกับการคำนวณผ่านโปรแกรมอื่น โดยพบว่าเครื่องมือที่พัฒนาสามารถช่วยคำนวณหาค่าความส่องสว่างในแนวดิ่ง (Vertical illuminance: Ev) สำหรับให้ได้ค่า EML ที่ต้องการทั้งแสงสว่างจากแสงธรรมชาติและแสงประดิษฐ์ได้ เพื่อให้สถาปนิกผู้ออกแบบเปลือกอาคารโปร่งใสร่วมกับการใช้แสงประดิษฐ์ในอาคารสำนักงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อส่งเสริมให้เกิดสุขภาวะที่ดีต่อวงจรการหลับ-ตื่นของร่างกายมนุษย์


การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ “เซีย” ในเฮือนลาว: กรณีศึกษา บ้านหินสิ่ว เมืองโขง แขวงจำปาสัก สปป.ลาว, ไพจิด ฟองคำแดง Jan 2021

การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ “เซีย” ในเฮือนลาว: กรณีศึกษา บ้านหินสิ่ว เมืองโขง แขวงจำปาสัก สปป.ลาว, ไพจิด ฟองคำแดง

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการตั้งถิ่นฐาน การใช้พื้นที่ภายในเฮือนและการเปลี่ยนแปลงการใช้พื้นที่เซียของเฮือนลาวในเขตภาคใต้ ผ่านกรณีศึกษา บ้านหินสิ่ว เมืองโขงแขวงจำปาสัก สปป.ลาว โดยศึกษาข้อมูลเบื้องต้นจากเอกสารเกี่ยวกับประวัติการตั้งถิ่นฐาน รูปแบบสถาปัตยกรรมเฮือนลาวในพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อเป็นข้อมูลในการอ้างอิงลักษณะของเฮือนลาวในอดีต ร่วมกับการเก็บข้อมูลภาคสนาม โดยการสัมภาษณ์ประวัติความเป็นมาของชุมชน การตั้งถิ่นฐาน การดำรงชีวิต การใช้พื้นที่ในเรือนพักอาศัย และการสำรวจรังวัดเรือนกรณีศึกษา โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ เรือนรูปแบบเก่า จำนวน 2 หลัง เรือนรูปแบบเก่าผสมใหม่ จำนวน 2 หลัง และเรือนรูปแบบใหม่ จำนวน 2 หลัง ผลการศึกษาพบว่า การตั้งถิ่นฐานของชุมชนมีความสัมพันธ์กับทิศทางของการสัญจรทั้งทางน้ำและทางบก รวมถึงทอละนีดินซึ่งส่งผลให้ตำแหน่งของเซียไม่มีทิศทางตายตัว แต่มักจะตั้งอยู่หน้าห้องนอนเสมอ เซียในเรือนรูปแบบดั้งเดิมเป็นพื้นที่อเนกประสงค์รองรับหลายกิจกรรม ต่อมาจึงมีการต่อเติมพื้นที่ซานหน้าเฮือนเพื่อรองรับการขยายตัวของครอบครัว กิจกรรมในชีวิตประจำวันบางส่วนในพื้นที่เซียถูกย้ายไปยังซานหน้าเฮือนส่งผลให้เซียเปลี่ยนแปลงจากพื้นที่ใช้อเนกประสงค์สู่การเป็นพื้นที่นอนหลักของสมาชิกในครอบครัวในเรือนรูปแบบเก่า จากการที่เซียทำหน้าที่เป็นส่วนนอนพื้นที่เซียจึงมีระดับการปิดล้อมที่มากขึ้นเพื่อรองรับความเป็นส่วนตัวของผู้อยู่อาศัย ส่งผลให้เกิดการดัดแปลงต่อเติมเฮือนเซียรูปแบบเก่าสู่เรือนรูปแบบเก่าผสมใหม่ที่มีพื้นที่ซานหน้าเฮือนและกั้นห้องนอนเพิ่มขึ้น และสู่เรือนรูปแบบใหม่ที่มีการแบ่งห้องให้เป็นสัดส่วนเพื่อรองรับกิจกรรมเฉพาะอย่าง ส่งผลให้องค์ประกอบในการใช้สอยพื้นที่เซียมีจำนวนลดลง พื้นที่เซียจึงถูกลดบทบาทกลายเป็นพื้นที่พักผ่อนและรับแขกในชีวิตประจำวันเท่านั้น อย่างไรก็ตาม เซียยังคงเป็นพื้นที่ที่มีความสำคัญในด้านพิธีกรรมอยู่เสมอ


การประเมินผลมาตรการประหยัดพลังงานและการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ในอาคารสำนักงานและคอนโดมิเนียมพักอาศัย ด้วยการประเมินต้นทุนส่วนเพิ่มสุทธิของการลดการปล่อยคาร์บอน, กันตพงศ์ ศรีเมือง Jan 2021

การประเมินผลมาตรการประหยัดพลังงานและการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ในอาคารสำนักงานและคอนโดมิเนียมพักอาศัย ด้วยการประเมินต้นทุนส่วนเพิ่มสุทธิของการลดการปล่อยคาร์บอน, กันตพงศ์ ศรีเมือง

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การใช้พลังงานของอาคารในช่วงการก่อสร้างและช่วงใช้งานอาคาร เป็นปัจจัยสำคัญที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้กับชั้นบรรยากาศโลก งานวิจัยนี้ เป็นการศึกษาประสิทธิภาพของมาตรการลดก๊าซเรือนกระจก เพื่อประเมินความคุ้มค่าของมาตรการที่มีในปัจจุบัน โดยทำการเก็บข้อมูลอาคารสำนักงานและอาคารคอนโดมิเนียมพักอาศัย เพื่อใช้เป็นแบบอาคารอ้างอิง และศึกษามาตรการในกลุ่มการออกแบบอาคารให้สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อม กลุ่มวัสดุฉนวนผนัง กลุ่มวัสดุฉนวนหลังคา กลุ่มพลังงานทดแทน กลุ่มประสิทธิภาพของระบบปรับอากาศ รวมถึงกลุ่มระบบไฟฟ้าแสงสว่าง โดยศึกษาจากฐานข้อมูลค่าสัมประสิทธิ์การปล่อยก๊าซเรือนกระจก ICE Version 2 และค่าสัมประสิทธิ์การปล่อยก๊าซเรือนกระจก ปี พ.ศ.2563 ของประเทศไทย จากองค์บริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก นำเสนอด้วยการประเมินต้นทุนส่วนเพิ่มสุทธิของการลดการปล่อยคาร์บอน จากการศึกษาในช่วงอายุอาคาร 60 ปี พบว่า ในอาคารสำนักงาน การติดตั้งกระจกฉนวนกันความร้อน เป็นทางเลือกที่คุ้มค่ามากที่สุด เนื่องจากสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงร้อยละ 7.99% และมีค่าใช้จ่ายตลอดอายุอาคารลดลงร้อยละ 5.98% ในอาคารคอนโดมิเนียมพักอาศัย ทุกมาตรการมีประสิทธิภาพในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ยกเว้นกลุ่มวัสดุฉนวนหลังคา การใช้ระบบปรับอากาศประหยัดไฟเบอร์ 5 3 ดาว เป็นทางเลือกที่คุ้มค่ามากที่สุด เนื่องจากสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงร้อยละ 10.37 และมีค่าใช้จ่ายตลอดอายุอาคารลดลงร้อยละ 1.31


ลักษณะกายภาพของแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ในประเทศไทยที่ก่อตั้งในช่วงปี พ.ศ.2527-2563: กรณีศึกษา 5 โรงพยาบาล, กมลพร สมคิด Jan 2021

ลักษณะกายภาพของแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ในประเทศไทยที่ก่อตั้งในช่วงปี พ.ศ.2527-2563: กรณีศึกษา 5 โรงพยาบาล, กมลพร สมคิด

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

โรงพยาบาลเป็นอาคารทางสถาปัตยกรรมที่มีความซับซ้อนในการออกแบบ การก่อสร้างและการลงทุน โดยเฉพาะโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ นอกจากเป็นสถานที่ประกอบการรักษาพยาบาลแล้ว ยังใช้สำหรับการเรียนการสอนเพื่อผลิตบุคลากรทางการแพทย์ พยาบาล และการค้นคว้าวิจัยต่างๆ จากเกณฑ์มาตรฐานการเปิดโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ โดยประกาศของแพทยสภาฉบับ พ.ศ.2555 ได้กำหนดจำนวนเตียงผู้ป่วยต้องไม่ต่ำกว่า 400 เตียง และมีประเภทงานบริการทางด้านการแพทย์ต่างๆ อย่างน้อย 14 สาขา โดยแผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์มีความแตกต่างจากโรงพยาบาลทั่วไป เนื่องจากมีพื้นที่สำหรับการเรียนการสอนในเวลาเดียวกัน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะกายภาพแผนกผู้ป่วยนอก และเพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกับลักษณะกายภาพแผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ที่ก่อตั้งในช่วง พ.ศ.2527-2563 มีระเบียบวิธีการศึกษาคือ ทบทวนเอกสาร หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบโรงพยาบาลและแผนกผู้ป่วยนอก ศึกษาและวิเคราะห์จากแบบก่อสร้างทางสถาปัตยกรรมพื้นที่แผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์จากกรณีศึกษา ตลอดจนสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องเพื่อนำมาวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลการศึกษาและอภิปรายผล ผลการศึกษาสรุปได้ว่า ลักษณะกายภาพแผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ทั้ง 5 แห่ง ในเรื่องการวางแผนกผู้ป่วยนอกสอดคล้องกับผังแม่บท (Master Plan) พบ 3 ประเด็น คือ ไม่มีผังแม่บทที่ชัดเจน ได้แก่ ผังของโรงพยาบาล A มีผังแม่บทมหาวิทยาลัย แต่ไม่มีผังแม่บทโรงพยาบาล ได้แก่ ผังของโรงพยาบาล C และมีผังแม่บทโรงพยาบาลโดยเฉพาะ ได้แก่ ผังของโรงพยาบาล B, D, และ E สัดส่วนกลุ่มพื้นที่ใช้สอยในแผนกผู้ป่วยนอกทั้ง 8 กลุ่ม ทุกแห่งมีสัดส่วนพื้นที่พักคอยและเส้นทางสัญจรมากที่สุด รองลงมาเป็นห้องตรวจและห้องวินิจฉัย พื้นที่สนับสนุน ทางบริการด้านหลัง ห้องทำการพยาบาล ที่ทำการพยาบาล ห้องเครื่องมือพิเศษ ตามลำดับ มีการจัดรูปแบบพื้นที่พักคอย 2 แบบ คือ แบบรวมพื้นที่ ได้แก่ ผังของโรงพยาบาล C ข้อดี คือ สามารถปรับเปลี่ยนการใช้ห้องตรวจได้อย่างเหมาะสม และแบบกระจายพื้นที่ ได้แก่ ผังของโรงพยาบาล A, B, D, และ E ข้อดี คือ ลดอัตราความเสี่ยงในการแพร่เชื้อโรคได้ดี ขนาดและสัดส่วนของพื้นที่พักคอยต่อห้องตรวจทุกโรงพยาบาลมีค่าเฉลี่ยสูงกว่า 9 ตารางเมตรต่อห้องตรวจ ตามมาตรฐานกำหนด การจัดรูปแบบห้องตรวจสำหรับการตรวจทั่วไป / ห้องตรวจและวินิจฉัย ทุกโรงพยาบาลมีทั้งห้องตรวจเดี่ยวและห้องตรวจรวม ขนาดห้องตรวจของทุกโรงพยาบาลมีขนาดเฉลี่ยกว้าง x ยาว มากกว่า …


แนวทางการปรับปรุงอาคารคุ้มเจ้าสุริยา จังหวัดลำพูน, จตุรวิทย์ ใจนวล Jan 2021

แนวทางการปรับปรุงอาคารคุ้มเจ้าสุริยา จังหวัดลำพูน, จตุรวิทย์ ใจนวล

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

จากผลการสำรวจสถาปัตยกรรมในเขตเมืองเก่าลำพูนพื้นที่ถนนรถ ได้ทำการศึกษาคุ้มเจ้าราชสัมพันธวงศ์ คุ้มเจ้ายอดเรือน และคุ้มเจ้าสุริยา พบว่าคุ้มเจ้าราชสัมพันธวงศ์และคุ้มเจ้ายอดเรือนได้รับการปรับปรุงให้เป็นพิพิธภัณฑ์ ในขนะที่คุ้มเจ้าสุริยายังไม่ได้รับการปรับปรุงและเกิดความเสียหายทางสถาปัตยกรรม จึงต้องหาแนวทางวิธีการปรับปรุงอาคาร โดยการศึกษาวิธีการปรับปรุงจากอาคารอนุรักษ์ตัวอย่าง เพื่อให้อาคารสามารถใช้เป็นที่ศึกษาทางสถาปัตยกรรม วัตถุประสงค์ในการศึกษาได้แก่ 1) เพื่อศึกษาแบบแผนในการปรับปรุงของคุ้มเจ้าราชสัมพันธวงศ์และคุ้มเจ้ายอดเรือน ทั้งก่อนและหลังการปรับปรุง 2) ศึกษาแนวทางการปรับปรุงของคุ้มเจ้าราชสัมพันธวงศ์และคุ้มเจ้ายอดเรือน เปรียบเทียบเพื่อเสนอแนวทางการปรับปรุงอาคารคุ้มเจ้าสุริยา โดยดำเนินการตามขึ้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาข้อมูลคุ้มเจ้าทั้ง 3 หลังจากงานวิจัย สื่อออนไลน์ การสำภาษณ์ และศึกษาแนวทางวิธีการปรับปรุงอาคารอนุรักษ์ ขั้นตอนที่ 2 ลงพื้นที่สำรวจและจัดทำแบบสถาปัตยกรรมของคุ้มเจ้าสุริยา และเปรียบเทียบรูปแบบสถาปัตยกรรมของคุ้มเจ้าทั้ง 3 หลัง พบว่ารูปแบบผังอาคารของคุ้มเจ้าสุริยากับคุ้มเจ้ายอดเรือนเหมือนกันอย่างชัดเจน โดยทำการเปรียบเทียบเมื่อกลับด้านผังอาคาร ขั้นตอนที่ 3 จากการรวบรวมข้อมูลในการอ้างอิงการปรับปรุง พบแนวทางการปรับปรุง 3 แนวทาง ซึ่งสามารถนำไปประยุคใช้ในแต่ละส่วนดังนี้ ตำแหน่งที่มีข้อมูลชัดเจน ตำแหน่งที่ข้อมูลไม่ชัดเจนใช้แนวทางการปรับปรุงของคุ้มเจ้ายอดเรือน ตำแหน่งที่ไม่มีข้อมูล ปรับปรุงตามสภาพ โดยใช้แนวทางการปรับปรุงอาคารอนุรักษ์ ผลการศึกษาหาความแท้ของคุ้มเจ้าสุริยา ประกอบด้วยวิธีการค้นหา 3 วิธี ซึ่งใช้ประกอบแนวทางวิธีการปรับปรุงในตำแหน่งความเสียหายตามลำดับความชัดเจนของข้อมูลทางสถาปัตยกรรม เพื่อเสนอทางเลือกแนวทางวิธีการปรับปรุง โดยการเปรียบเทียบนำเสนอคือ แบบสภาพปัจจุบัน/แบบดั้งเดิม/แบบที่สามารถปรับปรุงได้


การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ใช้งานอาคารโรงพยาบาลเอกชนที่เพิ่งเปิดให้บริการ: โรงพยาบาลสินแพทย์, ธีรนุช ใจเมือง Jan 2021

การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ใช้งานอาคารโรงพยาบาลเอกชนที่เพิ่งเปิดให้บริการ: โรงพยาบาลสินแพทย์, ธีรนุช ใจเมือง

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

อาคารแต่ละอาคารเมื่อเวลาผ่านไปจะมีการเสื่อมสภาพ จึงต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง แต่จากการศึกษาเบื้องต้น พบการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ใช้งานในโรงพยาบาลที่เพิ่งเปิดให้บริการ จึงมีวัตถุประสงค์จะศึกษารูปแบบและสาเหตุในการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว โดยใช้วิธีการเปรียบเทียบผังพื้นที่ก่อสร้างจริง (As-built drawing) กับสภาพพื้นที่อาคารในปัจจุบัน และสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้บริหาร สถาปนิก และผู้ดูแลอาคาร เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงนั้นๆ ทั้งนี้เลือกโรงพยาบาลสินแพทย์ 3 สาขาเป็นกรณีศึกษา ได้แก่ เทพารักษ์ ศรีนครินทร์ และลำลูกกา ซึ่งทั้งหมดออกแบบโดยบริษัท เอ อาร์คิเทค จำกัด ผลการศึกษาพบว่า โรงพยาบาลที่เพิ่งเปิดให้บริการมีทั้ง พื้นที่ที่ใช้งานแล้ว และยังไม่ได้ใช้งาน พื้นที่ที่ใช้งานแล้วยังแบ่งเป็น ส่วนที่เปลี่ยนแปลง คือ เปลี่ยนการใช้งานแต่ไม่เปลี่ยนผังพื้น เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่คล้ายกัน และเปลี่ยนผังพื้นแต่ไม่เปลี่ยนการใช้งาน เพราะมีความต้องการการใช้พื้นที่ อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ แผนงานให้บริการ หรือความต้องการจากบุคลากรที่ต่างไปจากเดิม สำหรับส่วนที่ไม่เปลี่ยนแปลง นอกจากทางสัญจรทางตั้ง และทางสัญจรหลักในแต่ละชั้น ยังมีส่วนที่ยังไม่ได้ใช้งาน ที่มีทั้งพื้นที่ที่ตกแต่งแล้ว เนื่องมาจากไม่ต้องการให้ส่งผลกระทบกับการให้บริการ และพื้นที่ที่ยังไม่ได้ตกแต่ง เพื่อรองรับความต้องการที่เพิ่มขึ้นต่อไป จึงสรุปได้ว่าโรงพยาบาลเก่าที่มีการเปลี่ยนแปลง จะมาจากความทรุดโทรมของอาคาร การพัฒนาของเทคโนโลยี และการขยายตัวของกิจการ แต่โรงพยาบาลใหม่จะมีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากความต้องการใช้พื้นที่มีลักษณะหรือปริมาณที่เปลี่ยนไป เป็นการใช้พื้นที่ชั่วคราว และการก่อสร้างเผื่อการใช้งานในอนาคต จึงมีข้อเสนอแนะว่า ในการออกแบบโรงพยาบาลควรคำนึงถึงส่วนที่จะไม่เปลี่ยนแปลง คือทางสัญจรทางตั้งและทางสัญจรหลัก ส่วนพื้นที่ใช้สอยควรออกแบบให้รองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น


การปรับปรุงพื้นที่ทางกายภาพคลินิกทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ จากการเปลี่ยนแนวปฏิบัติทางทันตกรรม เพื่อรองรับสถานการณ์ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 : กรณีศึกษาคลินิกทันตกรรมของคณะทันตแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยของรัฐ 3 แห่ง, นรมน ปัญจปิยะกุล Jan 2021

การปรับปรุงพื้นที่ทางกายภาพคลินิกทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ จากการเปลี่ยนแนวปฏิบัติทางทันตกรรม เพื่อรองรับสถานการณ์ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 : กรณีศึกษาคลินิกทันตกรรมของคณะทันตแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยของรัฐ 3 แห่ง, นรมน ปัญจปิยะกุล

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ลักษณะทางกายภาพของคลินิกทันตกรรมไม่ได้ออกแบบมาเพื่อการรองรับโรคระบาดCOVID-19 จึงจำเป็นต้องมีการปรับปรุงพื้นที่กายภาพและแนวปฏิบัติทางทันตกรรมระหว่างการเกิดโรคระบาด จึงเป็นที่มาวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ ศึกษาลักษณะทางกายภาพและการจัดการที่ปรับปรุงของคลินิกทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการปรับปรุงพื้นที่ทางกายภาพจากแนวปฏิบัติทางทันตกรรมในการรองรับไวรัสโคโรนา 2019 หรือสถานการณ์โรคระบาดอื่น ๆ และเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับการพัฒนาศึกษาพื้นที่ทางกายภาพ และการบริหารจัดการกายภาพของคลินิกทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ในอนาคต โดยมีระเบียบวิธีวิจัย ได้แก่ การทบทวนวรรณกรรม การเก็บข้อมูลทั้งเอกสารแบบก่อสร้าง สัมภาษณ์และสำรวจพื้นที่จริง การวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูล และการสรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยสรุปได้ว่าการปรับปรุงคลินิกทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มี 5 ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง คือ ลักษณะและปีที่ก่อสร้างของอาคาร การออกแบบคลินิกทันตกรรม ลักษณะการใช้งานคลินิกทันตกรรม ลักษณะหัตถการ และงบประมาณ ดังนั้นในการออกแบบปรับปรุงกายภาพและการบริหารจัดการต้องพิจารณาเงื่อนไขต่าง ๆ ให้เหมาะสมรองรับสถานการณ์ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดด้วยทรัพยากรที่จำกัด คณะทันตแพทยศาสตร์ยังไม่มีแผนการรื้อถอนที่ปรับปรุงช่วงCOVID-19 เนื่องจากการปรับปรุงดังกล่าวสามารถเพิ่มระดับมาตรฐานความปลอดภัยคลินิกทันตกรรมให้ดียิ่งขึ้น ดังนั้นแนวโน้มทิศทางนี้จำเป็นต้องคำนึงถึงงบประมาณ วิธีการดูแลรักษาในอนาคต และแนวทางการออกแบบคลินิกทันตกรรมใหม่ในอนาคตอาจจะเปลี่ยนไปจากเดิม โดยมี 2 ปัจจัยที่ควรคำนึงถึงสำหรับการออกแบบในอนาคตคือการวางผังพื้นและการออกแบบพื้นที่สำหรับงานระบบในคลินิกทันตกรรม