Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Architecture Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Articles 1 - 30 of 50

Full-Text Articles in Architecture

Talking About Pen Sao In The 1950s-60s: An Exploration Through Discussion On A History Of Design And Manners, Juthamas Tangsantikul Dec 2018

Talking About Pen Sao In The 1950s-60s: An Exploration Through Discussion On A History Of Design And Manners, Juthamas Tangsantikul

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This paper presents a case study on the role objects played in the construction of Thai women as social subjects in the period of the American Era and Development. Based on the analysis of popular Thaietiquette manual Kritsana son nong: Naenam marayat thi ngam haeng araya samai, an oral history was generated through conducting interviews with women growing up in the period. The conversations brought to light the term pen sao and illustrated that while certain objects and practices were portrayed generally as signs of modernity and civilisation, they could also be perceived as suspicious when being viewed as signs …


A Study On The Relationship Of Spatial Planning Aspects In Occurrence Of Street Crimes In Dhaka City, Urmee Chowdhury, Ishrat Islam Dec 2018

A Study On The Relationship Of Spatial Planning Aspects In Occurrence Of Street Crimes In Dhaka City, Urmee Chowdhury, Ishrat Islam

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Street crime, like mugging and vehicle theft, are the significant crime problems in every developing city of the world. The study area for this research is Dhaka city, which is experiencing an situation ofincreasing street crime. This research focuses on the relationship between spatial planning and street crimes and tries to recommend different strategies for prevention of crime and violence in the streets of Dhaka city by proposing urban design and infrastructure planning. The study tries to assess the relationship from macro tomicro level through different spatial and physical planning components. For the detail level study, four Thana (police station) …


A Study Of Phayao's Historical Trading Communities To Encourage Recognizing Local History And To Promote Cultural Tourism, Phakthima Wangyao Dec 2018

A Study Of Phayao's Historical Trading Communities To Encourage Recognizing Local History And To Promote Cultural Tourism, Phakthima Wangyao

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Phayao is considered to be a city with a history of more than 700 years after Chao Luang Wong had evacuated people from Lampang and relocated them the city of Phayao. In order to gain useful information to promote cultural tourism, a study of Phayao's commercial community included its history, architectural styles, and the perceptions of people in the community. The methods used for research were collecting historical and physical data as well as conducting surveys. The area studied was divided into four groups which were determined by the characteristics of the area. Based on the study of data, there …


Site Selection Of Housing Development Projects In Thailand And Malaysia Border Trade Areas By Modified Sieve Analysis, Treechart Loakaewnoo Dec 2018

Site Selection Of Housing Development Projects In Thailand And Malaysia Border Trade Areas By Modified Sieve Analysis, Treechart Loakaewnoo

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This study sought to select the appropriate sites for the housing projects in Thailand and MalaysiaBorder Trade areas. The Modified Sieve Analysis was adopted as the instrument for searching and selecting sites. The Modified Sieve Analysis is the technique used to assess the urban expansion, which has been modified from the traditional sieve analysis by overlaying the map with its scores and calculate the total scores for selecting the suitable sites for the urban and housing development. The findings from this study help identify the suitable sites to build housing projects in the four cities - three sites for each.


Applying The Analytical Hierarchy Process (Ahp) Approach To Assess An Area-Based Innovation System In Thailand, Suwadee T. Hansasooksin, Nij Tontisirin Dec 2018

Applying The Analytical Hierarchy Process (Ahp) Approach To Assess An Area-Based Innovation System In Thailand, Suwadee T. Hansasooksin, Nij Tontisirin

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This paper examines the criteria that is significant in building an area-based innovation system inThailand. The Analytical Hierarchy Process (AHP) questionnaire was distributed to experts in thearea of urban planning, development, and policy studies. They assessed and prioritized indicators that could shape the innovation system on a regional scale. The study found that enhancing human capital, innovation collaboration, innovation capability, cultural/knowledge resources, and innovation capacity is more important, rather than focusing on physical infrastructure development. This implies that major elements for an area-based innovation system in Thailand highly depend on citizen, institutions, and linkages across sectors.


Analysis Of The Difference Between Two Approaches To Assessing Housing And Community Standards, Kundoldibya Panitchpakdi, Tirawat Pimwern, Thammanoon Laohpiyavisut Dec 2018

Analysis Of The Difference Between Two Approaches To Assessing Housing And Community Standards, Kundoldibya Panitchpakdi, Tirawat Pimwern, Thammanoon Laohpiyavisut

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This comparative study on housing and community comfortable living performance standards is a partof a participatory research conducted to meet the needs addressed by the Thai National HousingAuthority to improve existing housing and community standards. The research team conducted a case study of the Rim Khwae Awm Community in Samut Songkhram Province. This community had been identified as a model of comfortable living. This article presents the results of an analysis of comfortable living standards derived from a review of related literature and standards derived from the participatory process with the community case study. This research found that the standards …


Economicfactors Affecting The Changes In Temple Architecture In The Reign Of King Rama Ix, Pymporn Chaiyaporn Dec 2018

Economicfactors Affecting The Changes In Temple Architecture In The Reign Of King Rama Ix, Pymporn Chaiyaporn

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Economic factors reflecting the prosperity of foreign trades from the Ayutthaya to the Rattanakosinperiods, brought about growth and changes in dwellings. These factors also supported and maintained Buddhism by restoring, reconstructing, and building temples. Traditions changed in the reign of King Bhumibol Adulyadej, Rama IX, due to a capitalist economic system. This system, which has expanded its influence over land use planning, tourism development, and economic revitalization, led to different directions in the development of temple architecture. This article studies the roles of an economic system which affected the design of temple architecture during the Buddhawat area. The research was …


Perception Of Teachers And Parents On Appropriate Physical Environment For Learning Through Play In Malaysian Preschools, Pearly Pei Li Lim, Azizi Bahauddin, Nor Fadzila Aziz Dec 2018

Perception Of Teachers And Parents On Appropriate Physical Environment For Learning Through Play In Malaysian Preschools, Pearly Pei Li Lim, Azizi Bahauddin, Nor Fadzila Aziz

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

As physical environments play a role in supporting learning though play (LTP) in preschools, usersand interest group's perceptions of appropriate physical environment features for LTP become significant. This article examines perceptions of teachers and parents concerning an appropriate indoor physical environment for LTP in Malaysian preschools. A five-point Likert s cale and preference ranking were employed to understand teachers' and parents' perception of six features including sizing of spaces; material availability; spaces for creation and respite; indoor-outdoor connection; and provision of challenges. The findings included; variety of materials, spaces for personalization, spaces for challenges and good indoor-outdoor connection.


Land-Use, Street Configuration And Pedestrian Volume:The Case Of A Historic Town, Mymensingh, Bangladesh, Naimul Aziz Dec 2018

Land-Use, Street Configuration And Pedestrian Volume:The Case Of A Historic Town, Mymensingh, Bangladesh, Naimul Aziz

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This study explores the relative connections among pedestrian movement patterns, land use and street configurations by analyzing the pedestrian volume, existing land use patterns as well as the street configuration of Mymensingh. Mymensingh is a historic town in Bangladesh which was established by the British Colonists more than 200 years ago along the river Brahmaputra. The street patterns of Mymensingh was developed by the fusion of the wide streets made by British Colonists and the narrow streets made by the local inhabitants. The juxtaposition of these street patterns created a unique type of street configuration in Mymensingh. According to Space …


A Low Income Housing Needs And Affordability For Thailand's Strategic National Plan During 2017-2037, Chaweewan Denpaiboon, Kitti Limskul, Sarich Chotipanich Dec 2018

A Low Income Housing Needs And Affordability For Thailand's Strategic National Plan During 2017-2037, Chaweewan Denpaiboon, Kitti Limskul, Sarich Chotipanich

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This paper has developed a model to forecast the housing needs and affordability of the low-incomehouseholds in Thailand 2018-2037. The model has applied the baseline data from the Socioeconomicsurvey (SES 2015). Considering official population projections by the changing age structure and household formations based on income, forecasts can be made about housing needed by 'Renters', who are the target group of the low-income households. Given, heuristic scenarios on households' income growth over time, an initial planning model for affordable units of housing by types for renters has been proposed. Effective government policy to mobilize social resource for this low-income household …


Tha Tien: Case Study Of Use Transformation, Peeraya Boonprasong Jun 2018

Tha Tien: Case Study Of Use Transformation, Peeraya Boonprasong

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Use transformation is a process of changing a place within a transforming context through renewed placemaking. The framework for use transformation within a place attachment process is to understandthe responsive behaviour to place bonding when applying the process of changing use. People, process and place are analyzed by the manner of change relevant to existing place. This paper is a selective case study. The theoretically selected Tha Tien is a representative historic market that is facing development and displacement from a rapidly growing tourist market and fashionable urban lifestyle.


Paradigm Of Eco-Urban-Agriculture For The Sustainable City:Integrating The Concept For Urban Dhaka, Ayasha Siddiqua Jun 2018

Paradigm Of Eco-Urban-Agriculture For The Sustainable City:Integrating The Concept For Urban Dhaka, Ayasha Siddiqua

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

The geographical location of Bangladesh is gifted with enormous natural recourse: water, alluvial land, suitable climatic conditions for bio diversity and other natural assets. The capital, Dhaka, surrounded by rivers on four sides, was once a blue-green-built environment offering a healthy living atmosphere for its habitants. The city was dotted with huge and crisscrossed water bodies, a tolerable population density, and enough open spaces. Urban and peri-urban areas of the city complemented its food demand which subsequently maintained the environmental equilibrium. The modern concept of eco-urban-agriculture will definitely be beneficial in such a dense city which is rapidly losing its …


Students' Perceptions Of Shared Living In A University Hostel At Dhaka, Bangladesh:A Post Occupancy Evaluation, Asma Siddika, Zannatul Ferdous Jun 2018

Students' Perceptions Of Shared Living In A University Hostel At Dhaka, Bangladesh:A Post Occupancy Evaluation, Asma Siddika, Zannatul Ferdous

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Hostels are popular accommodations for students. Urban based educational systems in Bangladesh encourage students to come to the city where shared living is preferable option for them. Theseaccommodations are inadequate, are highly populated and shared rooms are common scenarios. However, although shared living raises the question of personal space, it facilitates better use of resource and is a feature of sustainability. This study examines the students' perception of shared living at one of the leading universities in Bangladesh. A post-occupancy evaluation is used to address physical and social variables. By assessing residential satisfaction, this paper hopes to provide valuable feedback …


Changing Scenarios Of Public Open Space In A British Colonial City: The Case Of The Ramna Area, Dhaka, Salma Begum Jun 2018

Changing Scenarios Of Public Open Space In A British Colonial City: The Case Of The Ramna Area, Dhaka, Salma Begum

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Dhaka is considered as one of the fastest growing megacity with a population of 15 million ranking 9th among the world. In the process of urbanization, throughout its history, many part of Dhaka has gonethrough many physical and functional transformations. Ramna area which was produced as a pleasure garden during Mughal period is one of those parts that has gone through consecutive manipulations. This has become one of the major public open space due to its uniqueness. This paper attempts to unfold the changing scenario of present Ramna Area.


Proposing A Conservation Management Plan For Bara Katra, Shirajom Monira Khondker, Mehnaz Tabassum Jun 2018

Proposing A Conservation Management Plan For Bara Katra, Shirajom Monira Khondker, Mehnaz Tabassum

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Dhaka, the capital of independent Bangladesh, since 1971 has a historical background of nearly 400 years which is expressed and traversed as a symbol of power, dignity and artistry. In this research the authors selected a unique historical and architectural monument of old Dhaka, named "Bara Katra". This historical artifact bears testimony to the style and design of Mughal architecture in Bengal that served the purpose of Caravan sarai. It is undoubtedly a magnificent edifice of grand scale and one of the most important historic remains playing an important role in representing the cultural heritage or glorious past of Bengal. …


Influences Of Urban Infrastructure Development On Urban Forms And Lifestyle Of Greater Bangkok, Chaweewan Denpaiboon, Kundoldibya Panitchpakdi, Hidehiko Kanegae, Pattamon Selanon, Yanisa Boonnun Jun 2018

Influences Of Urban Infrastructure Development On Urban Forms And Lifestyle Of Greater Bangkok, Chaweewan Denpaiboon, Kundoldibya Panitchpakdi, Hidehiko Kanegae, Pattamon Selanon, Yanisa Boonnun

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

By considering the influences of urban infrastructure development impact on land-use and structure, the objectives of this study are; (1) to categorizing urban networks into five index factors for analyzinga pattern of urban form, and (2) to analyze a relationship between urban forms and socioeconomic behavior with uses of urban geo-simulation modelling. The study employed the selection of four areas of study in the Greater Bangkok area. A measurement of each index of urban networks was analysis and then an analysis of the mutual relationships between the two variables was made. The findings demonstrate that residents in the areas understand …


Architects' Reflection Of Cities: Yenagoa Losing City, Lost Dream Of The Oil Rich Niger Delta, Allison John, Dimabo Fenibo, Crispin Allison, Gift Josiah Jun 2018

Architects' Reflection Of Cities: Yenagoa Losing City, Lost Dream Of The Oil Rich Niger Delta, Allison John, Dimabo Fenibo, Crispin Allison, Gift Josiah

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

A city's character influences behaviour while people's behaviour determines a city's character. As a development engine, the authors described cities impressions derived from media and how media caninfluence perceptions of Yenagoa, the oil rich city of the Niger Delta. The city can be described as a life support system with policies and human actions affecting a city. How Yenagoa has performed as perceived by visitors and its users 21years after. It will also include a discussion of the significance of cultural relativism in the developmental evolution of Yenagoa. It concludes by suggesting the imperative need for orientation of the Yenagoa's …


Differences In Patterns And Factors Influencing Preference And Willingness To Pay For Physical Developments Of A Streetscape In The Old Town Of Chiang Mai, Thailand, Apichoke Lekagul Jun 2018

Differences In Patterns And Factors Influencing Preference And Willingness To Pay For Physical Developments Of A Streetscape In The Old Town Of Chiang Mai, Thailand, Apichoke Lekagul

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This paper identifies the influences of environmental characteristics and personal factors on preference and willingness to pay (WTP) for the physical development of a streetscape, and the relationshipbetween preference and WTP. A questionnaire with computerized montage pictures portraying streetscape development solutions was used to collect data from 440 respondents in Chiang Mai city. Tobit models were formed to analyze the preference and WTP dependent variables with environmental and personal characteristic variables. The results revealed differences in patterns as well as influencing factors of preference and WTP for the development solutions. Preference was significantly influenced only by environmental variables, while WTP …


Re-Reading Dutch Architecture In Relation To Social Issues From The 1940s To The 1960s, Pat Seeumpornroj Jun 2018

Re-Reading Dutch Architecture In Relation To Social Issues From The 1940s To The 1960s, Pat Seeumpornroj

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This paper seeks to connect the work of J.J.P. Oud, Aldo van Eyck, and Herman Hertzberger, the three Dutch protagonists to the dominant social issues that occurred from the 1940s to the 1960s. Theyaddressed the following issues: poverty, the housing shortages from the pre-World War II period, the sociopolitical issues in the collective expression of the public, rapid economy recovery, large population growth, and white-collar labor in the post-World War II period. The author will examine the role played by the Dutch government in advancing a progressive social agenda, and will demonstrate both continuities and discontinuities between them.


The Motorcycle Taxi Driver As A Community Reporter: Guidelines For The Promotion Of A Marginalized Group's Participation In The Improvement Of Public Space By Using Information And Communication Technology, Nattapong Punnoi Jun 2018

The Motorcycle Taxi Driver As A Community Reporter: Guidelines For The Promotion Of A Marginalized Group's Participation In The Improvement Of Public Space By Using Information And Communication Technology, Nattapong Punnoi

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Motorcycle taxi drivers are a group of laborers in the informal sector who are socially shunned and are often harassed by the authorities and local infl uential people. Research has found that motorcycletaxi drivers have the potential to gather information concerning problems occurring in public spaces to be compiled into a database to encourage problem solving. Furthermore, smartphones are found to be a tool that assists motorcycle taxi drivers in effectively collecting information relating to problems that they encounter. Thus, the researcher, in collaboration with motorcycle taxi driver groups, has developed key concepts and an Information and Communication Technology (ICT) …


ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการทำงานและสิ่งอำนวยความสะดวกในพื้นที่ทำงาน, ลัญจ์ฉัตร นิลชัยโกวิทย์ Jan 2018

ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการทำงานและสิ่งอำนวยความสะดวกในพื้นที่ทำงาน, ลัญจ์ฉัตร นิลชัยโกวิทย์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ในปัจจุบันรูปแบบการทำงานมีการเปลี่ยนแปลงไป จากแบบเดิมที่เป็นทางการเข้าสู่การทำงานรูปแบบใหม่ที่มีการทำงานเป็นกลุ่ม และมีการทำงานขนานกันมากขึ้น ซึ่งการศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงประจักษ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพื้นที่ทำงาน และการใช้พื้นที่ทำงานของสายงานไอทีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบเนื่องเป็นการทำงานรูปแบบใหม่ จำนวน 10 กรณีศึกษา จาก 2 องค์กร โดยเป็นฝ่ายงานขนาดเล็ก จำนวน 7 กรณีศึกษา และฝ่ายงานขนาดใหญ่ จำนวน 3 กรณีศึกษา โดยเก็บรวมรวมเอกสารแบบผังพื้น การสำรวจพื้นที่ทำงาน การจัดวางผังและชุดโต๊ะทำงานพนักงาน ร่วมกับการสังเกตการณ์การใช้พื้นที่ทำงานใน 4 จุดเวลา จากการศึกษา พบว่า มีพื้นที่ทำงาน 2 แบบ คือ พื้นที่ทำงานแบบเปิดโล่ง 8 กรณีศึกษามีพื้นที่กิจกรรมสนับสนุนย่อย 2 แบบ คือ กระดานระบุสถานะ 7 กรณีศึกษา และโต๊ะส่วนกลาง 1 กรณีศึกษา และพื้นที่ทำงานแบบปิดล้อม 2 กรณีศึกษา มีพื้นที่กิจกรรมสนับสนุนย่อย คือ กระดานระบุสถานะและพื้นที่ทำงานกลุ่ม 1 กรณีศึกษา และกระดานระบุสถานะ 1 กรณีศึกษา ภายในพื้นที่ทำงานทั้ง 2 แบบมีชุดโต๊ะทำงานพนักงานประกอบด้วยโต๊ะทำงาน ตู้เก็บของล้อเลื่อน และเก้าอี้นั่งทำงาน จากการวิเคราะห์พื้นที่ทำงานของฝ่ายงานไอที พบว่า ชุดโต๊ะทำงานพนักงานพบ 2 แบบ คือแบบทำงานคนเดียว และแบบทำงานกลุ่ม การใช้พื้นที่ทำงานของฝ่ายงานขนาดเล็กพบว่ามีการใช้พื้นที่ทำงาน 2 แบบ คือ แบบที่มีการทำงานที่โต๊ะทำงานในการทำงานเพียงอย่างเดียว 5 กรณีศึกษา และแบบที่ใช้กระดานระบุสถานะในการทำงานร่วมกับการทำงานที่โต๊ะทำงาน 2 กรณีศึกษา การใช้พื้นที่ทำงานของฝ่ายงานขนาดใหญ่ พบว่า มีการใช้พื้นที่ทำงาน 2 แบบ คือ แบบที่มีการใช้กระดานระบุสถานะในการทำงานร่วมกับการทำงานที่โต๊ะทำงาน 2 กรณีศึกษา และแบบที่มีการใช้โต๊ะส่วนกลางในการทำงานร่วมกับการทำงานที่โต๊ะทำงาน 1 กรณีศึกษา การศึกษานี้ทำให้เข้าใจว่า พื้นที่ทำงานของสายงานไอทีประกอบด้วยพื้นที่ทำงานหลัก ซึ่งมีโต๊ะทำงานที่มีขนาดใหญ่กว่าโต๊ะทำงานขนาดมาตรฐาน และพื้นที่กิจกรรมสนับสนุนย่อย ซึ่งการออกแบบกระดานระบุสถานะที่อยู่ในพื้นที่เปิดโล่งจะอยู่ด้านข้างพื้นที่ทำงานของพนักงาน การออกแบบกระดานระบุสถานะในพื้นที่ปิดล้อมจะอยู่ตามแนวผนังห้อง โต๊ะส่วนกลางที่อยูในพื้นที่เปิดโล่งจะแทรกอยู่ในพื้นที่ทำงานของพนักงาน การทำงานที่กระดานระบุสถานะจะเกิดขึ้นในช่วงเช้า ก่อนจะแยกย้ายกันไปปฏิบัติงานที่โต๊ะทำงาน ซึ่งพบทั้งการทำงานแบบเดี่ยวและการทำงานแบบกลุ่มที่โต๊ะ


การปรับประโยชน์ใช้สอยอาคารประวัติศาสตร์เพื่อเป็นพื้นที่การเรียนรู้สร้างสรรค์ กรณีศึกษา อาคารในพื้นที่อนุรักษ์ของกรุงเทพมหานคร, ภูรี อำพันสุข Jan 2018

การปรับประโยชน์ใช้สอยอาคารประวัติศาสตร์เพื่อเป็นพื้นที่การเรียนรู้สร้างสรรค์ กรณีศึกษา อาคารในพื้นที่อนุรักษ์ของกรุงเทพมหานคร, ภูรี อำพันสุข

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การปรับประโยชน์ใช้สอยเป็นหนึ่งในวิธีการอนุรักษ์ด้วยการนำอาคารที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ที่ถูกทิ้งร้าง หรือมีสภาพที่ไม่สามารถตอบสนองการใช้งานเดิมได้ มาปรับปรุงพร้อมกับปรับเปลี่ยนการใช้งาน ซึ่งในการปรับปรุงอาคารนั้นอาจทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของอาคารมากน้อยแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และการเลือกระดับของการอนุรักษ์ สิ่งที่สำคัญที่สุดสำหรับวิธีการนี้ คือเมื่อทำการปรับปรุงแล้วจะต้องคำนึงถึงการคงคุณค่าของอาคารให้ได้มากที่สุด หรือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจะต้องส่งเสริมคุณค่าของอาคารให้เด่นชัดขึ้น วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการในการปรับประโยชน์ใช้สอยอาคาร ศึกษาการวางแนวคิด ศึกษาการออกแบบโปรแกรมการใช้สอย และศึกษาการวางผังพื้นที่ใช้สอย จากอาคารที่ได้รับการปรับประโยชน์ใช้สอยเป็นพื้นที่การเรียนรู้สร้างสรรค์ กรณีศึกษาในการวิจัยนี้คืออาคารที่ตั้งอยู่ในพื้นที่อนุรักษ์ของกรุงเทพมหานคร 3 โครงการ อันประกอบด้วยศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ ศูนย์การเรียนรู้ธนาคารแห่งประเทศไทย และหอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร กรอบทฤษฎีของการวิจัยนี้คือแนวคิดในเรื่องการปรับประโยชน์ใช้สอยและการออกแบบพื้นที่การเรียนรู้สร้างสรรค์ ผลการศึกษาพบว่ากรณีศึกษาทั้ง 3 โครงการมีการดำเนินการเป็นไปตามลำดับขั้นตอนของกระบวนการปรับประโยชน์ใช้สอยตามหลักการอนุรักษ์สากล เริ่มตั้งแต่ขั้นตอนการกำหนดโครงการ การวางแผน การปรับปรุง และการดูแลหลังเปิดใช้งาน โดยกรณีศึกษาทั้ง 3 เป็นโครงการที่ดำเนินการภายใต้หน่วยงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ซึ่งเป็นการนำเอาอาคารประวัติศาสตร์ในลักษณะสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ที่เคยใช้งานเป็นสำนักงานมาปรับประโยชน์ใช้สอยใหม่ เนื่องจากอาคารประเภทนี้เป็นอาคารที่มีศักยภาพตามที่พื้นที่การเรียนรู้สร้างสรรค์พึงมี ทั้งนี้กรณีศึกษาทั้ง 3 ได้รับการออกแบบพื้นที่ใช้สอยตามแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบพื้นที่การเรียนรู้สร้างสรรค์ โดยออกแบบในลักษณะของ"พื้นที่การเรียนรู้" ผสมผสานกับ "พื้นที่ทำงานร่วมกัน" ในการนี้แต่ละโครงการได้เลือกวิธีการอนุรักษ์หลายระดับอันประกอบด้วย การรักษาสภาพ การปรับปรุงและซ่อมแซม และการต่อเติม ซึ่งในภาพรวมของตัวอาคารยังคงรักษารูปลักษณ์ภายนอกเอาไว้ได้ ในขณะที่อาคารได้รับการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง ที่ว่างภายใน งานระบบ และอุปกรณ์ประกอบอาคารเป็นหลัก จากการศึกษาการปรับประโยชน์ใช้สอยอาคารประวัติศาสตร์เพื่อใช้เป็นพื้นที่การเรียนรู้สร้างสรรค์ในพื้นที่อนุรักษ์ของกรุงเทพมหานคร นำมาสู่ข้อค้นพบที่ว่าการปรับประโยชน์ใช้สอยไม่ได้เป็นแค่วิธีการอนุรักษ์ในลักษณะแช่แข็งอาคารให้อยู่ในสภาพเดิม แต่การอนุรักษ์ด้วยวิธีการนี้ยังให้ความสำคัญกับคุณค่าและความแท้ของอาคารประวัติศาสตร์ ไปพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงการใช้งานตามความต้องการในปัจจุบันอย่างมีประสิทธิภาพ


การศึกษาช่องเปิดระบายอากาศธรรมชาติเพื่อลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ภายในห้องนอนอาคารชุดพักอาศัย, วาสิตา วานิชศิริโรจน์ Jan 2018

การศึกษาช่องเปิดระบายอากาศธรรมชาติเพื่อลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ภายในห้องนอนอาคารชุดพักอาศัย, วาสิตา วานิชศิริโรจน์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้ต้องการศึกษาว่าการเปิดช่องระบายอากาศแบบธรรมชาติจะสามารถลดความปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ภายในห้องนอนอาคารชุดพักอาศัยได้หรือไม่ โดยทำการสำรวจห้องนอนอาคารชุดพักอาศัยจำนวน 5 แห่ง ว่าความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เกินมาตรฐานหรือไม่ จากนั้นเลือกห้องนอน 2 ห้องจาก 5 ห้องข้างต้น ที่มีพื้นที่ 11.00 ตร.ม. (ปริมาตร 27.50 ลบ.ม.) และ พื้นที่ 14.00 ตร.ม. (ปริมาณ 31.10 ลบ.ม.) เป็นตัวแทนการทดลองเก็บข้อมูลค่าคาร์บอนไดออกไซด์ที่เปลี่ยนแปลงในทุกห้านาที ช่วงเวลา 23:30 น. ถึง 07:00 น. รวม 7 ชั่วโมงครึ่งต่อวัน เป็นระยะเวลา 15 วัน แต่ละวันจะเปิดช่องระบายอากาศที่หน้าต่างที่มีอยู่ด้านเดียวของห้อง เริ่มจากขนาด 50 ตร.ซม. แล้วเพิ่มขึ้นวันละ 50 ตร.ซม.ไปสิ้นสุดที่ 700 ตร.ซม. นำข้อมูลที่ได้มาคำนวณหาอัตราแลกเปลี่ยนอากาศและความสิ้นเปลืองพลังงานในระบบปรับอากาศผลการศึกษาพบว่าห้องนอนที่มีปริมาตร 27.50 ลบ.ม. ถึง 31.10 ลบ.ม. นั้น ถ้าเปิดช่องระบายอากาศธรรมชาติที่ผนังด้านเดียวที่ร้อยละ 0.61 ถึง ร้อยละ 0.41 ของพื้นที่ห้องตามลำดับ จะสามารถลดความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลงได้ตามเกณฑ์ ASHRAE ที่กำหนดให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในอาคารต้องไม่มากกว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อากาศภายนอกที่ปกติมีค่าประมาณ 300 ppm ถึง 400 ppm เกินกว่า 700 ppm หรือต้องไม่เกิน 1,000 ppm ถึง 1,100 ppm ผลการทดลองนี้ทำให้เกิดอัตราแลกเปลี่ยนอากาศที่ 1.00 ACH ถึง 0.8 ACH (16.90 CFM ถึง 14.60 CFM) ตามลำดับ ส่วนผลการจำลองค่าความสิ้นเปลืองพลังงานในระบบปรับอากาศเพิ่มขึ้นเพียง ร้อยละ 0.77 ถึง ร้อยละ 0.33 ตามลำดับ เทียบกับห้องนอนที่ไม่มีการเปิดช่องระบายอากาศแบบธรรมชาติ ส่วนการใช้เครื่อง Energy Recovery Ventilator ที่ให้ผลแบบเดียวกันสิ้นเปลืองพลังงานถึงร้อยละ …


การศึกษาคุณลักษณะที่ว่างของตรอกบริเวณชุมชนตรอกศิลป์-ตรอกตึกดิน เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, วิสุทธิ์ นุชนาบี Jan 2018

การศึกษาคุณลักษณะที่ว่างของตรอกบริเวณชุมชนตรอกศิลป์-ตรอกตึกดิน เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, วิสุทธิ์ นุชนาบี

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยนี้เป็นการศึกษาคุณลักษณะที่ว่างของ "ตรอก" ในเขตชุมชนเมืองเก่า ผ่านกรณีศึกษาชุมชนตรอกศิลป์-ตรอกตึกดิน เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการอยู่อาศัยทางสังคมของมนุษย์ ผ่านทฤษฎีทางจิตวิทยาสถาปัตยกรรมและการอยู่อาศัยสถาปัตยกรรมเป็นกรอบในการวิเคราะห์ งานวิจัยเริ่มต้นจากการศึกษาประวัติศาสตร์เรื่องราวของของย่านและชุมชน สู่การศึกษาการใช้สอยที่ว่างภายในตรอก โดยอาศัยข้อมูลภาคสนามจากแผนที่แสดงการใช้สอยที่ว่างของตรอกในฐานะ "ทางแห่งการเชื่อมโยง" และ "ที่แห่งการปฏิสัมพันธ์" ด้วยการบันทึกพฤติกรรมการสัญจรบนตรอกโดยวิธีการสะกดรอยและการบันทึกพฤติกรรมการครอบครอบที่ว่างบนตรอกโดยวิธีการจับภาพชั่วขณะตามลำดับ ผ่านมิติของผู้ใช้งานตรอกประกอบด้วยคนในพื้นที่และคนนอกพื้นที่ และมิติของเวลาทั้งในวันธรรมดาและวันสุดสัปดาห์ เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างมิติทางกายภาพและการใช้สอยที่ว่างภายในตรอกในบทบาท "ทางแห่งชีวิต" และ "ที่แห่งชีวิต" ผ่านแผนที่แสดงความเข้มข้นของการใช้สอยที่ว่างภายในตรอก สู่การสังเคราะห์คุณลักษณะที่ว่างของตรอกในฐานะ "พื้นที่รองรับชีวิต" ซึ่งส่งผลให้ตรอกในชุมชนตรอกศิลป์-ตรอกตึกดินเป็นพื้นที่รองรับการอยู่อาศัยทางสังคมที่มีชีวิตชีวา โดยสรุป สาระสำคัญของคุณลักษณะที่ว่างของตรอกบริเวณชุมชนตรอกศิลป์-ตรอกตึกดิน ประกอบด้วย ที่ว่างที่ให้ประสบการณ์อันหลากหลาย ที่ว่างที่มีปฏิสันถารกับชีวิต ที่ว่างที่ซ่อนอยู่ในที่ว่าง ที่ว่างที่รองรับมิติการใช้สอยอันหลากหลาย และที่ว่างที่มีการหมุนเวียนผลัดเปลี่ยนการใช้สอย


แนวทางการลดน้ำหนักบรรทุกคงที่อาคารโดยการเปลี่ยนองค์ประกอบสถาปัตยกรรมผนังด้วยแบบจำลองสารสนเทศ(Bim) : กรณีศึกษาโรงแรมบูรพาสามยอด, ศุภิสรา นพเกตุ Jan 2018

แนวทางการลดน้ำหนักบรรทุกคงที่อาคารโดยการเปลี่ยนองค์ประกอบสถาปัตยกรรมผนังด้วยแบบจำลองสารสนเทศ(Bim) : กรณีศึกษาโรงแรมบูรพาสามยอด, ศุภิสรา นพเกตุ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

โรงแรมบูรพาสามยอด กรุงเทพมหานคร เป็นอาคารที่มีขนาดสูงเกิน 16 เมตรอาคารหนึ่งภายในพื้นที่ควบคุมความสูงตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2530 เนื่องด้วยอาคารหลังนี้ก่อสร้างขึ้นในช่วง พ.ศ.2500 ก่อนการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าว จึงทำให้ได้รับการยกเว้นระดับความสูงของอาคารให้คงอยู่เท่ากับในปัจจุบัน โดยสามารถบูรณะและซ่อมแซมอาคารได้ แต่ไม่สามารถสร้างอาคารอื่นขึ้นใหม่ในพื้นที่ให้มีความสูงเท่าเดิม ส่งผลให้โรงแรมบูรพาสามยอดและอาคารที่ติดข้อกำหนดลักษณะเดียวกัน อาจถูกดัดแปลงเพิ่มเติมองค์ประกอบอาคารโดยไม่คำนึงถึงความสามารถที่จำกัดในการรับน้ำหนักของโครงสร้าง การปรังปรุงโดยลดน้ำหนักอาคารจึงเป็นตัวเลือกที่ปลอดภัย ประหยัด และได้พื้นที่มากกว่าการทุบทิ้งสร้างใหม่ ซึ่งงานวิจัยนี้จะศึกษาวิธีการลดน้ำบรรทุกคงที่อาคาร (Dead load) โดยการเปลี่ยนองค์ประกอบสถาปัตยกรรมผนัง ด้วยแบบจำลองสารสนเทศ (Build Information Modeling) หรือBIM เนื่องจาก BIM มีความสามารถในการจำลองวัตถุในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทั้งรูปทรง 3มิติ 2มิติและข้อมูลคุณสมบัติ ตัวแปร และความสัมพันธ์กับวัตถุอื่นๆ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1)ศึกษาวิธีการบันทึกแบบอาคาร 2มิติ 3มิติ และข้อมูลน้ำหนักบรรทุกคงที่อาคาร ของอาคารปัจจุบัน และอาคารที่เปลี่ยนองค์ประกอบสถาปัตยกรรมผนัง ด้วยแบบ BIM ในโปรแกรม Autodesk Revit 2)นำเสนอแนวทางการลดน้ำบรรทุกอาคาร โดยเปลี่ยนองค์ประกอบสถาปัตยกรรมผนังโรงแรมบูรพาสามยอด ด้วย BIM ผลการศึกษามี2ประเด็นดังนี้ ประเด็นที่1กระบวนการแบบจำลองสารสนเทศในการบันทึกข้อมูลอาคารปัจจุบันและอาคารที่มีการเปลี่ยนแปลงวัสดุผนังสามารถบันทึกข้อมูลทั้งหมดอยู่ในไฟล์เดียวกันได้ ทำให้ไม่เกิดความซ้ำซ้อนของข้อมูล โดยการจำแนกองค์ประกอบสถาปัตยกรรมของอาคารปัจจุบันเพื่อคำนวณน้ำหนักจำแนกออกเป็น 6 ประเภท คือ เสา คาน พื้น บันได ผนังลิฟต์ และผนัง ซึ่งสามารถแยกย่อยชนิดและวัสดุองค์ประกอบได้ โดยองค์ประกอบสถาปัตยกรรมจะบันทึกอยู่ใน 3 ตำแหน่งคือ 1)Revit Modeling ซึ่งแสดงผลเป็นแบบ 2 มิติและโมเดล 3 มิติ 2)Revit Family ซึ่งแสดงผลเป็นข้อมูลวัสดุ รายละเอียด ขนาดองค์ประกอบ และ 3)Revit Schedule ซึ่งรวบรวมข้อมูลทั้งหมดและคำนวณน้ำหนักอาคารเป็น 6 Schedule ตามองค์ประกอบสถาปัตยกรรม สำหรับการสร้างวัสดุทางเลือกผนังนั้น ผนัง 1 ชนิดสามารถสร้างทางเลือกได้หลากหลายโดยใช้ Design Option ในโปรแกรม Autodesk Revit ประเด็นที่2 น้ำหนักรวมองค์ประกอบสถาปัตยกรรมผนังมีทั้งหมด 4,474,148.39 กิโลกรัม จากน้ำหนักทั้งหมด10,230,569.23 กิโลกรัม …


การประเมินประสิทธิภาพแสงธรรมชาติและการใช้พลังงานจากการออกแบบหิ้งสะท้อนแสงในอาคารสำนักงานตามเกณฑ์การประเมินอาคารเขียว ลีด เวอร์ชัน 4.0, ศิรวิชญ์ รงควิลิต Jan 2018

การประเมินประสิทธิภาพแสงธรรมชาติและการใช้พลังงานจากการออกแบบหิ้งสะท้อนแสงในอาคารสำนักงานตามเกณฑ์การประเมินอาคารเขียว ลีด เวอร์ชัน 4.0, ศิรวิชญ์ รงควิลิต

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการนำเสนอแนวทางการออกแบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการนำแสงธรรมชาติเข้ามาใช้ภายในอาคารสำนักงาน โดยการลดการใช้พลังงานจากแสงประดิษฐ์ ด้วยการออกแบบหิ้งสะท้อนแสง และประเมินผลโดยใช้ค่า Spatial Daylight Autonomy (sDA) และ Annual Sunlight Exposure (ASE) ตามเกณฑ์ LEED V4 หัวข้อ Daylight ด้วยโปรแกรม Rhinoceros - Grasshopper - Ladybug Tools, Honeybee Tools ในการจำลองผล โดยมีตัวแปร คือ ระยะยื่นของหิ้งสะท้อนแสงภายนอกขนาด 0.30 เมตร 0.60 เมตร และ 0.90 เมตร ระยะติดตั้งต่ำจากฝ้าเพดาน 0.50 เมตร และ 1.00 เมตร องศาฝ้าเพดาน 0 องศา 15 องศา และ 30 องศา สัดส่วนพื้นที่ช่องเปิดต่อพื้นที่ผนัง 60% และ 100% ตำแหน่งทิศที่ติดตั้งหิ้งสะท้อนแสงทั้ง 8 ทิศ และการติดตั้งหิ้งสะท้อนแสงภายในระยะยื่นขนาด 0.30 เมตร โดยจำลองกับห้องภายในอาคารสำนักงาน กว้าง 9 เมตร ลึก 12 เมตร และสูง 3 เมตร ซึ่งผลการวิจัย ทุกกรณีศึกษามีค่า sDA ผ่านเกณฑ์ทั้งหมด ส่วนค่า ASE มีกรณีศึกษาที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ซึ่งการมีระยะยื่นของหิ้งสะท้อนแสงภายนอกที่มากขึ้น ทำให้แสงสามารถเข้าสู่ภายในอาคารได้น้อยลง ส่งผลให้ค่า sDA และ ASE ลดลง การมีระยะติดตั้งต่ำจากฝ้าเพดานที่มากขึ้น ทำให้ค่า sDA และ ASE เพิ่มขึ้น องศาของฝ้าเพดานที่เพิ่มขึ้น ช่วยในการกระจายแสงเข้าสู่ภายในอาคาร มีผลให้ค่า sDA เพิ่มขึ้น แต่ไม่ส่งต่อค่า ASE สัดส่วนพื้นที่ช่องเปิดต่อพื้นที่ผนังที่มากขึ้น …


ความต้องการและความคาดหวังจากการจัดการอาคารของผู้เช่าอาคารสำนักงาน, ณวัลริณี สุวินิจวงษ์ Jan 2018

ความต้องการและความคาดหวังจากการจัดการอาคารของผู้เช่าอาคารสำนักงาน, ณวัลริณี สุวินิจวงษ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

อาคารสำนักงานเป็นสิ่งที่สร้างขึ้นมาเพื่อเป็นสถานที่ที่ให้ทั้งผู้ที่ไม่ได้ประกอบธุรกิจเชิงพาณิชย์ และผู้ประกอบธุรกิจเชิงพาณิชย์ใช้สอย และเมื่อมีผู้ใช้อาคารจึงจำเป็นที่จะต้องมีผู้ดูแลจัดการหรือที่เรียกว่าผู้บริหารอาคารเพื่อให้อาคารนั้น ๆ อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการทราบถึงความต้องการและคาดคาดหวังจากการจัดการอาคารของผู้เช่าอาคารสำนักงาน โดยการส่งแบบสอบถามไปยังบริษัทผู้เช่าพื้นที่ภายในอาคารสำนักงานระดับ เอ ซึ่งตั้งอยู่บริเวณย่านธุรกิจการค้ามีอัตราค่าเช่าไม่ต่ำกว่า 750 บาท/ตารางเมตร/เดือน แต่ไม่เกินกว่า 1,000 บาท/ตารางเมตร/เดือน มีอาคารสำนักงานอยู่ในกรณีศึกษาทั้งหมด 6 อาคาร ได้แก่ อาคารสาทรซิตี้ ทาวเวอร์ อาคารเอเชียเซ็นเตอร์ อาคารซี.พี. ทาวเวอร์ อาคารจามจุรี ทาวเวอร์ อาคารเอ็มโพเรียม ทาวเวอร์ และอาคารอินเตอร์เชนจ์ 21 เพื่อทำการวิเคราะห์ สรุป และอภิปรายผล จากการศึกษาพบว่าผู้เช่าอาคารสำนักงานแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ ผู้เช่าพื้นที่สำนักงาน และผู้เช่าพื้นที่ร้านค้า โดยผู้เช่าพื้นที่สำนักงานแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มประเภทธุรกิจ ซึ่งทั้ง 3 กลุ่มนี้มีความต้องการและคาดหวังในแต่ละงานมากน้อยไม่เท่ากัน ผู้เช่าพื้นที่สำนักงาน และผู้เช่าพื้นที่ร้านค้ามีลักษณะที่แตกต่างกันทั้งในเรื่องอัตราค่าเช่า สัญชาติของ ผู้เช่า ประเภทธุรกิจ แต่มีความใกล้เคียงกันในเรื่องขนาดพื้นที่เช่าและขนาดขององค์กร โดยเมื่อนำประเภทธุรกิจของผู้เช่ามาวิเคราะห์พบว่าผู้เช่าทั้ง 3 กลุ่มประเภทธุรกิจและผู้เช่าพื้นที่ร้านค้ามีความต้องการและคาดหวังให้ฝ่ายบริหารอาคารดูแลเรื่องระบบความปลอดภัยของอาคารให้ได้มาตรฐานตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคารมากที่สุดเหมือนกัน ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าความแตกต่างด้านกลุ่มประเภทธรุกิจนั้น ถึงแม้จะมีความต้องการและความคาดหวังในการจัดการงานอาคารในแต่ละงานมากน้อยไม่เท่ากัน แต่ก็มีมุมมองในการให้ความสำคัญหรือความต้องการจากการจัดการอาคารในเรื่องของการดูแลระบบความปลอดภัยมากที่สุดเหมือนกัน


แบบบ้านสำหรับผู้ประสบภัยพิบัติ ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว, เทบพะวง ไชโกสี Jan 2018

แบบบ้านสำหรับผู้ประสบภัยพิบัติ ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว, เทบพะวง ไชโกสี

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

มีวัตถุประสงค์ จะเสนอแบบบ้านสำหรับ ผู้ประสบภัยพิบัติในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ที่ตอบสนองในการเป็นทั้งที่พักอาศัยฉุกเฉิน ที่พักอาศัยชั่วคราวและที่พักอาศัยถาวร จากแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องจะต้องคำนึงถึงปัจจัยด้านรูปแบบ วัสดุและแรงงาน โดยรูปแบบอาคารต้องเรียบง่าย ต่อเติมได้ และแข็งแรง ใช้วัสดุที่หาได้ในพื้นที่ มีน้ำหนักเบา เพื่อให้สามารถใช้แรงงานน้อยหรือผู้อยู่อาศัยสามารถสร้างได้เองและสามารถต่อเติมได้ภายหลัง​ที่สามารถตอบสนองเป็น ที่พักอาศัยฉุกเฉิน ที่พักอาศัยชั่วคราวและที่พักอาศัยถาวรไปพร้อมกัน จากแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องจะต้องคำนึงถึงปัจจัยด้านรูปแบบ วัสดุและแรงงาน โดยรูปแบบอาคารต้องเรียบง่าย ต่อเติมได้ และแข็งแรง ใช้วัสดุที่หาได้ในพื้นที่ มีน้ำหนักเบา เพื่อให้สามารถใช้แรงงานน้อยหรือผู้อยู่อาศัยสามารถสร้างได้เองและสามารถต่อเติมได้ภายหลัง จึงเสนอรูปแบบบ้านเป็นอาคารชั้นเดียว รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 3.00 x 6.00 เมตร หลังคาแบบเพิงหมาแหงน ตัวอาคารแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกเป็นพื้นที่ภายในใช้เป็นที่นอนและพักผ่อน ส่วนที่สองเป็นพื้นที่ภายนอกที่ใช้ประกอบกิจกรรมอื่น ๆ มีช่องระแนงเพื่อระบายอากาศ โครงสร้างเป็นเหล็กรูปพรรณรีดเย็น วางบนตอม่อสำเร็จรูป พื้นภายนอกเป็นพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก พื้นภายในยกระดับโครงสร้างเหล็กยกระดับปูด้วยแผ่นไฟเบอร์ซีเมนต์ เช่นเดียวกับผนังโครงเคร่าเป็นเหล็กกาวาไนซ์ บุด้วยแผ่นไฟเบอร์ซีเมนต์ โครงสร้างหลังคาเป็นเหล็ก มุงด้วยแผ่นเหล็กเมทัลชีท เมื่อนำแบบไปก่อสร้างจริงในนครหลวงเวียงจันทน์ ต้องใช้เวลาก่อสร้างทั้งหมด 24 วัน เนื่องจากสภาพอากาศมีฝนตกหนักเกือบทุกวัน แต่ถ้านับเฉพาะทำงานจะเหลือแค่ 7 วัน ใช้งบประมาณ 70,290 บาท แบ่งเป็นค่าวัสดุ 50,290 บาท ค่าแรง 20,000 บาท เป็นค่าจ้างช่างในพื้นที่ 2 คน จากการสอบถามผู้อยู่อาศัยมีความพึงพอใจ แต่มีปัญหาฝนสาดเข้าตัวบ้านเนื่องจากชายคาสั้น มีช่องเปิดน้อยเกินไปทำให้แสงเข้าภายในบ้านไม่เพียงพอและระแนงตีแนวตั้งทำให้หักได้ง่าย นอกจากนั้น ช่างยังไม่คุ้นเคยกับวัสดุก่อสร้างสมัยใหม่ทำให้การก่อสร้างล่าช้าบางขั้นตอนในช่วงแรก ผู้วิจัยจึงได้ทำการปรับแบบใหม่ เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างที่อยู่อาศัยสำหรับผู้ประสบภัยพิบัติในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวต่อไป


สภาพทางกายภาพที่สัมพันธ์กับการใช้งานห้องอเนกประสงค์ภายในอาคารสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่, ชลันธร ชูตินันท์ Jan 2018

สภาพทางกายภาพที่สัมพันธ์กับการใช้งานห้องอเนกประสงค์ภายในอาคารสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่, ชลันธร ชูตินันท์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

สถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่มีการใช้ประโยชน์พื้นที่ห้องอเนกประสงค์เพื่อประกอบพิธีทางการทูตและกิจกรรมอื่นๆ หลากหลายรูปแบบตามนโยบายและแผนยุทธศาสตร์กระทรวงการต่างประเทศเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง โดยสามารถรองรับการดำเนินกิจกรรมหลากหลายรูปแบบและรองรับผู้ใช้งานหลายกลุ่ม นับว่าเป็นส่วนหนึ่งที่มีบทบาทในการแสดงออกถึงภาพลักษณ์และเกียรติภูมิของประเทศและประชาชนชาวไทย การใช้งานดังกล่าวอาจนำมาซึ่งปัญหาและอุปสรรคหลายประการ เช่น ขนาดพื้นที่ไม่มีความยึดหยุ่นกับการจัดกิจกรรม องค์ประกอบของห้องไม่สอดคล้องกับรูปแบบการจัดกิจกรรม ซึ่งจะส่งผลต่อภาพลักษณ์ของประเทศไทย อีกทั้งยังส่งผลต่อความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของผู้ใช้พื้นที่และผู้เกี่ยวข้อง การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา สภาพทางกายภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพทางกายภาพและการใช้งาน ปัญหาทางกายภาพที่เกิดจากการใช้งานห้องอเนกประสงค์ภายในอาคารสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ โดยมีระเบียบวิธีในการศึกษา คือ 1) ทบทวนเอกสาร หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2) ศึกษาและวิเคราะห์จากแบบก่อสร้างทางสถาปัตยกรรม 3) สำรวจสภาพทางกายภาพของห้องอเนกประสงค์โครงการกรณีศึกษา 4) สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง 5) วิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ จากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าห้องอเนกประสงค์ควรถูกออกแบบให้มีความยึดหยุ่น สามารถรองรับการใช้งานที่หลากหลาย แต่ทั้งนี้การใช้พื้นที่เพื่อประกอบกิจกรรมแต่ละประเภทมีความต้องการทางด้านกายภาพที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ ขั้นตอนในการดำเนินกิจกรรม ตลอดจนจำนวนและประเภทของผู้ใช้พื้นที่ ปัญหาทางกายภาพที่เกิดจากการใช้พื้นที่ที่พบมีสาเหตุจาก 1) ไม่ถูกจัดเตรียมไว้ในขั้นการออกแบบ 2) การใช้พื้นที่ไม่ตรงตามวัตถุประสงค์แรกเริ่มในการออกแบบ ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์พื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพตามรูปแบบของกิจกรรมและประเภทของผู้ใช้งาน ควรมีการจัดทำคู่มือการใช้พื้นที่เพื่อเป็นแนวทาง คำแนะนำในการใช้พื้นที่ห้องอเนกประสงค์ในการจัดกิจกรรมต่างๆ สำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการของสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ ตลอดจนการจัดทำรายละเอียดข้อกำหนดการออกแบบเพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดรายละเอียดพื้นที่ใช้สอย ปัจจัยและเกณฑ์กำหนดสภาพทางกายภาพที่ต้องพิจารณาในการออกแบบพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะเป็นประโยชน์ต่อเจ้าหน้าที่กระทรวงการต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ ปรับปรุงอาคารสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ และผู้ปฏิบัติวิชาชีพที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ต่อไป


องค์ประกอบพื้นที่บ้านปกาเกอะญอ กรณีศึกษา หมู่บ้านโป่งลึก-บางกลอย อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี, ดิษฐา สุเทพประทานวงศ์ Jan 2018

องค์ประกอบพื้นที่บ้านปกาเกอะญอ กรณีศึกษา หมู่บ้านโป่งลึก-บางกลอย อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี, ดิษฐา สุเทพประทานวงศ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

จากการเข้ามาของการท่องเที่ยวและกฎระเบียบของอุทยานแห่งชาติ ส่งผลให้อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมและสถาปัตยกรรมของชาวปกาเกอะญอหมู่บ้านโป่งลึก-บางกลอย อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรีเริ่มหายไป งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพื้นที่ และรูปแบบการใช้พื้นที่ของบ้านปกาเกอะญอ หมู่บ้านโป่งลึก-บางกลอย อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี โดยทำการศึกษาด้วยการรังวัดสถาปัตยกรรมบ้านปกาเกอะญอภายในหมู่บ้าน จำนวน 6 หลัง และนำผังพื้นของบ้านแต่ละหลังมาทำการวิเคราะห์เปรียบเทียบเพื่อเพื่อหาองค์ประกอบพื้นที่ของบ้านปกาเกอะญอ หมู่บ้านโป่งลึก-บางกลอย จากการศึกษาพบว่า องค์ประกอบพื้นที่พื้นที่บ้านปกาเกอะญอมีทั้งหมด 9 พื้นที่โดยแบ่งเป็นพื้นที่นอกตัวบ้าน 2 พื้นที่ ได้แก่ กัวลาดี (บริเวณ-บ้าน) และเดอะพาละ (ใต้ถุนบ้าน) และพื้นที่บนตัวบ้าน 7 พื้นที่ได้แก่ กลุโคะ (ชานบันได), โจละ (พื้นที่รับแขก), โจคุ (ที่นอน-ผู้ชาย), เอ๊าะมีเลาะห์ (ครัว) พะปู (เตาไฟ), ริคุ (ชั้นวางของ), เดอมิ(ห้องนอนลูกสาว) ลักษณะการใช้พื้นที่มีลำดับการเข้าถึง เริ่มที่กลุโคะ(ชานบันได) หรือ โจละ(พื้นที่รับแขก) แล้วส่วนสุดท้ายที่เข้าถึงได้คือ เดอมิ(ห้องนอนลูกสาว) โดยที่มีส่วนกลุโคะ (ชานบันได) หรือโจละ(พื้นที่รับแขก) เป็นส่วนแรกที่เข้าถึงได้ของตัวบ้าน และเดอมิ (ห้องนอนลูกสาว) เป็นส่วนที่เข้าถึงได้ท้ายสุด