Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Digital Commons Network

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

2021

Discipline
Institution
Keyword
Publication
Publication Type
File Type

Articles 5011 - 5040 of 5095

Full-Text Articles in Entire DC Network

The Relationship Between School Shootings And Gun Acquisition Rates, Sun-Il (Sun) Moon Jan 2021

The Relationship Between School Shootings And Gun Acquisition Rates, Sun-Il (Sun) Moon

Honors Papers

In this paper, I seek to understand how communities respond to tragic events involving violence, exploring the relationship between school shootings and gun acquisition rates. Using National Instant Criminal Background Check System (NICS) as a proxy for firearm acquisition rates, I estimate an event study framework, finding that gun acquisition rates increase by up to 32% one month after a school shooting compared to firearm acquisition rates one month before a school shooting. Furthermore, I supplement my analysis by using Google Search data on firearms. Additionally, I stratify my analysis by the four census regions and whether a school shooting …


In The Shadow Of The Carceral State: The Evolution Of Feminist And Institutional Activism Against Sexual Violence, Bethany Munyeen Gen Jan 2021

In The Shadow Of The Carceral State: The Evolution Of Feminist And Institutional Activism Against Sexual Violence, Bethany Munyeen Gen

Honors Papers

This paper aims to trace the development of carceral feminist politics within United States institutions and feminist movements. I first define and describe Modern Carceral Feminism. I then argue that the development of Modern Carceral Feminism hinged on two different political moments: the development of a homogenous understanding of women’s oppression in the second wave feminist movement, and the rising political salience of racialized crime leading to punitive policies nationwide in the mid-to-late 1970s and 1980s. As a result, carceral feminist logics became pervasive within institutional and feminist activism against sexual violence. By the 1980s, reactionary feminist anti-violence movements, like …


Folie À Deux In The 21st Century: Qanon And The American Dream Delusion, Gordon A. Crews, Christina S. Bentch, Garrison A. Crews Jan 2021

Folie À Deux In The 21st Century: Qanon And The American Dream Delusion, Gordon A. Crews, Christina S. Bentch, Garrison A. Crews

Criminal Justice Faculty Publications and Presentations

The purpose of this chapter is to use the concept of folie à deux (or shared delusion disorder) to examine the phenomena of “Q” and the “QAnon” movement in the 21st century. The insurrection which occurred on January 6, 2021 during the attack on the United States’ capitol, drew the authors’ attention to try to understand the reason for this mass violence and to determine what individuals, motivations, and beliefs brought this violence to life. The allegory of Plato’s Cave is used by the authors to offer the reader a context to place the current increasingly bizarre claims and conspiracies …


Retributive Justice: A Review Of The Ethical Considerations Surrounding Capital Punishment And Solitary Confinement As Used In United States Correctional Facilities, Adelaide Marie Laros Jan 2021

Retributive Justice: A Review Of The Ethical Considerations Surrounding Capital Punishment And Solitary Confinement As Used In United States Correctional Facilities, Adelaide Marie Laros

Honors Papers

The purpose of this paper is to argue the use of capital punishment and segregated housing throughout United States correctional facilities constitute human rights violations through torture. Regardless of the reason for their application, these penalties are physically and psychologically damaging, inconsistently assigned, costly, and, in their most potent form, fatal. As such, I advocate for the national abolishment of these practices. In their place, I support enacting policies that promote education and reformation over punishment. My aim in making this argument is to encourage a transition away from the popular American judicial ideology grounded in retribution toward a framework …


Prisoners As "Quasi-Employees", Ethan Heben Jan 2021

Prisoners As "Quasi-Employees", Ethan Heben

University of Florida Journal of Law & Public Policy

No abstract provided.


Let The Sunshine In: Floridian Felons And The Franchise, Joshua Winograd Jan 2021

Let The Sunshine In: Floridian Felons And The Franchise, Joshua Winograd

University of Florida Journal of Law & Public Policy

No abstract provided.


Release Roulette: The Rural-Urban Pretrial Detention Divide In Florida, Matthew Baker Jan 2021

Release Roulette: The Rural-Urban Pretrial Detention Divide In Florida, Matthew Baker

University of Florida Journal of Law & Public Policy

No abstract provided.


Learning While Black: How "Zero Tolerance" Policies Disproportionately Affect Black Students, Sydney Ford Jan 2021

Learning While Black: How "Zero Tolerance" Policies Disproportionately Affect Black Students, Sydney Ford

University of Florida Journal of Law & Public Policy

No abstract provided.


"Defund The (School) Police"?: Bringing Data To Key School-To-Prison Pipeline Claims, Michael Heise, Jason P. Nance Jan 2021

"Defund The (School) Police"?: Bringing Data To Key School-To-Prison Pipeline Claims, Michael Heise, Jason P. Nance

UF Law Faculty Publications

Nationwide calls to “Defund the Police,” largely attributable to the resurgent Black Lives Matter demonstrations, have motivated derivative calls for public school districts to consider “defunding” (or modifying) school resource officer (“SRO/police”) programs. To be sure, a school’s SRO/police presence—and the size of that presence—may influence the school’s student discipline reporting policies and practices. How schools report student discipline and whether it involves referrals to law enforcement agencies matter, particularly as they may fuel a growing “school-to-prison pipeline.” The school-to-prison pipeline research literature features two general claims that frame debates about changes in how public schools approach student discipline and …


สายลับกับการสืบสวนปราบปรามอาชญากรรมยาเสพติดในประเทศไทย, กิตติภพ บัวคลี่ Jan 2021

สายลับกับการสืบสวนปราบปรามอาชญากรรมยาเสพติดในประเทศไทย, กิตติภพ บัวคลี่

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

วิทยานิพนธ์เรื่องสายลับกับการสืบสวนปราบปรามอาชญากรรมยาเสพติดในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความเป็นมาและบทบาทของสายลับในการสืบสวนปราบปรามอาชญากรรมยาเสพติดในประเทศไทย พร้อมทั้งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหน้าที่สืบสวนกับบุคคลที่เป็นสายลับในการทำงานปราบปรามยาเสพติด เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการนำสายลับมาใช้ในการสืบสวนปราบปรามอาชญากรรมยาเสพติด โดยเป็นการศึกษาเชิงคุณภาพด้วยการวิจัยเชิงเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่รัฐ สายลับ และบุคลากรในกระบวนการยุติธรรม จำนวนทั้งสิ้น 27 ท่าน ผลการศึกษาพบว่า สายลับเป็นกลวิธีในการหาข่าวที่ปรากฏหลักฐานมาตั้งแต่สมัยบรรพกาล ตราบจนกระทั่งสังคมมีพัฒนาการทางด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา วิธีการใช้สายลับจึงได้ถูกนำมาปรับใช้ในการทำงานสืบสวนของเจ้าหน้าที่ตำรวจซึ่งมีภารกิจรักษาความสงบเรียบร้อยภายในรัฐและการควบคุมอาชญากรรม บทบาทที่คาดหวังของสายลับคือ การกระทำใด ๆ ที่ตอบสนองต่อภารกิจการสืบสวนปราบปรามยาเสพติดตามที่เจ้าหน้าที่ต้องการ ซึ่งเป็นงานที่เจ้าหน้าที่ไม่อาจกระทำได้โดยฐานะของเจ้าหน้าที่เองหรืออาจต้องใช้ระยะเวลานาน บทบาทความสำคัญของสายลับส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับมุมมองของเจ้าหน้าที่แต่ละบุคคลซึ่งมีลักษณะเป็นอัตวิสัย รูปแบบของความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหน้าที่สืบสวนกับบุคคลที่เป็นสายลับจะแตกต่างกันไปในแต่ละคู่สัมพันธ์ การใช้สายลับได้ก่อให้เกิดผลกระทบในหลายด้าน เป็นต้นว่า สายลับต้องอยู่ในวัฏจักรของการกระทำความผิดและมีโอกาสกลับไปกระทำความผิดซ้ำ และด้วยลักษณะที่เป็นความลับทำให้การตรวจสอบความโปร่งใสของการทำงานเป็นได้ยากอันส่งผลกระทบต่อสังคมและกระบวนการยุติธรรมทางอาญาหลายประการ แนวทางพัฒนาการสืบสวนโดยวิธีใช้สายลับที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทยจึงควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายวิธีพิจารณาคดียาเสพติด พ.ศ. 2550 หมวด 1 ว่าด้วยการสืบสวน โดยให้ระบุถึงการสืบสวนโดยวิธีใช้สายลับ พัฒนาระบบงานยุติธรรมทางอาญาให้ทุกฝ่ายยึดหลักการค้นหาความจริงในเนื้อหา และสร้างมาตรการกำกับดูแลให้ดียิ่งขึ้น


Black Lives Matter In Criminology? Let's Prove It, Katheryn Russell-Brown Jan 2021

Black Lives Matter In Criminology? Let's Prove It, Katheryn Russell-Brown

UF Law Faculty Publications

This essay examines the the academic journey—graduate school to full professor—of an African American professor of criminology and criminal justice. The essay discusses the how criminology and criminologists address race issues and offers a wish list of strategies designed to address problematic practices and racial pitfalls within criminology programs.


Deficit Frame Dangers, Jonathan Feingold Jan 2021

Deficit Frame Dangers, Jonathan Feingold

Faculty Scholarship

Civil rights advocates have long viewed litigation as an essential, if insufficient, catalyst of social change. In part, it is. But in critical respects that remain underexplored in legal scholarship, civil rights litigation can hinder short- and long-term projects of racial justice.

Specifically, certain civil rights doctrines reward plaintiffs for emphasizing community deficits—or what I term a “deficit frame.” Legal doctrine, in other words, invites legal narratives that track, activate, and reinforce pernicious racial stereotypes. This dynamic, even in the context of well-intended litigation, risks entrenching conditions that drive racial inequality—including the conditions that litigation is often intended to address. …


The Criminalization Of Foreign Relations, Steven Arrigg Koh Jan 2021

The Criminalization Of Foreign Relations, Steven Arrigg Koh

Faculty Scholarship

Overcriminalization has rightly generated national condemnation among policymakers, scholars, and practitioners alike. And yet, such scholarship often assumes that the encroachment of criminal justice stops at our borders. This Article argues that our foreign relations are also at risk of overcriminalization due to overzealous prosecution, overreaching legislation, and presidential politicization—and that this may be particularly problematic when U.S. criminal justice supplants certain nonpenal U.S. foreign policies abroad. This Article proposes three key reforms— presidential distancing, prosecutorial integration, and legislative de-escalation—to assure a principled place for criminal justice in foreign relations.


Othering Across Borders, Steven Arrigg Koh Jan 2021

Othering Across Borders, Steven Arrigg Koh

Faculty Scholarship

Our contemporary moment of reckoning presents an opportunity to evaluate racial subordination and structural inequality throughout our three-tiered domestic, transnational, and international criminal law system. In particular, this Essay exposes a pernicious racial dynamic in contemporary U.S. global criminal justice policy, which I call othering across borders. First, this othering may occur when race emboldens political and prosecutorial actors to prosecute foreign defendants. Second, racial animus may undermine U.S. engagement with international criminal legal institutions, specifically the International Criminal Court. This Essay concludes with measures to mitigate such othering.


Spatial Patterns Of Crime In District 05, Quito-Ecuador, 2016-2020, Pablo Esteban Ochoa Veloz Jan 2021

Spatial Patterns Of Crime In District 05, Quito-Ecuador, 2016-2020, Pablo Esteban Ochoa Veloz

All Graduate Theses, Dissertations, and Other Capstone Projects

The geography of crime in Ecuador has not been geographically studied. In Quito, few criminal studies have been developed from a geographic approach. This research focuses on studying trends and patterns of crime in Quito`s District 05 by employing spatial analytical tools using GIS (Geographic Information System), statistics and cartographic techniques. This study aims to contribute to the literacy in crime-related topic in the country. Quito´s District 05 houses a representative percentage of the city´s financial services, retail activities, and other tertiary services. This district is among the most important economic business district in the city which attract many people …


Murders In The German Sex Trade: 1920 To 2017, Manuela Schon, Anna Hoheide Jan 2021

Murders In The German Sex Trade: 1920 To 2017, Manuela Schon, Anna Hoheide

Dignity: A Journal of Analysis of Exploitation and Violence

This research report is the result of collecting and evaluating data on cases of homicides and attempted homicides in the German sex trade from 1920-2017. The findings show violence against prostituted women and the attitudes of the sex buyers who commit most of the violent acts against the women. The report discusses the media coverage of murder cases, complication of cases, and a critique of methods of criminal evaluation by the police. From 1920 to 2017, 272 victims of murder and attempted murder were identified. Liberalization of prostitution occurred in 2002. From then until 2017, there is a decrease in …


กระบวนการตรวจพิสูจน์พยานหลักฐานดิจิทัล: การวิเคราะห์เพื่อพัฒนาเชิงนโยบาย, กานต์ ศรีสุวรรณ Jan 2021

กระบวนการตรวจพิสูจน์พยานหลักฐานดิจิทัล: การวิเคราะห์เพื่อพัฒนาเชิงนโยบาย, กานต์ ศรีสุวรรณ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ในการนำเสนอขั้นตอนของกระบวนการตรวจพิสูจน์พยานหลักฐานดิจิทัลในประเทศไทย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนปัญหาและอุปสรรค เพื่อนำไปสู่ข้อเสนอเชิงนโยบายในการปรับปรุงกฎหมายและพัฒนากระบวนการตรวจพิสูจน์พยานหลักฐาน โดยเนื้อหาเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของพยานหลักฐานดิจิทัล กระบวนการตรวจพิสูจน์พยานหลักฐานดิจิทัล ประเด็นปัญหาและอุปสรรคจากผู้ที่เกี่ยวข้อง ข้อเสนอเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติ โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพจากเอกสาร การลงพื้นที่สัมภาษณ์เชิงลึกและกรณีศึกษา จากการศึกษาพบว่า กระบวนการตรวจพิสูจน์พยานหลักฐานดิจิทัลในประเทศไทย 4 ขั้นตอน มีปัญหาและอุปสรรค คือ 1) การรวบรวมพยานหลักฐาน มีปัญหาในการรวบรวมพยานหลักฐานให้สมบูรณ์ขณะเกิดเหตุโดยไม่ถูกเปลี่ยนแปลงแก้ไข 2) การเก็บรักษาพยานหลักฐาน ไม่เป็นไปตามมาตรฐานการจัดเก็บ และการจัดการพยานหลักฐานดิจิทัล 3) การวิเคราะห์พยานหลักฐานดิจิทัล บุคลากรบางส่วนขาดความเชี่ยวชาญที่จำเป็นเฉพาะด้าน 4) การนำเสนอผลพิสูจน์พยานหลักฐานดิจิทัล มีการโต้แย้ง หรือขาดน้ำหนักในการรับฟังในชั้นพิจารณาคดี ข้อเสนอแนะจากการศึกษาครั้งนี้ คือ ควรมีการปรับปรุงพัฒนากระบวนการตรวจพิสูจน์พยานหลักฐานดิจิทัลในประเทศไทยให้มีมาตรฐานการปฏิบัติที่ชัดเจนในทั้ง 4 ขั้นตอนให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล บุคลากรควรได้รับการอบรมเพิ่มเติมในประเด็นความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เพื่อช่วยลดปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงาน มีการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมถึงสนับสนุนให้มีการจัดตั้งสภาวิชาชีพนิติวิทยาศาสตร์ และจัดตั้งหน่วยงานเฉพาะที่ทำหน้าที่ในการกำกับดูแล โดยเริ่มต้นจากการส่งเสริมบทบาทของศูนย์ดิจิทัลฟอเรนสิกส์ที่มีอยู่เดิม เพื่อให้การป้องกันปราบปรามอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ในประเทศไทยมีประสิทธิภาพมากขึ้น การวิจัยนี้ ได้รับการสนับสนุนทุนการศึกษาจากทุนการศึกษาหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต “100 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย” (The 100th Anniversary Chulalongkorn University Fund for Doctoral Scholarship) และทุน 90 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช [The 90th Anniversary of Chulalongkorn University Fund (Ratchadaphiseksomphot Endowment Fund)]


การศึกษาการเคลื่อนย้ายของเสียข้ามแดนอย่างผิดกฎหมายในประเทศไทย, เชาว์วัศ สกุลวรวิทย์ Jan 2021

การศึกษาการเคลื่อนย้ายของเสียข้ามแดนอย่างผิดกฎหมายในประเทศไทย, เชาว์วัศ สกุลวรวิทย์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษาเรื่อง การศึกษาการเคลื่อนย้ายของเสียข้ามแดนอย่างผิดกฎหมายในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการเคลื่อนย้ายของเสียข้ามแดนอย่างผิดกฎหมายในประเทศไทย ศึกษาการบังคับใช้กฎหมาย ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดจากการบังคับใช้กฎหมาย ตลอดจนแสวงหาข้อเสนอแนะต่อการป้องกันและปราบปรามการเคลื่อนย้ายของเสียข้ามแดนอย่างผิดกฎหมายในประเทศไทยโดยใช้วิธีการในการดำเนินการวิจัย คือ การวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร และการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 13 คน ประกอบด้วยพนักงานศุลกากร เจ้าพนักงานตำรวจ พนักงานสอบสวนคดีพิเศษ พนักงานอัยการ เจ้าหน้าที่กรมควบคุมมลพิษ ผู้แทนองค์กรพัฒนาเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม และผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายสิ่งแวดล้อม ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบของการเคลื่อนย้ายของเสียข้ามแดนอย่างผิดกฎหมายในประเทศไทยที่พบมากที่สุด คือ การนำเข้าเศษพลาสติก ด้วยการขนส่งทางเรือโดยบรรจุของเสียในตู้สินค้า ซึ่งมีประเทศต้นทางที่สำคัญ คือ ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยผู้กระทำผิดใช้วิธีการฉ้อฉลทางเอกสารเป็นหลัก และเป็นการกระทำโดยองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ ในขณะที่หน่วยงานบังคับใช้กฎหมายก็เผชิญกับปัญหาและอุปสรรคในการบังคับใช้กฎหมาย อาทิเช่น ปัญหาช่องว่างของกฎหมายในเรื่องหลักเกณฑ์การเปรียบเทียบงดการฟ้องร้องตามกฎหมายศุลกากร เป็นต้น อันนำมาสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการงดการเปรียบเทียบงดการฟ้องร้องเพื่อดำเนินคดีผู้กระทำผิดในชั้นศาล การนำพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการมีส่วนร่วมในองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ พ.ศ. 2556 มาใช้ในการปราบปรามการเคลื่อนย้ายของเสียข้ามแดนอย่างผิดกฎหมายในประเทศไทย ตลอดจนการจัดการกับของเสียที่เป็นของกลางและของตกค้างด้วยการส่งกลับต้นทาง เป็นต้น


จากการคุมขังสู่การแก้ไขฟื้นฟู: การเปลี่ยนแปลงของการราชทัณฑ์ไทยสมัยใหม่ พ.ศ. 2433-2506, ศรัญญู เทพสงเคราะห์ Jan 2021

จากการคุมขังสู่การแก้ไขฟื้นฟู: การเปลี่ยนแปลงของการราชทัณฑ์ไทยสมัยใหม่ พ.ศ. 2433-2506, ศรัญญู เทพสงเคราะห์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ราชทัณฑ์หรือการลงโทษของรัฐเป็นกลไกหนึ่งของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาและเป็นเครื่องมือในการใช้อำนาจของรัฐอย่างชัดเจนและตรงไปตรงมาผ่านการลงทัณฑ์ผู้ฝ่าฝืนกฎหมายหรือระเบียบทางศีลธรรมของผู้มีอำนาจ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษากำเนิดและการเปลี่ยนแปลงของการราชทัณฑ์ไทยสมัยใหม่ในช่วง พ.ศ. 2433-2506 โดยพิจารณาแนวคิด วิธีการ รวมถึงปฏิบัติการลงทัณฑ์สมัยใหม่ของรัฐไทย จากการศึกษาพบว่าบริบทการเมืองภายในของรัฐไทยกับแนวคิดและการปฏิสัมพันธ์กับความรู้เกี่ยวกับการลงโทษรูปแบบใหม่ ๆ จากภายนอก เป็นเงื่อนไขสำคัญที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของงานราชทัณฑ์ไทยสมัยใหม่ โดยการเปลี่ยนแปลงนี้สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ระลอก ได้แก่ ยุคสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ยุคสมัยคณะราษฎร และยุคสมัยเผด็จการทหาร งานราชทัณฑ์ไทยยังสามารถเผยให้เห็นกรอบแนวคิด 4 แบบเกี่ยวกับรัฐไทยสมัยใหม่ ได้แก่ (1) ทัศนคติและการควบคุมพลเมืองของรัฐไทยในแต่ละช่วงเวลา (2) การปรับใช้แนวคิดและวิธีการลงทัณฑ์สมัยใหม่ให้เข้ากับปฏิบัติการทางวัฒนธรรมในสังคมไทย (3) ความสลับซับซ้อนและความคลุมเครือของการใช้อำนาจในการลงทัณฑ์ของรัฐไทย และ (4) ข้อจำกัดและสภาวะยกเว้นในการลงทัณฑ์สมัยใหม่ของรัฐไทย


อาชญากรรมสิ่งแวดล้อม: กรณีศึกษาผลกระทบของการลักลอบนำเข้าขยะอิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย, นภัสสร เปียจันทร์ Jan 2021

อาชญากรรมสิ่งแวดล้อม: กรณีศึกษาผลกระทบของการลักลอบนำเข้าขยะอิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย, นภัสสร เปียจันทร์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

วิทยานิพนธ์เรื่องอาชญากรรมสิ่งแวดล้อม: กรณีศึกษาผลกระทบของการลักลอบนำเข้าขยะอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและผลกระทบของการลักลอบนำเข้าขยะอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ศึกษาปัจจัยของการลักลอบนำเข้าขยะอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยและเสนอแนะแนวทางและมาตรการในการป้องกันและแก้ไขการลักลอบนําเข้าขยะอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยให้สอดคล้องกับอนุสัญญาบาเซล (Basel Convention) โดยเป็นการศึกษาเชิงคุณภาพด้วยการวิจัยเชิงเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญในหน่วยงานภาครัฐบาลและภาคประชาสังคม จำนวน 10 ราย ผลการศึกษาพบว่า สภาพปัญหาการลักลอบนำเข้าขยะอิเล็กทรอนิกส์เริ่มมาจากการที่ประเทศจีนมีประกาศห้ามนำเข้าขยะรีไซเคิลอย่างเด็ดขาดในปี พ.ศ. 2560 และปัญหาการกำจัดขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่มีอยู่เดิมของประเทศไทย ทำให้ปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยมีจำนวนสูงมากขึ้น พบการลักลอบโดยการสำแดงเท็จ การดำเนินการส่วนใหญ่มักยุติที่ชั้นศุลกากรโดยไม่เข้าสู่กระบวนการทางอาญาแม้จะมีกฎหมายระบุไว้ การลักลอบนำเข้าขยะอิเล็กทรอนิกส์จะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศ สุขภาพ สังคม ชุมชน และเศรษฐกิจของประเทศ สำหรับปัจจัยของการลักลอบนำเข้าขยะอิเล็กทรอนิกส์นั้น มีทั้งหมด 4 ด้าน ได้แก่ ปัจจัยด้านพื้นที่ ปัจจัยด้านการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมาย ปัจจัยด้านการบังคับใช้กฎหมาย และปัจจัยด้านความคุ้มค่า ผลการศึกษาแนวทางในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาการลักลอบนำเข้าขยะอิเล็กทรอนิกส์มีทั้งหมด 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการปฏิบัติงาน และการบูรณาการร่วมกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย/นโยบาย/มาตรการ และการบังคับใช้อย่างเคร่งครัด และการสร้างจิตสำนึก และการตระหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมให้มากยิ่งขึ้น


การตกเป็นเหยื่อการซื้อขายผลิตภัณฑ์ด้านความงามผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์, จิตลดา สุจิตต์ Jan 2021

การตกเป็นเหยื่อการซื้อขายผลิตภัณฑ์ด้านความงามผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์, จิตลดา สุจิตต์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ปัญหาการซื้อขายผลิตภัณฑ์ด้านความงามผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในสังคมไทย ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการตกเป็นเหยื่อและการกระทำผิด รวมถึงผลลัพธ์ของการตกเป็นเหยื่อ และแนวทางการป้องกันการตกเป็นเหยื่อ โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 4 กลุ่ม จำนวน 19 คน ประกอบด้วย ผู้เสียหาย ผู้กระทำความผิด เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินคดีและกำกับดูแล และผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณาผลิตภัณฑ์ด้านความงามบนสื่อออนไลน์ และการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยเก็บข้อมูลจากผู้เสียหายด้วยแบบสอบถามออนไลน์ จำนวน 27 คน ผลการศึกษาพบว่า ปัญหาที่พบ ได้แก่ ด้านกฎหมาย การบังคับใช้กฎหมาย การชดเชยเยียวยา การควบคุมและกำกับดูแลร้านค้าออนไลน์ การควบคุมความปลอดภัยของสินค้ และการโฆษณาบนสื่อออนไลน์ โดยปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการตกเป็นเหยื่อ ได้แก่ ค่านิยมการให้คุณค่าความงาม โอกาสในการตกเป็นเหยื่อ การมีส่วนร่วมของเหยื่อ การพึ่งพาเทคโนโลยีสมัยใหม่และพฤติกรรมของเหยื่อ ทั้งนี้ การพัฒนาแนวทางการป้องกันการตกเป็นเหยื่อในเรื่องนี้ ประกอบด้วย การปรับปรุงอัตราโทษทางกฎหมายเกี่ยวกับเครื่องสำอางให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน การกำกับดูแลเพื่อควบคุมคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ การบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานของต่างประเทศในการสืบสวนสอบสวน เป็นต้น


แนวทางการพัฒนาการดำเนินการของ “ศูนย์แคร์” กรมราชทัณฑ์, ปิยะวัฒน์ ปิ่นเจริญ Jan 2021

แนวทางการพัฒนาการดำเนินการของ “ศูนย์แคร์” กรมราชทัณฑ์, ปิยะวัฒน์ ปิ่นเจริญ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการทำงานของศูนย์แคร์ กรมราชทัณฑ์ วิเคราะห์สภาพปัญหาและอุปสรรคที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการ และแนวทางการพัฒนาการดำเนินการของศูนย์แคร์ กรมราชทัณฑ์ การศึกษาใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพผ่านการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับศูนย์แคร์ ซึ่งประกอบด้วย ผู้อำนวยการกองพฤตินิสัย ผู้ปฏิบัติงานศูนย์แคร์ในเรือนจำ 4 แห่ง คือ ทัณฑสถานหญิงพิษณุโลก เรือนจำกลางคลองเปรม เรือนจำกลางนครสวรรค์ และเรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร จำนวน 16 คน หน่วยงานเครือข่ายที่ปฏิบัติงานร่วมกับศูนย์แคร์ จำนวน 7 คน และผู้พ้นโทษที่ได้รับความช่วยเหลือจากศูนย์แคร์ จำนวน 5 คน ผลการศึกษาพบว่า 1) กระบวนการทำงานของศูนย์แคร์ กรมราชทัณฑ์ แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ กระบวนการก่อนปล่อยตัว กระบวนการในวันปล่อยตัว และกระบวนการภายหลังปล่อยตัว 2) ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการของศูนย์แคร์ ได้แก่ ปัญหาด้านบุคลากร ปัญหาด้านการให้ข้อมูลของผู้ต้องขัง ปัญหาด้านสังคม และปัญหาด้านข้อกฎหมาย และ 3) แนวทางการพัฒนาการดำเนินการของศูนย์แคร์ คือ การเพิ่มบุคลากรในตำแหน่งนักสังคมสงเคราะห์ในเรือนจำ/ทัณฑสถานที่ยังขาดแคลน การให้ผู้พ้นโทษที่ได้รับความช่วยเหลือจากศูนย์แคร์เข้ามาบรรยายถึงประโยชน์ที่จะได้รับในการให้ข้อมูลที่ถูกต้อง การจัดทำสื่อหรือกิจกรรมเพื่อเผยแพร่ตัวอย่างของผู้พ้นโทษที่สามารถกลับตัวได้ เพื่อให้สังคมเปลี่ยนทัศนคติ และการแก้ข้อกฎหมายเพื่อให้ผู้พ้นโทษได้มีโอกาสประกอบกิจการของตัวเองหรือได้รับการจ้างงานมากขึ้น


การรับมือของภาครัฐกับการก่อการร้ายทางไซเบอร์ในประเทศไทย, นัทธมน เพชรกล้า Jan 2021

การรับมือของภาครัฐกับการก่อการร้ายทางไซเบอร์ในประเทศไทย, นัทธมน เพชรกล้า

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

นับตั้งแต่อินเทอร์เน็ตถูกคิดค้นขึ้นได้ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในโลกไซเบอร์ ปัญหาสำคัญที่สังคมกำลังเผชิญอยู่ในขณะนี้คือการเพิ่มขึ้นของการโจมตีทางไซเบอร์ซึ่งสามารถเชื่อมโยงกับการก่อการร้ายทางไซเบอร์ แต่ละประเทศในโลกกำลังเริ่มที่จะจัดการกับข้อกังวลของการก่อการร้ายทางอินเทอร์เน็ตซึ่งเป็นวิธีการใหม่ในการบรรลุเป้าหมายทางการเมือง ประเทศไทยเป็นหนึ่งที่กำลังตื่นตระหนกและให้ความสนใจในประเด็นนี้ แต่เนื่องด้วยข้อจำกัดหลาย ๆ ประการจึงทำให้ความก้าวหน้าในการจัดการกับประเด็นนี้มีไม่มากนักเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์การก่อการร้ายทางไซเบอร์ในประเทศไทยและสถานการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นในประเทศไทยในอนาคต วิจัยนี้จะทบทวนคำจำกัดความของคำว่าการก่อการร้ายทางไซเบอร์เพื่อกำหนดทิศทางการทำนโยบาย และแผนการเตรียมการของหน่วยงานของรัฐต่าง ๆ ที่มีความเสี่ยงของการก่อการร้ายทางไซเบอร์ไปในทางที่ถูกต้อง โดยการใช้เครื่องมือวิจัยในการศึกษาเอกสารและสัมภาษณ์เชิงลึกกับเจ้าหน้าที่ที่ทำงานด้ายไซเบอร์ของแต่ละองค์กร เพื่ออธิบายสถานการณ์การก่อการร้ายทางไซเบอร์และวิธีจัดการกับมันในอนาคต ผลการศึกษาพบว่าสถานการณ์การก่อการร้ายไซเบอร์ในประเทศไทยนั้นเป็นเพียงแค่ภัยคุกคามทางไซเบอร์เท่านั้น แต่ถึงอย่างไรก็ตามหน่วยงานภาครัฐของไทยก็มีศักยภาพในเรื่องของการออกกฎหมาย การใช้งบประมาณ และการเข้าถึงทางเทคโนโลยีอย่างปลอดภัยสำหรับประชาชน หากพิจารณาไปยังจุดอ่อนพบว่าประเทศไทยยังต้องมีการปรับปรุงในเรื่องของการบังคับใช้กฎหมาย ข้อบกพร่องทางเทคโนโลยี และจำนวนบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ เพื่อลดจุดอ่อนที่กล่าวมา รัฐบาลจำเป็นต้องสร้างสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการกระทำความผิดทางไซเบอร์ สร้างช่องทางทางอินเทอร์เน็ตใหม่ โดยที่รัฐสามารถควบคุมช่องทางทางไซเบอร์ได้ เพิ่มหลักสูตรความมั่นคงไซเบอร์ในโรงเรียนและมหาวิทยาลัย สร้างเครือข่ายสำรองกับประเทศอื่น ๆ หรือกับภาคเอกชนอื่น ๆ เพื่อรองรับการโจมตี


การนำกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์มาใช้ในศาลเยาวชนและครอบครัว : ศึกษาการพัฒนามาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาชั้นหลังฟ้องคดี, อุดม ลาภิเศษพันธุ์ Jan 2021

การนำกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์มาใช้ในศาลเยาวชนและครอบครัว : ศึกษาการพัฒนามาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาชั้นหลังฟ้องคดี, อุดม ลาภิเศษพันธุ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยเรื่อง การนำกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์มาใช้ในศาลเยาวชนและครอบครัว : ศึกษาการพัฒนามาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาชั้นหลังฟ้องคดี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการนำกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์มาใช้ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาสำหรับเด็กและเยาวชนโดยศาลเยาวชนและครอบครัวผ่านการดำเนินการตามมาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาชั้นหลังฟ้องคดี ที่ได้นำแนวทางการศึกษาการนำนโยบายไปปฏิบัติมาใช้เป็นแนววิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคผ่านปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จหรือความล้มเหลวจากขั้นตอนการนำไปปฏิบัติ และศึกษาเปรียบเทียบกับกระบวนการของต่างประเทศ นำไปสู่ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการดำเนินการตามมาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาชั้นหลังฟ้องคดี เพื่อให้เกิดการพัฒนาและสามารถแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการนำไปปฏิบัติโดยศาลเยาวชนและครอบครัวได้ โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการวิจัยเอกสารที่เกี่ยวข้อง การสังเกต การอภิปรายกลุ่ม และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ให้ได้ข้อมูลเพื่อนำมาวิเคราะห์แบบอุปนัย สร้างข้อสรุปเพื่อตอบคำถามการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า การดำเนินการตามมาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาชั้นหลังฟ้องคดี เป็นทางเลือกหนึ่งแทนกระบวนการทางตุลาการปกติ ซึ่งประยุกต์มาจากงานยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ที่ผู้กระทำสำนึกผิดเข้าสู่กระบวนการของการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายผ่านการพูดคุย ให้ได้ผลเชิงสมานฉันท์ที่ผู้เสียหายได้รับการชดเชยเยียวยา และผู้กระทำผิดได้แก้ไขบำบัดฟื้นฟูเพื่อกลับคืนสู่สังคมด้วยดี ซึ่งพบปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติโดยศาลเยาวชนและครอบครัว 5 ประการ คือ ด้านกฎหมาย ด้านคุณภาพและความพอเพียงของทรัพยากร ด้านลักษณะหน่วยงานผู้ปฏิบัติ ด้านการสื่อสารและควบคุมดูแล และด้านสภาพแวดล้อมหรือบริบท โดยสมควรปรับปรุงกฎหมาย จัดสรรทรัพยากร เพิ่มเติมหน่วยงานในองค์กรของผู้นำนโยบายไปปฏิบัติ และติดตามควบคุมดูแล เพื่อแก้ไขบำบัดฟื้นฟูเยาวชนอย่างสมดุลกับการชดเชยเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากอาชญากรรมอย่างเหมาะสมกับบริบทของสังคม


National, Military, And College Reports On Prosecution Of Sexual Assaults And Victims’ Rights: Is The Military Actually Safer Than Civilian Society?, David A. Schlueter, Lisa M. Schenck Jan 2021

National, Military, And College Reports On Prosecution Of Sexual Assaults And Victims’ Rights: Is The Military Actually Safer Than Civilian Society?, David A. Schlueter, Lisa M. Schenck

Faculty Articles

No abstract provided.


Taking Charge Of Court-Martial Charges: The Important Role Of The Commander In The American Military Justice System, David A. Schlueter, Lisa M. Schenck Jan 2021

Taking Charge Of Court-Martial Charges: The Important Role Of The Commander In The American Military Justice System, David A. Schlueter, Lisa M. Schenck

Faculty Articles

No abstract provided.


Testing Privilege: Coaching Bar Takers Towards "Minimum Competency" During The 2020 Pandemic, Afton Cavanaugh Jan 2021

Testing Privilege: Coaching Bar Takers Towards "Minimum Competency" During The 2020 Pandemic, Afton Cavanaugh

Faculty Articles

The year 2020 was challenging for the bar exam. The longstanding argument that the bar exam is not a fair measure of the minimum competence of someone to practice law was cast into harsh relief and the truth-that the bar exam tests the privilege of its examinees-became startlingly apparent. Not only did 2020 kick off with a devastating global pandemic, but we also saw the rage against systemic racial injustice reach a boiling point just as we were charged with staying in our homes to avoid contracting COVID-19. With a pandemic raging, overt White supremacy on the rise, and racial …


The Beginning Of The End: Abolishing Capital Punishment In Virginia, Alexandra L. Klein Jan 2021

The Beginning Of The End: Abolishing Capital Punishment In Virginia, Alexandra L. Klein

Faculty Articles

When thinking about the history of capital punishment in the United States, I suspect that the average person is likely to identify Texas as the state that has played the most significant role in the death penalty. The state of Texas has killed more than five hundred people in executions since the Supreme Court approved of states' modified capital punishment schemes in 1976. By contrast, Virginia has executed 113 people since 1976.

But Virginia has played a significant role in the history of capital punishment. After all, the first recorded execution in Colonial America took place in 1608 at Jamestown, …


"Slack" In The Data Age, Shu-Yi Oei, Diane M. Ring Jan 2021

"Slack" In The Data Age, Shu-Yi Oei, Diane M. Ring

Faculty Scholarship

This Article examines how increasingly ubiquitous data and information affect the role of “slack” in the law. Slack is the informal latitude to break the law without sanction. Pockets of slack exist for various reasons, including information imperfections, enforcement resource constraints, deliberate nonenforcement of problematic laws, politics, biases, and luck. Slack is important in allowing flexibility and forbearance in the legal system, but it also risks enabling selective and uneven enforcement. Increasingly available data is now upending slack, causing it to contract and exacerbating the risks of unfair enforcement.

This Article delineates the various contexts in which slack arises and …


Life Without Parole Sentencing In North Carolina, Brandon L. Garrett, Travis M. Seale-Carlisle, Karima Modjadidi, Kristen M. Renberg Jan 2021

Life Without Parole Sentencing In North Carolina, Brandon L. Garrett, Travis M. Seale-Carlisle, Karima Modjadidi, Kristen M. Renberg

Faculty Scholarship

What explains the puzzle of life without parole (LWOP) sentencing in the United States? In the past two decades, LWOP sentences have reached record highs, with over 50,000 prisoners serving LWOP. Yet during this same period, homicide rates have steadily declined. The U.S. Supreme Court has limited the use of juvenile LWOP in Eighth Amendment rulings. Further, death sentences have steeply declined, reaching record lows. Although research has examined drivers of incarceration patterns for certain sentences, there has been little research on LWOP imposition. To shed light on what might explain the sudden rise of LWOP, we examine characteristics of …