Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Digital Commons Network

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Journal

Social and Behavioral Sciences

Journal of Social Sciences

Keyword
Publication Year

Articles 1 - 30 of 1203

Full-Text Articles in Entire DC Network

Armageddon Averted : The Soviet Collapse 1970-2000, นิธิ เนื่องจำนงค์ Jan 2023

Armageddon Averted : The Soviet Collapse 1970-2000, นิธิ เนื่องจำนงค์

Journal of Social Sciences

No abstract provided.


Impacts Of Technological And Social Media Surveillance On Early Childhood Teachers And Caregivers(ผลกระทบของการสอดส่องผ่านเทคโนโลยีและสื่อสังคมที่มี ต่อครูและผู้ดูแลเด็กปฐมวัย), Patrapan Tamdee, Watcharee Boonwittaya Jan 2020

Impacts Of Technological And Social Media Surveillance On Early Childhood Teachers And Caregivers(ผลกระทบของการสอดส่องผ่านเทคโนโลยีและสื่อสังคมที่มี ต่อครูและผู้ดูแลเด็กปฐมวัย), Patrapan Tamdee, Watcharee Boonwittaya

Journal of Social Sciences

This qualitative case study research aims to explore the work context under technological and social media control and also the impacts on early childhood teachers and caregivers. The data was collected from 41 early childhood teachers and caregivers in Bangkok and Chiang Mai province by using purposive sampling technique. In-depth interview and non-participant observation methods were used. The study reveals that early childhood teachers and caregivers had to work under the control of instruction media technology, work monitoring equipments, communication technology via applications on smart phones and communication via online social media. This work context leads to indistinguishability between working …


Tourism Development In A Secondary Province: Understanding The Inter-Relations Between Social Institutions Within The Tourism System Of Amnat Charoen(การพัฒนาการท่องเที่ยวในจังหวัดเมืองรอง: การทำความ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันทางสังคมภายในระบบ การท่องเที่ยวของจังหวัดอำนาจเจริญ), Siripong Palakawong-Na-Ayudhya Jan 2020

Tourism Development In A Secondary Province: Understanding The Inter-Relations Between Social Institutions Within The Tourism System Of Amnat Charoen(การพัฒนาการท่องเที่ยวในจังหวัดเมืองรอง: การทำความ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันทางสังคมภายในระบบ การท่องเที่ยวของจังหวัดอำนาจเจริญ), Siripong Palakawong-Na-Ayudhya

Journal of Social Sciences

This qualitative research aimed to study perceptions and opinions about tourism development and on the relationships between social institutions in the tourism system in Amnat Charoen province, Northeast Thailand. The research used in-depth interviews with key informants directly related to tourism in this province, and also focus group discussions among key informants, both directly and indirectly involved in tourism. The results showed that the key informants were receptive to the government's policy of promoting tourism in secondary provinces and wanted to make their province a well-known tourist destination. However, they rather differed their views about the goal and means of …


Universal Social Protection: A Rights - Based Approach To Basic Income Support(การคุ้มครองทางสังคมถ้วนหน้า: แนวทางการวิเคราะห์ เน้นสิทธิมนุษยชนสู่การสนับสนุนรายได้พื้นฐาน), Kritsada Theerakosonphong Jan 2020

Universal Social Protection: A Rights - Based Approach To Basic Income Support(การคุ้มครองทางสังคมถ้วนหน้า: แนวทางการวิเคราะห์ เน้นสิทธิมนุษยชนสู่การสนับสนุนรายได้พื้นฐาน), Kritsada Theerakosonphong

Journal of Social Sciences

This article examines the concept of basic income, its policy application in certain countries and the associated controversies in the midst of neo-liberalism. It employs a rights-based approach in examining the social protection system, seeing universal basic income as a socio-economic policy appropriate to all citizens and constituting the floor of social protection in line with the proposal made by the International Labour Organization (ILO). It argues that, in fact, in allocating benefits to target populations, attention should be paid to the provision of money and benefits without conditions. In sum, in the future, basic income needs to be considered …


Democratic Festivities During The Elections Of "Lok Sabha" Members Of Parliament, India 2019(เทศกาลแห่งประชาธิปไตยในการเลือกตั้งสมาชิก "โลกสภา" อินเดีย ค.ศ. 2019), Aphirat Kamwang Jan 2020

Democratic Festivities During The Elections Of "Lok Sabha" Members Of Parliament, India 2019(เทศกาลแห่งประชาธิปไตยในการเลือกตั้งสมาชิก "โลกสภา" อินเดีย ค.ศ. 2019), Aphirat Kamwang

Journal of Social Sciences

This article examines the surge of political activities surrounding the 17th general elections in 2019 for the Indian lower House of Parliament or "Lok Sabha", in which there were 900 million voters, using data collected from Indian government organizations and online news media. It focuses on important activities undertaken by political parties and their leaders, and also their votebanks, alliances and contested seats. The study revealed a political orientation positive towards the Bharatiya Janata Party (BJP) and Narendra Modi's return as Prime Minister for a second term to further his socio-economic policies in accordance with long-term nationalistic ideals. On the …


Book Review / บทวิจารณ์หนังสือ, นรุตม์ เจริญศรี Jan 2020

Book Review / บทวิจารณ์หนังสือ, นรุตม์ เจริญศรี

Journal of Social Sciences

No abstract provided.


The Defense Of State's Role In Public Policy(รัฐยังต้องมีบทบาทสำคัญในนโยบายสาธารณะ), Pisanu Sangiampongsa Jan 2020

The Defense Of State's Role In Public Policy(รัฐยังต้องมีบทบาทสำคัญในนโยบายสาธารณะ), Pisanu Sangiampongsa

Journal of Social Sciences

Criticisms of the state's role relate to many of its aspects - the continuing expansion of the scope of its responsibilities; its encroachment on people's lives and freedoms through its making of public policy, and its inefficiency of operation, as compared to the private sector. The origin of the state's role and its various types that led to a varying extent of intervention in society are delineated. Economic and political rationales for the state are discussed, arguing for its significance in public life and that the nonexistence of state is implausible. The state's roles in various kinds of public policy, …


A Criminological Synthesis Of The Crime Of Genocide(การสังเคราะห์ทางอาชญาวิทยาของอาชญากรรมการฆ่า ล้างเผ่าพันธุ์), Sanhawan Srisod Jan 2020

A Criminological Synthesis Of The Crime Of Genocide(การสังเคราะห์ทางอาชญาวิทยาของอาชญากรรมการฆ่า ล้างเผ่าพันธุ์), Sanhawan Srisod

Journal of Social Sciences

Thecrimeof genocide,or the"crimeofallcrimes", isoftenanalysed throughthelensof law. However, social scientists have argued that legal explanations and descriptions of the crime of genocidearetoolimited inanalysis. Criminology - asasociological discipline dedicated tostudying variouscrimesand toseeking explanations behind therootsof thesecrimes - can providesubstantial guidance which could be employed to deconstruct, analyse and understand the crime of genocide. This article thus synthesizes criminological theories that have been employed to study the crime of genocide, toshow how using thelensofcriminology instead of law could improveourunderstanding about thecrimeof genocide. Whilethereisnouniversallyaccepted criminological theory tounpack thiscrime, thestudies do contribute greatly to our understanding of the causes and patterns of genocide. Findings from …


Islamophobia As Represented By Thai Buddhist Organizations(โรคเกลียดกลัวอิสลามที่ถูกนำเสนอโดยองค์กรชาวพุทธไทย), Jesada Buaban Jan 2020

Islamophobia As Represented By Thai Buddhist Organizations(โรคเกลียดกลัวอิสลามที่ถูกนำเสนอโดยองค์กรชาวพุทธไทย), Jesada Buaban

Journal of Social Sciences

Scholarly works on Islamophobia in Thailand always focus on the state's marginalization of Islam in Thai historiography and ultimately makes Muslims become strangers. I argue that the negative labeling of Islam has not only been adopted by the Thai state to support its militarization in the three southern provinces, but is also reproduced by conservative Buddhists to seek supports from the governmentand Buddhist followersthemselves.Therefore, IslamophobiainThailand cannot be understood without scrutinizing Buddhist groups who reproduce hatred and anti-Islam campaigns. This phenomenon occurs under the condition that the Thai state fails to promote secularism. While the government chooses to assimilate and satisfy …


Approaches For Developing Thai Diplomats To Become World Class(แนวทางการพัฒนานักการทูตไทยสู่มาตรฐานสากล), Suwanee Auephunsirikul, Suebsakul Narintarangkul Na Ayudhaya Jan 2020

Approaches For Developing Thai Diplomats To Become World Class(แนวทางการพัฒนานักการทูตไทยสู่มาตรฐานสากล), Suwanee Auephunsirikul, Suebsakul Narintarangkul Na Ayudhaya

Journal of Social Sciences

The purposesof thisarticle weretostudythecurrentstateand desired stateof the development of diplomats' competencies and to propose approaches for training and development of diplomats' competencies to become world class. This study employed a mixed method research design. From a total population 836 diplomats, 240 samples were selected by using stratified random sampling. The research instruments used for quantitative data were a questionnaire and an evaluation form to assess appropriateness and feasibility. Qualitative data were collected by interviewing according to aschedule. The findings on the current state of the training and development of diplomats' competencies, werethaton-the-job training and blended learning models wereata moderatelevel, whileoff-the-job …


Post-Orientalism On The Thai-Lao Border From 1954 To 2019(สภาวะหลังบูรพคดีศึกษานิยมในการตีความชายแดนไทยลาว จากปี ค.ศ.1954 - 2019), Thanachate Wisaijorn Jan 2020

Post-Orientalism On The Thai-Lao Border From 1954 To 2019(สภาวะหลังบูรพคดีศึกษานิยมในการตีความชายแดนไทยลาว จากปี ค.ศ.1954 - 2019), Thanachate Wisaijorn

Journal of Social Sciences

This article explores how various Orientalist perspectives and their eventual hybridisation haveshaped differentconceptualisationsofspacealong theThai-Lao border. Inthiscase, theoriginal Orientalist spatial conceptualisation of borders was passed on from French during the colonial days to local academia and state practitioners along the Mekong basins. It held that the western spatial conceptualisation was objective and superior to others. It privileged the assumption that space and people should be separated according to their own state. Also, such conceptualisation was used in nationalistic policy formulation on space management by the states. However, such spatial conceptualisation became hybridised when the Westphalian border was embraced by the local …


Local Administrative Organization's Success In Urban Environmentally Sustainable Management: Lessons From Kalasin Municipality(ความสำเร็จขององค์กรปกครองท้องถิ่นในการจัดการ สิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน: บทเรียนจากเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์), Alongkot Sarakarn Jan 2020

Local Administrative Organization's Success In Urban Environmentally Sustainable Management: Lessons From Kalasin Municipality(ความสำเร็จขององค์กรปกครองท้องถิ่นในการจัดการ สิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน: บทเรียนจากเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์), Alongkot Sarakarn

Journal of Social Sciences

This article has three main objectives: 1) to present the notable lessons in environmental management gained from the case of Kalasin Municipality 2) to demonstrate the pattern, methods and results of the management 3) to elaborate on the key success factors in environmental managementof Kalasin Municipality.Thestudyfound that the project wasverynoteworthy,asreflected in its receiving the ASEAN Environmentally Sustainable Cities Award in 2017 for three projects: sustaining urban green space project, green space along pathways project, and the solid waste management project.Theoutcomesof the projects led to more greenspace beneficial tohealthand living and alsocontributed to betterair qualityand hygienesolid waste managementhygienically. Kalasin Municipality's project …


The Effect Of Total Factor Productivity On Household Income Inequality: A Dynamic Computable General Equilibrium Analysis Of Thailand(ผลกระทบจากผลิตภาพปัจจัยการผลิตรวมต่อความเหลื่อมล้ำ ทางรายได้ของครัวเรือนโดยแบบจำลองดุลยภาพทั่วไปเชิงพลวัต กรณีศึกษาประเทศไทย), Nara Panprayad Jan 2020

The Effect Of Total Factor Productivity On Household Income Inequality: A Dynamic Computable General Equilibrium Analysis Of Thailand(ผลกระทบจากผลิตภาพปัจจัยการผลิตรวมต่อความเหลื่อมล้ำ ทางรายได้ของครัวเรือนโดยแบบจำลองดุลยภาพทั่วไปเชิงพลวัต กรณีศึกษาประเทศไทย), Nara Panprayad

Journal of Social Sciences

This study investigates an economic impact of total production factor productivity (TFP) on household income inequality under the dynamic computable general equilibrium model (DCGE). The study reveals that a 5% increase in TFP in all production sectors will result in an increase in real gross domestic product by 5% in the short run and by 6.11% in the long run. Not surprisingly, such continual increase confirms the stylized fact that TFP stimulates gross output value and therefore accrueshousehold incomes inall productionsectors. Nonetheless,TFP hasa detrimentaleffectonincomeinequalityinall productionsectors, both in the medium and long terms. This is because the household income tax rate …


Financialization And Everyday International Political Economy: Financial Inclusion(ทุนนิยมธุรกรรมการเงินและเศรษฐกิจการเมือง ระหว่างประเทศของชีวิตประจำวัน: การเข้าถึงการเงินของคนจน), Kalaya Chareonying Jan 2020

Financialization And Everyday International Political Economy: Financial Inclusion(ทุนนิยมธุรกรรมการเงินและเศรษฐกิจการเมือง ระหว่างประเทศของชีวิตประจำวัน: การเข้าถึงการเงินของคนจน), Kalaya Chareonying

Journal of Social Sciences

This paper focuses on how financialization has permeated the everyday lives of ordinary people, particularly poor people in the global South through 'f inancial inclusion'. The conceptual framework of this paper bridges the concept of financialization with Everyday International Political Economy to study financial inclusion. It argues that financial inclusion is an economic development project where the state is an active agent in facilitating and mobilizing global financial corporations and international organizations, so that the poor embrace and adopt financialization and its financial logic. The financial inclusion project shapes and constructs the identitiesp of the poor to become financial subjects …


Green Criminology And Wildlife Traff Icking In Thailand(อาชญาวิทยาสิ่งแวดล้อมกับการลักลอบค้าสัตว์ป่า ที่เกิดขึ้นในไทย), Nanrapat Chaiakaraphong Jan 2020

Green Criminology And Wildlife Traff Icking In Thailand(อาชญาวิทยาสิ่งแวดล้อมกับการลักลอบค้าสัตว์ป่า ที่เกิดขึ้นในไทย), Nanrapat Chaiakaraphong

Journal of Social Sciences

Green Criminology is a concept developed by Michael Lynch in 1997. At that time the natural environment and resources in the world were being threatened heavily by humans. Green Criminology sought to assess the harm caused by environmental offences so as to come up with solutions for humans, wild animals, the environment and the ecosystem. Importantly, wildlife trafficking in Thailand has become a crime that damages the country. So, this study aimed to investigate whether Green Criminology could be applied to explain the wildlife trafficking situation in Thailand, and how? Documentary research and in-depth interviews of key informants who were …


People's Liberation Army Reforms: Implications For Xi's Leadership(การปฏิรูปกองทัพปลดแอกประชาชน: นัยต่อความเป็นผู้นำ ของสีจิ้นผิง), Kittipos Phuttivanich Jan 2020

People's Liberation Army Reforms: Implications For Xi's Leadership(การปฏิรูปกองทัพปลดแอกประชาชน: นัยต่อความเป็นผู้นำ ของสีจิ้นผิง), Kittipos Phuttivanich

Journal of Social Sciences

This paper argues that the People's Liberation Army reform under Xi Jinping contributes to the new power concentration of Chinese leadership, which is significantly related to the elimination of the Chinese presidential term limits in March 2018. The paper points out that 1) the president's position has become important in Chinese politics only since the late Deng Xiaoping's era with the attempt to institutionalize Chinese leadership; 2) there were serious problems in the relations between Chinese Communist Party (CCP) and the People's Liberation Army (PLA) especially during Jiang Zemin's and Hu Jintao's era, which damaged Mao's principle of "party commands …


Toward On Application Of Suff Iciency Economy Philosophy To Members Of The Thai Urban Middle Classes And Above For Sustainable Human Security(แนวทางการดำเนินชีวิตของชนชั้นกลางขึ้นไปในชุมชนเมือง ที่สอดคล้องกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ความมั่นคง ของมนุษย์ที่ยั่งยืน), Nareenoot Damrongchai Jan 2020

Toward On Application Of Suff Iciency Economy Philosophy To Members Of The Thai Urban Middle Classes And Above For Sustainable Human Security(แนวทางการดำเนินชีวิตของชนชั้นกลางขึ้นไปในชุมชนเมือง ที่สอดคล้องกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ความมั่นคง ของมนุษย์ที่ยั่งยืน), Nareenoot Damrongchai

Journal of Social Sciences

Currently, there is no clear direction or guideline for members of the Thai urban middle classes and above how they could live their lives according to the concept of Sufficiency Economy. In order to contribute to the development of such a guideline, this article attempts to establish the relationships between "the philosophy of Sufficiency Economy", "urban community", "middle class" and "Human Security" by analyzing related documents. Four critical issues were identified for further study: inequality, crime, health and environmental problems. The study found that capitalism and consumerism influence the pattern of life of members of the urban middle classes and …


Retirement Extension For Public Service Personnel Policy: An Analytical Study Of Policy Implementation In Thailand(การศึกษาผลการนำ นโยบายการส่งเสริมบุคลากรของภาครัฐ หลังเกษียณอายุที่มีศักยภาพในการทำ ประโยชน์ให้ระบบ ราชการไทยไปปฏิบัติ), Chayanut Chaturachinda Jan 2020

Retirement Extension For Public Service Personnel Policy: An Analytical Study Of Policy Implementation In Thailand(การศึกษาผลการนำ นโยบายการส่งเสริมบุคลากรของภาครัฐ หลังเกษียณอายุที่มีศักยภาพในการทำ ประโยชน์ให้ระบบ ราชการไทยไปปฏิบัติ), Chayanut Chaturachinda

Journal of Social Sciences

This study was a situational investigation into the retirement extension for public service personnel policyinThailand.Thestudyaimed toanalyzethefactorscontributing to policysuccessor failure so as to make recommendations for greater effectiveness. Qualitative research methods, involving documentary research and in-depth interviews with civil servants generally and those in higher education institutes. The findings were that over the years 2009-2018 there were not many career extensions after retirement. Key factors affecting success and failure were lack of policy clarity, wherever it was to take care of older persons in an aged society or to manage shortages of staff inthe government bureaucracy.This lackofclarity led to different kindsofunderstanding …


บทบรรณาธิการ, บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ Jan 2020

บทบรรณาธิการ, บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ

Journal of Social Sciences

No abstract provided.


บทบรรณาธิการ, บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ Jan 2020

บทบรรณาธิการ, บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ

Journal of Social Sciences

No abstract provided.


บทบรรณาธิการ, บรรณาธิการ Jan 2019

บทบรรณาธิการ, บรรณาธิการ

Journal of Social Sciences

No abstract provided.


พลวัตการเปลี่ยนแปลง การถดถอย และการฟื้นตัวของขบวนการต่อต้านทักษิณ, กนกรัตน์ เลิศชูสกุล Jan 2019

พลวัตการเปลี่ยนแปลง การถดถอย และการฟื้นตัวของขบวนการต่อต้านทักษิณ, กนกรัตน์ เลิศชูสกุล

Journal of Social Sciences

บทความชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยมุ่งวิเคราะห์พลวัตการเปลี่ยนแปลงภายในขบวนการต่อต้านทักษิณ โดยเฉพาะการการเสื่อมถอยของขบวนการภายใต้การนำของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย(พธม.) และการกลับมาประสบความสำเร็จภายใต้การนำของคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (กปปส.) ผ่านการตอบคำถาม 2 ข้อ หนึ่ง อะไรคือเงื่อนไข และพัฒนาการของความขัดแย้งและการถดถอยของขบวนการต่อต้านทักษิณภายใต้การนำของ พธม. สอง อะไรคือปัจจัยที่สำคัญในการฟื้นฟูและประสบความสำเร็จของขบวนการต่อต้านทักษิณอีกครั้งภายใต้การนำของ กปปส. ในการตอบคำถามสำคัญทั้ง 2 ทั้งนี้บทความวิจัยชิ้นนี้เสนอว่า ปัญหาความขัดแย้ง 3 มิติส่งผลให้เกิดปัญหาความแตกแยกและการถดถอยของขบวนการเคลื่อนไหวต่อต้านทักษิณภายใต้การนำการเคลื่อนไหวของ พธม. หนึ่ง ความขัดแย้งภายในขบวนการฯ ระหว่างแกนนำ พธม. กลุ่มเสรีนิยมและกลุ่มอนุรักษ์นิยมสุดขั้ว สอง ความขัดแย้งระหว่างแกนนำและมวลชนของทั้ง พธม. กับ พรรคประชาธิปัตย์สาม ความไม่ลงรอยกันของกลุ่มต่างๆ ในขบวนการต่อการจัดตั้ง "พรรคการเมืองใหม่" ในขณะที่การฟื้นตัวขึ้นอีกครั้งของขบวนการภายใต้การนำของ กปปส. เป็นผลจากเงื่อนไขและปัจจัย 6 ประการ ได้แก่การยุติบทบาทของ พธม. การเข้าร่วมขบวนการฯ อย่างเต็มตัวของแกนนำจากพรรคประชาธิปัตย์ความไม่พอใจของสาธารณะต่อการผลักดัน "พระราชบัญญัตินิรโทษกรรม" ของรัฐบาลยิ่งลักษณ์การเคลื่อนไหวภายใต้โครงสร้างองค์กรการเคลื่อนไหวแนวใหม่ที่มีลักษณะ "หลวมและรองรับความหลากหลาย" การใช้แนวทาง "ชูประเด็นข้อเรียกร้องที่หลากหลาย" และการสร้างขบวนการทางการเมืองให้ดูไม่เป็นการเมือง ในการดึงดูดคนกรุงเทพฯ และชนชั้นกลางรุ่นใหม่ให้เข้าร่วมได้


The Enactment Of Thailand's Inheritance Tax Law 2015 : A Policy Process Analysis, Pisanu Sangiampongsa Jan 2019

The Enactment Of Thailand's Inheritance Tax Law 2015 : A Policy Process Analysis, Pisanu Sangiampongsa

Journal of Social Sciences

For decades, the inheritance tax issue had never materialized into law in Thailand. It was only soon after the 2014 military coup by the National Council for Peace and Order that Prayut Chan-o-cha Government initiated the Inheritance Tax Bill. It became law approximately one year later. This present research study used Kingdon's (2003) Multiple Streams Model, and the related literature, along with empirical information from legislative documents and interviews with decisionmakers to explain theoretically and empirically the revitalization of the effort under the Prayut Government. Kingdon's Multiple Streams framework posits that confluence of three factors or Streams determines the prominence …


การท้าทายวาทกรรมความเป็นสากลของการบูรณาการประเด็นเพศภาวะเข้าสู่กระแสหลักขององค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของสหรัฐฯ, ติณณภพจ์ สินสมบูรณ์ทอง Jan 2019

การท้าทายวาทกรรมความเป็นสากลของการบูรณาการประเด็นเพศภาวะเข้าสู่กระแสหลักขององค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของสหรัฐฯ, ติณณภพจ์ สินสมบูรณ์ทอง

Journal of Social Sciences

บทความนี้มุ่งตั้งคำถามและท้าทายวาทกรรมความเป็นสากลของ "การบูรณาการประเด็นเพศภาวะเข้าสู่กระแสหลัก" (gender mainstreaming) อันเป็นการปฏิบัติและนโยบายที่สำคัญในการบรรลุความเท่าเทียมทางเพศภาวะขององค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของสหรัฐฯ (USAID) โดยใช้ทฤษฎี"ลัคนาภาวะ" หรือ "สภาวะทับซ้อน" (intersectionality) ในการบ่งชี้ว่า วาทกรรมดังกล่าวมิได้มีความเป็นสากล เนื่องด้วยปัจจัยที่สำคัญ 3 ประการ อันได้แก่ ประการแรก การให้ความสำคัญเพียงแค่ "เพศภาวะ" โดยลำพังอาจไม่เพียงพอต่อการทำความเข้าใจและแก้ไขปัญหาความไม่เท่าเทียมทางเพศภาวะในแต่ละสังคม เพราะเพศภาวะมิอาจแยกขาดจากคุณลักษณะทางสังคมอื่น ๆ ได้ประการที่สอง คุณลักษณะทางสังคมหรือหน่วยเชิงอัตลักษณ์ทางสังคมที่เรียกว่า "เพศภาวะ" ซึ่งเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของวาทกรรมดังกล่าวไร้ซึ่งเอกภาพ และประการที่สาม"เพศภาวะ" มิใช่คุณลักษณะทางสังคมที่มีความเป็นสากล ฉะนั้น "การบูรณาการประเด็นเพศภาวะเข้าสู่กระแสหลัก" จึงควรเปลี่ยนแปลงแนวทางเดิมไปสู่ "การบูรณาการประเด็นเพศภาวะที่ทับซ้อนเข้าสู่กระแสหลัก" (intersectional gender mainstreaming)


ก้าวแรกของจีนในลาตินอเมริกา : การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับคิวบาและจุดเริ่มต้นของความขัดแย้งในทศวรรษ 1960, สิทธิพล เครือรัฐติกาล Jan 2019

ก้าวแรกของจีนในลาตินอเมริกา : การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับคิวบาและจุดเริ่มต้นของความขัดแย้งในทศวรรษ 1960, สิทธิพล เครือรัฐติกาล

Journal of Social Sciences

บทความวิจัยนี้มุ่งศึกษาปัจจัยที่ทำให้จีนสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับคิวบาเมื่อ ค.ศ.1960 และปัจจัยที่ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างสองฝ่ายเสื่อมลงอย่างรวดเร็วภายในเวลาไม่กี่ปีโดยอาศัยข้อมูลจากสิ่งพิมพ์ของทางการจีนและบันทึกความทรงจำของนักการทูตจีนที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า แม้เหมาเจ๋อตงจะไม่แน่ใจเกี่ยวกับการปฏิวัติของ ฟิเดล คาสโตร เมื่อ ค.ศ.1959 ว่าจะนำคิวบาไปสู่เส้นทางของลัทธิสังคมนิยมหรือไม่ แต่อย่างน้อยจุดยืนของคาสโตรที่ต่อต้านอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาทำให้เหมายอมมีความสัมพันธ์กับรัฐบาลปฏิวัติของคิวบาเพื่อให้จีนมีฐานที่มั่นทางการทูตแห่งแรกในซีกโลกตะวันตก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในลาตินอเมริกาซึ่งเปรียบเสมือนสนามหลังบ้านของสหรัฐฯ อย่างไรก็ตาม ความขัดแย้งระหว่างจีนกับสหภาพโซเวียต ประกอบกับการเมืองภายในของจีนที่รุนแรงขึ้นทำให้เมื่อถึงกลางทศวรรษ 1960 คาสโตรเลือกเข้าข้างสหภาพโซเวียต จีนจึงยุติความสัมพันธ์ในระดับพรรคต่อพรรคกับคิวบาเมื่อ ค.ศ.1966


เรื่องเล่าคนเคยอ้วน : การศึกษาเรือนร่างในสังคมนิยมความผอม, รัชพล แย้มกลีบ Jan 2019

เรื่องเล่าคนเคยอ้วน : การศึกษาเรือนร่างในสังคมนิยมความผอม, รัชพล แย้มกลีบ

Journal of Social Sciences

บทความนี้มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อศึกษาและพิจารณาเรือนร่างในสังคมปัจจุบันผ่านประสบการณ์ของ "แมน" ชายหนุ่มที่สามารถเปลี่ยนเรือนร่าง ลดน้ำหนักอย่างสุดขั้วจากร่างอ้วน 140 กิโลกรัมที่สังคมมองว่าเป็นร่างที่ไม่เหมาะสม สู่เรือนร่างขนาด 75 กิโลกรัมที่สังคมมองว่าเหมาะสมกว่าโดยใช้ระยะเวลาเพียงไม่ถึงหนึ่งปีผ่านการเล่าเรื่องราวในชีวิตซึ่งเป็นวิธีศึกษาหนึ่งในงานวิจัยเชิงคุณภาพทางสังคมวิทยา โดยอาศัยแนวคิดของ มิแช็ล ฟูโกต์แอนโธนีกิดเดนส์และ จูดิธ บัตเลอร์มาใช้เป็นแนวทางในการอธิบายและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นผู้กระทำทางสังคมและโครงสร้างทางสังคม ยิ่งไปกว่านั้นผลการศึกษายังชี้ให้เห็นว่าเรือนร่างมิได้เป็นเพียงวัตถุที่มีอยู่ตามธรรมชาติหรือเป็นเพียงสิ่งที่ถูกประกอบสร้างจากสังคมเพียงแค่อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น หากแต่เรือนร่างเป็นผลที่เกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างทั้งธรรมชาติและสังคมอย่างเป็นกระบวนการ


คนชั้นกลางกรุงเทพฯ ผู้ไม่ยึดมั่นในระบอบ ประชาธิปไตยกับทฤษฎีการทำให้เป็นสมัยใหม่ (Modernization Theory), อภิชาต สถิตนิรามัย Jan 2019

คนชั้นกลางกรุงเทพฯ ผู้ไม่ยึดมั่นในระบอบ ประชาธิปไตยกับทฤษฎีการทำให้เป็นสมัยใหม่ (Modernization Theory), อภิชาต สถิตนิรามัย

Journal of Social Sciences

บทความนี้มีเป้าหมายสองประการคือ หนึ่ง ศึกษาชนชั้นกลางกรุงเทพฯ ที่เป็นผู้สนับสนุนขบวนการพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) และขบวนการคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงปฏิรูปประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (กปปส.) นั้นคือใคร มีลักษณะทางเศรษฐกิจสังคมอย่างไร และพวกเขามีทัศนะหรือค่านิยมที่ยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยหรือไม่ อย่างไร สอง ปรับใช้ทฤษฎีการทำให้เป็นสมัยใหม่ (modernization theory) ทำความเข้าใจว่า เหตุใดพวกเขาจึงไม่ยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตย เพื่อโต้แย้งว่าแนวคิดในสายนี้ หากตีความใหม่ ยังคงมีประโยชน์ในการเข้าใจบทบาทของชนชั้นกลางกับการเปลี่ยน (ไม่) ผ่านสู่ระบอบประชาธิปไตย


ความคลุมเครือของแนวคิดการแบ่งแยกอำนาจใน งานศึกษาการละเมิดอำนาจรัฐสภา: กรณีศึกษางานวิจัย เรื่อง "แนวคิดและหลักการว่าด้วยการละเมิด อำนาจรัฐสภา" ของ พรสันต์ เลี้ยงบุญเลิศชัย, ชาย ไชยชิต Jan 2019

ความคลุมเครือของแนวคิดการแบ่งแยกอำนาจใน งานศึกษาการละเมิดอำนาจรัฐสภา: กรณีศึกษางานวิจัย เรื่อง "แนวคิดและหลักการว่าด้วยการละเมิด อำนาจรัฐสภา" ของ พรสันต์ เลี้ยงบุญเลิศชัย, ชาย ไชยชิต

Journal of Social Sciences

ทฤษฎีการแบ่งแยกอำนาจระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ เป็นรากฐานของแนวคิดรัฐธรรมนูญนิยมสมัยใหม่ แม้จะเป็นแนวคิดทางรัฐธรรมนูญที่พัฒนาขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ18 แต่หลักการแบ่งแยกอำนาจก็ยังคงถูกยกมาอ้างในข้อโต้แย้งและวาทกรรมทางการเมืองในปัจจุบัน งานวิจัยเรื่อง แนวคิดและหลักการว่าด้วยการละเมิดอำนาจรัฐสภา เป็นตัวอย่างของความพยายามนำหลักการแบ่งแยกอำนาจมาปรับใช้ศึกษาการเมืองในมิติรัฐธรรมนูญของไทยอย่างเป็นระบบ แต่คำอธิบายหลักการแบ่งแยกอำนาจที่ปรากฏในงานวิจัยดังกล่าวสะท้อนถึงความเข้าใจที่คลุมเครือ ขาดมิติความซับซ้อนและพลวัตของทฤษฎี เนื่องจากปัจจุบันตัวแบบการแบ่งแยกองค์กรที่ทำหน้าที่ต่างกัน เพื่อให้แต่ละฝ่ายเป็นผู้ใช้อำนาจแต่ละด้านอย่างเป็นเอกเทศจากกันตามแนวคิดของมองเตสกิเออร์นั้น ถูกตั้งข้อกังขามากขึ้นถึงความสอดรับกับบริบทที่เป็นจริง


อิสรภาพจากมโนทัศน์ทายาทความรุนแรง, นญา พราหมหันต์, ภาวิกา ศรีรัตนบัลล์ Jan 2019

อิสรภาพจากมโนทัศน์ทายาทความรุนแรง, นญา พราหมหันต์, ภาวิกา ศรีรัตนบัลล์

Journal of Social Sciences

มนุษย์เกิดมาพร้อมกับ "เจตจำนงเสรี" (free will) กล่าวคือ มนุษย์มีเสรีภาพในการตัดสินใจเลือกที่จะกระทำหรือไม่กระทำการสิ่งใดก็ได้บนเส้นทางชีวิตของตน แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีอีกหลายอย่างซึ่งถือได้ว่าอยู่เหนือความสามารถในการเลือกของมนุษย์ หนึ่งในนั้นก็คือ "จุดเริ่มต้นแห่งชีวิต" หรือเราปราศจากเสรีภาพในการเลือกสภาพครอบครัวตั้งต้นของตนได้ แต่ครอบครัวนั้นกลับเป็นสถาบันทางสังคมที่มีความสำคัญและมีอิทธิพลอย่างยิ่งต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ทั้งชีวิต หากสถาบันพื้นฐานแห่งชีวิตและสังคมทำหน้าที่บกพร่องหรือรุนแรง แน่นอนว่าย่อมส่งผลกระทบต่อสถาบันทางสังคมอื่นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การศึกษานี้พบว่า ทฤษฎีทางสังคมวิทยาแบบดั้งเดิมที่กล่าวถึงการสืบทอดหรือการผลิตซ้ำความรุนแรง (reproduction of violence) ถูกทำให้มีน้ำหนักลดลงด้วยอิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างและบริบททางสังคมใน "ยุคหลังสังคม" (post-societal phase) โดยบทความนี้จะสะท้อนให้เห็นว่า แท้ที่จริงแล้วมนุษย์สามารถปลดปล่อยตัวเองออกจาก "มโนทัศน์ทายาทความรุนแรง" ซึ่งถูกปลูกฝังมาจากประสบการณ์ความรุนแรงในวัยเด็กได้ ไม่ว่าผู้นั้นจะเผชิญกับสถานการณ์เยี่ยงไรก็ตาม ทั้งนี้เนื่องจากมนุษย์เสมือนผลผลิตทางสังคมซึ่งมาพร้อมกับเมล็ดพันธุ์แห่งคุณค่าที่ทรงพลัง มีศักยภาพในการเปลี่ยนแปลงตนเองและมีความสามารถในการสร้างสรรค์สังคมไปในวิถีทางที่ดีขึ้นต่อไปได้


Under Drone Attacks: Lacan And Trauma In International Politics, Chyatat Supachalasai Jan 2019

Under Drone Attacks: Lacan And Trauma In International Politics, Chyatat Supachalasai

Journal of Social Sciences

บทความชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการทางความคิดที่พยายามจะเข้าใจสถานการณ์โลกและการเมืองระหว่างประเทศผ่านมุมมองแบบการตั้งคำถามเชิงวิพากษ์ทางปรัชญาและการคิดคำนึงเกี่ยวกับปัญหา บทความประสงค์ที่จะวิเคราะห์ความรุนแรงโดยรัฐและแผลใจที่เกิดขึ้นเป็นผลลัพธ์ด้วยการเพ่งประเด็นไปยังการใช้เทคโนโลยีอากาศยานไร้คนขับ (โดรน) ในบริบทของสงครามต่อสู้กับผู้ก่อการร้าย แนวทางการวิเคราะห์อาศัยมุมมองเชิงภูมิปัญญาของ ฌาคส์ ลาก็อง นักจิตวิเคราะห์แนววิพากษ์ชาวฝรั่งเศส ความคิดสามความคิดที่สำคัญของลาก็องเพื่อการวิเคราะห์ อันได้แก่ (1) the mirror-stage (2) the master-signifier (3) the sinthome นำไปสู่การทำความเข้าใจแผลใจในอีกมุมมองหนึ่งซึ่งสัมพันธ์อยู่กับการประกอบสร้างอัตวิสัยของชาวอเมริกันและการเปลี่ยนแปรในตัวคนผู้ซึ่งได้รับความทรมานใจจากการโจมตีของอากาศยานไร้คนขับ