Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Digital Commons Network

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Other Education

Theses/Dissertations

2017

Institution
Keyword
Publication

Articles 181 - 200 of 200

Full-Text Articles in Entire DC Network

Differentiation Of Self As A Predictor Of Vicarious Trauma In Mental Health Professionals, Denise Purvis Jan 2017

Differentiation Of Self As A Predictor Of Vicarious Trauma In Mental Health Professionals, Denise Purvis

Walden Dissertations and Doctoral Studies

Mental health professionals in all settings work with clients who are affected by trauma. Traumatic events expose mental health professionals to the negative psychological and emotional impact of witnessing and listening to client stories. Vicarious trauma is the emotional consequence of this empathic engagement with clients. The purpose of this correlational study was to identify predictors of vicarious trauma in mental health professionals that had not been studied before. The theoretical framework guiding the study was the Bowen family systems theory and the construct of differentiation of self. A regression analysis was conducted with a purposive sample of 83 licensed …


Faculty Self-Efficacy Instructing In A Hybrid Learning Environment At A Career College, Donna Gosselin Gosselin Jan 2017

Faculty Self-Efficacy Instructing In A Hybrid Learning Environment At A Career College, Donna Gosselin Gosselin

Walden Dissertations and Doctoral Studies

Since the inception of the hybrid instruction model at a career college in the western United States, there has not been an exploration of faculty members' understanding of hybrid instruction. Therefore, campus administrators do not have a clear understanding of the faculty perception of teaching in a hybrid learning environment. Using Bandura's social cognitive theory, this qualitative narrative inquiry study was conducted to explore faculty self-efficacy instructing in a hybrid learning environment at the career college. A purposeful sampling method was used to select 9 faculty who have taught less than 2 hybrid learning courses and attended the college professional …


Strategies For Catalyzing Workforce Engagement In Warehouse Operations, Jeannette Jackson-Martin Jan 2017

Strategies For Catalyzing Workforce Engagement In Warehouse Operations, Jeannette Jackson-Martin

Walden Dissertations and Doctoral Studies

In 2014, approximately 30% of the global workers viewed experiences in the workplace as positive and fulfilling, which results in increased productivity in the workplace. The purpose of this multiple case study was to explore strategies that some warehouse service center managers used to engage employees to higher levels of productivity. The population comprised of 7 warehouse service center managers in 2 companies located in the Riverport area in Louisville, KY. The conceptual framework for this study encompassed Kahn's employee engagement theory. Data were collected through semistructured interviews, organizational procedure handbooks, and direct observation to prompt detailed information about participants' …


Perceptions Of Community-Based Participatory Research From Community And Academic Members, Ivonne G. Kanko Jan 2017

Perceptions Of Community-Based Participatory Research From Community And Academic Members, Ivonne G. Kanko

Walden Dissertations and Doctoral Studies

Community-based participatory research (CBPR) is an increasingly popular form of public health research. However, little is known about the application of CBPR and the levels of involvement for partners in specific phases of the partnership. This phenomenological study addressed the application of CBPR from the perspectives of 7 academic researchers and 6 community members experienced in CBPR. Arnstein's ladder of citizenship participation and the community coalition action theory provided the framework for the study. Semi-structured interviews addressed participants' levels of involvement in the CBPR process, as well as challenges, concerns, successes, and recommendations for improvement. Interview transcripts were analyzed by …


Nonprofit Leaders' Strategies In Capturing The Attention Of Committed, Large Donors, Aneatra Holland Jan 2017

Nonprofit Leaders' Strategies In Capturing The Attention Of Committed, Large Donors, Aneatra Holland

Walden Dissertations and Doctoral Studies

Few U.S. nonprofit organizations meet annual operational costs. Facing government funding cuts, U.S. nonprofit leaders have had to seek other revenue streams to remain operable and ensure that the clients they serve continue to receive support. Leaders often seek out large donors but lack strategies for successfully doing so. The purpose of this multiple case study was to explore the strategies successful nonprofit leaders have used to capture the attention of committed, large donors in Southern California. Government failure theory and independence theory constituted the conceptual framework. The purposeful sampling method consisted of 3 nonprofit agency managers who had operated …


Impact Of Interactive Homework On Reading Achievement, Amanda Leigh Hunnell Jan 2017

Impact Of Interactive Homework On Reading Achievement, Amanda Leigh Hunnell

Walden Dissertations and Doctoral Studies

Many elementary students read below grade level, resulting in an inability to meet expectations on state testing. Epstein and other researchers theorized 3 influential factors that work together to help students achieve higher levels of attainment-home, school, and community. Studies have demonstrated the effectiveness of Epstein's Teachers Involve Parents in Schoolwork interactive homework (IH) to promote parent-child communication during learning interactions at home for students in language arts in Grades 6-8; however, there is little information on the effects of IH on reading achievement for elementary students. The purpose of this quasi-experimental study was to examine the effect IH has …


Kindergarten Literacy Readiness Before And After Highscope Implementation, Chandra Kathleen Youngblood Jan 2017

Kindergarten Literacy Readiness Before And After Highscope Implementation, Chandra Kathleen Youngblood

Walden Dissertations and Doctoral Studies

Students who attended preschool in an urban Michigan district are not entering kindergarten with the necessary skills. The preschool implemented the HighScope curriculum and the effect of this curriculum on kindergarten readiness was unknown. The purpose of this causal-comparative study was to investigate the difference in kindergarten readiness scores of students who attended a preschool before and after the High Scope curriculum was implemented. The pedagogical practices of preschool and the HighScope curriculum align with Dewey and Vygotsky's theories on experiential learning which were the foundation that guided this causal comparative study. The research questions examined preschool letter identification and …


Influence Of Technology On English Language Learners' Vocabulary, Reading, And Comprehension, Catherine Elizabeth Crum Jan 2017

Influence Of Technology On English Language Learners' Vocabulary, Reading, And Comprehension, Catherine Elizabeth Crum

Walden Dissertations and Doctoral Studies

Researchers have shown that vocabulary development is a challenge for English Language Learners (ELLs) as they are less prepared to use contextual and linguistic clues to decode unfamiliar vocabulary. Beginning in the upper elementary grades, reading in content areas becomes lengthier and more complex. Technology-supported vocabulary instruction to teach social studies to ELLs is a relatively new concept in the 5th grade classroom. The purpose of this comparative study was to assess the vocabulary and reading comprehension outcomes of ELLs in the content area of 5th grade social studies when taught using technology-supported versus traditional textbook instruction. Mayer's cognitive theory …


Managing Humanitarian Relief Organizations With Limited Resources In Ghana, Eric Osei Jan 2017

Managing Humanitarian Relief Organizations With Limited Resources In Ghana, Eric Osei

Walden Dissertations and Doctoral Studies

During disaster operations in Ghana in 2015, as a result of flood and fire, there was evidence of poor coordination between the workers and victims of the NGO, as well as inappropriate use of funds, which consequently caused compounding problems for disaster victims especially the outbreak of diseases. Little, however, is known about what conditions precipitated these events that may have delayed humanitarian, non-governmental organizations' (NGOs) ability to engage in disaster relief to victims. Using Freeman's stakeholder theory as the foundation, the purpose of this case study of the 2015 fire/flood disaster in Ghana was to understand from the perspective …


How Whiteness Is Preserved: The Racialization Of Immigrants & Assimilation In Education, Hadiel Mohamed Jan 2017

How Whiteness Is Preserved: The Racialization Of Immigrants & Assimilation In Education, Hadiel Mohamed

Capstone Collection

This research aims to answer how educators can incorporate ethnic/racial identity development in the classroom for youth of color who are driven to pursue Whiteness. This quest begins by understanding Whiteness and its role within ethnic/racial identity and educational systems. The societal avoidance of discussing race furthers the perpetuation of Whiteness as the norm and removes the value of marginalized histories and voices. We can witness the preservation of Whiteness through immigration laws, the void of ethnic/racial identity exploration in schools, and the mono-cultured representation in classrooms. Therefore, this research explores assimilation and the racialization of immigrants through a macro-, …


ผลการใช้ชุดแบบฝึกตามแนวคิดของคาร์ล ออร์ฟเพื่อพัฒนาความเข้าใจทางด้านจังหวะของนักเรียนวงโยธวาทิตระดับประถมศึกษา, ฌานดนู ไล้ทอง Jan 2017

ผลการใช้ชุดแบบฝึกตามแนวคิดของคาร์ล ออร์ฟเพื่อพัฒนาความเข้าใจทางด้านจังหวะของนักเรียนวงโยธวาทิตระดับประถมศึกษา, ฌานดนู ไล้ทอง

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อนำเสนอชุดแบบฝึกตามแนวคิดของคาร์ล ออร์ฟเพื่อพัฒนาความเข้าใจทางด้านจังหวะของนักเรียนวงโยธวาทิตระดับประถมศึกษา 2) เพื่อศึกษาผลของการใช้ชุดแบบฝึกตามแนวคิดของคาร์ล ออร์ฟเพื่อพัฒนาความเข้าใจทางด้านจังหวะของนักเรียนวงโยธวาทิตระดับประถมศึกษา กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยนี้ได้แก่ นักเรียนวงโยธวาทิตระดับชั้นประถมศึกษา โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม จำนวน 25 คน ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นประถมศึกษา 4-6 เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย 1) ชุดแบบฝึกตามแนวคิดของคาร์ล ออร์ฟเพื่อพัฒนาความเข้าใจทางด้านจังหวะของนักเรียนวงโยธวาทิตระดับประถมศึกษา จำนวน 5 ชุด 2) แบบทดสอบความเข้าใจทางด้านจังหวะของนักเรียนวงโยธวาทิต ระดับประถมศึกษา 3) แบบประเมินความเข้าใจทางด้านจังหวะของนักเรียนวงโยธวาทิต ระดับประถมศึกษา การดำเนินการวิจัยประกอบด้วยการศึกษาและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง พัฒนาเป็นชุดแบบฝึกตามแนวคิดของคาร์ล ออร์ฟเพื่อพัฒนาความเข้าใจทางด้านจังหวะของนักเรียนวงโยธวาทิตระดับประถมศึกษา จากนั้นนำไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาและสถิติเชิงบรรยาย คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าที (t-test) ผลการวิจัยมีดังนี้ 1) ชุดแบบฝึกตามแนวคิดของคาร์ล ออร์ฟเพื่อพัฒนาความเข้าใจทางด้านจังหวะของนักเรียนวงโยธวาทิตระดับประถมศึกษา ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ประกอบไปด้วยแบบฝึกย่อย 5 แบบฝึก นำเสนอในรูปแบบของหนังสืออิเล็กโทรนิกบนเครื่องคอมพิวเตอร์แทบเลต 2) ผลของการใช้ชุดแบบฝึกตามแนวคิดของคาร์ล ออร์ฟเพื่อพัฒนาความเข้าใจทางด้านจังหวะของนักเรียนวงโยธวาทิตระดับประถมศึกษา พบว่าคะแนนรวมด้านความรู้ความเข้าใจหลังการใช้ชุดแบบฝึก สูงกว่าคะแนนก่อนการใช้ชุดแบบฝึกของนักเรียนแต่ละคน (M = 23.32, SD = 2.49), (M = 18.12, SD = 3.49) และเมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยด้วย t-test พบว่าคะแนนก่อนการใช้ชุดแบบฝึกและหลังการใช้ชุดแบบฝึกแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = -10.007, sig = .000)


การศึกษาต้นแบบความเป็นครูดนตรีพื้นบ้านล้านนา: กรณีศึกษาครูพรหเมศวร์ สรรพศรี, เพียงแพน สรรพศรี Jan 2017

การศึกษาต้นแบบความเป็นครูดนตรีพื้นบ้านล้านนา: กรณีศึกษาครูพรหเมศวร์ สรรพศรี, เพียงแพน สรรพศรี

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นแบบความเป็นครูดนตรีพื้นบ้านล้านนาของครูพรหเมศวร์ สรรพศรี วิธีดำเนินการวิจัยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสัมภาษณ์สำหรับครูพรหเมศวร์ สรรพศรี กลุ่มครอบครัวและเครือญาติ และกลุ่มลูกศิษย์ที่ได้รับการถ่ายทอดโดยตรง ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการศึกษางานเอกสาร และการสัมภาษณ์กลุ่มผู้ให้ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา และนำเสนอผลการวิจัยเป็นความเรียง ผลการวิจัยพบว่า ต้นแบบความเป็นครูดนตรีพื้นบ้านล้านนาของครูพรหเมศวร์ สรรพศรี ประกอบไปด้วยคุณลักษณะ 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านบุคลิกภาพ พบว่า ท่านเป็นผู้มีทักษะการเข้าสังคม เป็นผู้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ เป็นผู้มีความเป็นกัลยาณมิตร และเป็นผู้มีความใฝ่รู้ 2) ด้านคุณธรรม พบว่า ท่านเป็นผู้มีความซื่อสัตย์ เป็นผู้มีความประพฤติตนอยู่ในความดี เป็นผู้มีความอดทน และเป็นผู้สละความสุขส่วนตนเพื่อประโยชน์ส่วนรวม 3) ด้านความรู้ พบว่า ท่านสามารถจดจำเพลงและบรรเลงได้อย่างแม่นยำ สามารถแปรทำนองคล่องชำนาญ สามารถสอน ใช้ ปรับ กระบวนทัศน์แตกฉาน สามารถวิเคราะห์บริบทดนตรีพื้นบ้านล้านนาอย่างชาญเชี่ยว สามารถสร้างสรรค์ผลงานตระการผล และ สามารถประเมินผลงานดนตรีเที่ยงธรรม 4) ด้านการสอน ท่านปลูกฝังให้ศิษย์บรรเลงดนตรีล้านนาได้เสนาะโสต ปลูกฝังให้ศิษย์มีความเป็นดนตรีการ ปลูกฝังให้ศิษย์พัฒนาตนเองต่อเนื่อง ปลูกฝังให้ศิษย์มีประสบการณ์การแสดงดนตรี ปลูกฝังให้ศิษย์รู้สมรรถนะตนเอง และ ปลูกฝังให้ศิษย์มีทักษะดนตรีพื้นบ้านล้านนาที่ลุ่มลึก 5) ด้านความเป็นคนในวัฒนธรรมล้านนา พบว่า ท่านเป็นผู้ดำเนินชีวิตตามวิถีชาวล้านนา และ เป็นผู้มีความผูกพันกับขนบวัฒนธรรมดนตรีล้านนา


แนวทางการใช้แอปพลิเคชั่นดนตรีเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ดนตรีในระดับประถมศึกษา, ธณัตชัย เหลือรักษ์ Jan 2017

แนวทางการใช้แอปพลิเคชั่นดนตรีเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ดนตรีในระดับประถมศึกษา, ธณัตชัย เหลือรักษ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สำรวจการใช้สื่อการสอนในชั้นเรียนวิชาดนตรีสำหรับนักเรียนประถมศึกษา และ 2) นำเสนอแนวทางการใช้แอปพลิเคชั่นดนตรีเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ดนตรีในระดับประถมศึกษา ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาจาก 1) แนวคิดและทฤษฎีการเรียนการสอนดนตรีระดับประถมศึกษาในประเทศไทย 2) แนวคิดและทฤษฎีการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนดนตรี และ 3) การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจากแนวคิดของผู้ทรงคุณวุฒิด้านการใช้เทคโนโลยีการศึกษาและด้านการสอนดนตรีประถม วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ใช้การตีความและสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1. การใช้สื่อการสอนดนตรีแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการใช้สื่อการสอนทั่วไป นิยมใช้ เครื่องดนตรีไฟฟ้า อุปกรณ์ MIDI วีดีทัศน์ และ บทเพลงสมัยนิยม 2) ด้านการใช้สื่อมัลติมีเดีย นิยมใช้บันทึกภาพการแสดงดนตรีสด และ สื่อการสอนออนไลน์ 3) ด้านการใช้คอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือ นิยมใช้แอปพลิเคชั่นนำเสนอ อินเตอร์เนต และแอปพลิเคชั่นการศึกษา 2. แนวทางการใช้แอปพลิเคชั่นแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ 1) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดนตรีในระดับชั้นประถมศึกษา ควรคำนึงถึงการจูงใจผู้เรียน ให้ผู้เรียนสนุก รู้จักคุณค่าของการเรียนดนตรี จากนั้นจึงให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์ ความรู้ทางดนตรี เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ดนตรี 2) การใช้แอปพลิเคชั่นดนตรีในการเรียนการสอน ควรคำนึงถึงความสอดคล้องระหว่างความสามารถของแอปพลิเคชั่นกับเนื้อหาสาระ ความสะดวกสบายและความน่าสนใจในการใช้งาน และ 3) การจัดกิจกรรมดนตรีสามารถทำได้ด้วยการสร้างสรรค์ผลงานผ่านสื่อออนไลน์เพื่อเป็นผลงานผู้เรียน โดยควรคำนึงถึงการละเมิดลิขสิทธิ์และความสำคัญของทรัพย์สินทางปัญญา


แนวทางการจัดกิจกรรมชมรมดนตรีไทยเพื่อเสริมสร้างกลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมืออย่างถาวร, ธมนภัทร อนันตศรี Jan 2017

แนวทางการจัดกิจกรรมชมรมดนตรีไทยเพื่อเสริมสร้างกลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมืออย่างถาวร, ธมนภัทร อนันตศรี

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาลักษณะการเรียนรู้แบบร่วมมือในชมรมดนตรีไทยที่มีความแตกต่างกันในระยะเริ่มต้นและชมรมดนตรีไทยระยะยาวนาน 2) เพื่อนำเสนอแนวทางการจัดกิจกรรมชมรมดนตรีไทยตามทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ การวิจัยครั้งนี้ใช้ระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ ครูและนักเรียนในชมรมดนตรีในของโรงเรียนคีรีเวสเพียรอุปถัมภ์ จังหวัดตราด เป็นชมรมดนตรีไทยในโรงเรียนที่มีความโดดเด่นด้านชมรมดนตรีไทยที่เริ่มต้นก่อตั้ง และโรงเรียนวัดทรงธรรม จังหวัดสมุทรปราการ เป็นชมรมดนตรีไทยในโรงเรียนที่มีความโดดเด่นด้านชมรมดนตรีที่มีความมั่นคงยาวนานเกิน 10 ปี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสังเกตและแบบสัมภาษณ์สรุปผล จากนั้นตีความโดยสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย (analysis induction) และนำเสนอข้อมูลแบบความเรียงโดยใช้การพรรณนาความ (Descriptive) ผลการวิจัยพบว่า 1) ทั้งโรงเรียนที่มีความแตกต่างกันในด้านระยะเวลาทั้งเริ่มต้นและยาวนานต่างมีลักษณะการเรียนรู้แบบร่วมมือ มีกิจกรรมที่สะท้อนถึงการรวมกลุ่มที่มีการเรียนรู้แบบร่วมมือในชมรมดนตรีไทยตามตัวชี้วัดทั้ง 5 ได้แก่ (1) การช่วยเหลือเกื้อกูลกันทั้งในด้านกิจกรรมทางดนตรีและการเป็นอยู่ในชมรม (2) การมีปฏิสัมพันธ์ในชมรม ผู้เรียนและครูผู้สอน ปรึกษาหารือกันเพื่อการฝึกซ้อมและการประกวดแข่งขัน (3) การรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละคนในด้านทักษะเครื่องมือเอกที่แต่ละคนต้องฝึกซ้อมรวมทั้งการดูแลเครื่องดนตรีและชมรมดนตรีไทย (4) การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและทักษะการทำงานกลุ่มย่อย การซ้อมแต่ละเครื่องมือและการซ้อมรวมกลุ่มย่อยที่แบ่งตามระดับทักษะ (5) กระบวนการกลุ่มของชมรมดนตรีไทยที่ให้ความสำคัญกับการอยู่ร่วมกันในชมรมและการซ้อมรวมวงเพื่อพัฒนาทักษะรายกลุ่มของผู้เรียน 2) จากการเก็บรวบรวมข้อมูลและการศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยได้สังเคราะห์และนำเสนอแนวทางการที่เป็นคุณลักษณะดนตรีไทยที่ส่งเสริมกลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมืออย่างถาวร


กระบวนการจัดการเรียนการสอนดนตรีไทยสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย กรณีศึกษา ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครนนทบุรี, ธมนวรรณ อยู่ดี Jan 2017

กระบวนการจัดการเรียนการสอนดนตรีไทยสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย กรณีศึกษา ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครนนทบุรี, ธมนวรรณ อยู่ดี

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการจัดการเรียนการสอนดนตรีไทยสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ผู้วิจัยเลือกศึกษา ได้แก่ 1) ครูผู้สอนดนตรีไทย จำนวน 1 ท่าน 2) ผู้เรียนดนตรีไทย จำนวน 30 ท่าน 3) ผู้บริหารศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ จำนวน 1 ท่าน เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างและการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาและสรุปผลเป็นความเรียง ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการสอนดนตรีไทยของผู้สูงอายุในประเทศไทยของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครนนทบุรี เป็นการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ประเภทการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง และเป็นไปตามหลักการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 3 ประการ ได้แก่ ด้านหลักการศึกษาตามอัธยาศัย ที่มีลักษณะการจัดการเรียนการสอนที่ยืดหยุ่น ขับเคลื่อนโดยระบบการบริหารจัดการที่เป็นเอกลักษณ์ภายใต้การดูแลของกลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ เทศบาลนครนนทบุรี โดยมีกลุ่มจิตอาสาทำหน้าที่เป็นผู้ให้ความรู้หลักแก่ผู้เรียนคือกลุ่มสมาชิกผู้สูงอายุ รวมถึงมีการประสานงานกับเครือข่ายชมรมผู้สูงอายุเพื่อขยายการลงพื้นที่ในชุมชน ในด้านคุณลักษณะของผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ โดดเด่นเรื่องการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและเข้าใจถึงธรรมชาติของผู้เรียน และด้านบทบาทของผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการสร้างกำลังใจให้แก่ผู้เรียนเป็นสำคัญ 2) ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนดนตรีไทยสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทยของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครนนทบุรี พบว่า เป็นไปตามทฤษฎีการเรียนรู้ของผู้สูงอายุ (Andragogy) มีบรรยากาศในการเรียนรู้ที่มีลักษณะเป็นกันเอง โดยมีครูผู้สอนเป็นผู้ดำเนินการหลักในการเรียนการสอนในขณะเดียวกันก็ได้เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นโดยมีครูผู้สอนพิจารณาตามความเหมาะสม ใช้การวัดประเมินผลโดยการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) รวมถึงการพัฒนาสุขภาวะของผู้เรียนและทำให้ผู้เรียนเกิดความสุขจากการเล่นดนตรีซึ่งเป็นเป้าหมายสำคัญในการเรียนดนตรีไทยของผู้สูงอายุ


แนวทางการบรรเลงฮอร์นช่วงเสียงต่ำ, นวพร กังสาภิวัฒน์ Jan 2017

แนวทางการบรรเลงฮอร์นช่วงเสียงต่ำ, นวพร กังสาภิวัฒน์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาและเก็บรวบรวมองค์ความรู้ในเรื่องของหลักการในการบรรเลงฮอร์นช่วงเสียงต่ำ และ 2) เพื่อนำเสนอแนวทางการบรรเลงฮอร์นช่วงเสียงต่ำ ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้การวิเคราะห์เอกสาร (Content Analysis) และการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการบรรยาย การกำหนดผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informant) ผู้วิจัยใช้วิธีการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) ผู้เชี่ยวชาญด้านการบรรเลงฮอร์นช่วงเสียงต่ำกลุ่มศิลปินระดับนานาชาติ 2 ท่าน และ 2) ผู้เชี่ยวชาญด้านการบรรเลงฮอร์นช่วงเสียงต่ำกลุ่มศิลปินครู จำนวน 6 ท่าน ผลการวิจัยสรุปว่า 1) ในการศึกษาหัวข้อการบรรเลงฮอร์นช่วงเสียงต่ำ ประกอบด้วย 2 หัวข้อ คือ 1) องค์ประกอบสำคัญในการบรรเลงฮอร์นช่วงเสียงต่ำ ได้แก่ 1.1) รูปปาก 1.2) การใช้ลมหายใจ1.3) ตำแหน่งคาง 1.4) การออกเสียง 1.5) การควบคุมลักษณะเสียง 1.6) ตำแหน่งมือขวา และ 2) แบบฝึกหัดทักษะการบรรเลงฮอร์นช่วงเสียงต่ำ (Horn Low Register's Etudes) โดยองค์ประกอบสำคัญเหล่านี้เป็นองค์ประกอบพื้นฐานในการบรรเลงฮอร์น ซึ่งการบรรเลงฮอร์นแต่ละช่วงเสียงมีวิธีการที่แตกต่างกัน สำหรับการบรรเลงฮอร์นช่วงเสียงต่ำ รูปปากควรมีความผ่อนคลาย ใช้ลมช้าและประมาณมาก โดยการเปลี่ยนตำแหน่งคางและการออกเสียงช่วยสนับสนุนให้ลมเดินทางช้าลง ผู้เล่นควรมีการควบคุมลักษณะเสียงในการบรรเลงฮอร์นช่วงเสียงต่ำโดยใช้ลิ้นเน้นหัวเสียงแรงกว่าช่วงเสียงสูงเพื่อความชัดเจนและแม่นยำ ตำแหน่งมือขวาช่วยทำให้เสียงต่ำมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น องค์ประกอบสำคัญดังกล่าว ส่งผลต่อองค์ประกอบของเสียง ได้แก่ ระดับเสียง ความถูกต้องของระดับเสียง คุณภาพเสียง ความแม่นยำเสียง และสีสันเสียง แบบฝึกหัดฝึกทักษะการบรรเลงฮอร์นช่วงเสียงต่ำเป็นปัจจัยที่ช่วยในการฝึกทักษะการบรรเลงฮอร์นช่วงเสียงต่ำให้เป็นผลดีในระยะยาว 2) แนวทางการบรรเลงฮอร์นช่วงเสียงต่ำ นำเสนอเป็นเล่มเอกสารคู่มือ เรื่อง "แนวทางการบรรเลงฮอร์นช่วงเสียงต่ำ" ประกอบด้วย คำนำ คำชี้แจงในการใช้แนวทางการบรรเลงฮอร์นช่วงเสียงต่ำ สารบัญ ตอนที่ 1 ประวัติความเป็นมาของฮอร์น ตอนที่ 2 หลักการทั่วไปในการบรรเลงฮอร์น ตอนที่ 3 องค์ประกอบสำคัญในการบรรเลงฮอร์นช่วงเสียงต่ำ ตอนที่ 4 แบบฝึกหัดทักษะการบรรเลงฮอร์นช่วงเสียงต่ำ …


Do Homework Trackers Affect Students’ Academic Performance?, Luisdaniel Barrera Jan 2017

Do Homework Trackers Affect Students’ Academic Performance?, Luisdaniel Barrera

All Master's Theses

With new state assessment requirements for high school graduation, teachers are focusing on different strategies to assist students to achieve those goals. Many teachers state that students who complete homework perform better academically. The current study analyzed whether homework planners (trackers) had any positive effect on the academic performance of 16 seventh grade students in a very small and rural school district. This was a mixed study (quantitative and qualitative). Students’ grades, district assessments, state assessments, and teacher surveys were analyzed. The results showed that students improved their math and English Language Arts (ELA) district assessment scores when compared from …


On The Same Page: Theory, Practice & The Ela Common Core State Standards, Jessica Lauer Jan 2017

On The Same Page: Theory, Practice & The Ela Common Core State Standards, Jessica Lauer

Dissertations, Master's Theses and Master's Reports

This research sought to examine how writing was happening in high schools. States across the country, including Michigan, began implementing the Common Core State Standards in 2010. The standards place a heavy focus on informational texts particularly as a student reaches high school. The standards also suggest that writing should be a shared responsibility among teachers, acknowledging the importance of cross-disciplinary writing skills. Using a grounded theory approach to analyze the semi-structured interviews conducted with eight English teachers in the Upper Peninsula of Michigan, this research revealed a disconnect between theory and practice when it comes to how educational standards …


Implementing Proficiency-Based Learning: Perspectives Of Three Vermont High School Social Studies Teachers, Catherine K. Toland Jan 2017

Implementing Proficiency-Based Learning: Perspectives Of Three Vermont High School Social Studies Teachers, Catherine K. Toland

Graduate College Dissertations and Theses

ABSTRACT

The passage of Act 77 in June 2013 and the Educational Quality Standards passed in April 2014 are significantly changing the way education is being conceptualized in Vermont. These two policy mandates called for all Vermont high schools to shift to proficiency-based learning (PBL), also known as standards-based, competency-based or mastery-based learning, by 2020. Yet scant research exists on how to implement PBL. This qualitative study addresses this need by examining the perspectives of three exemplary high school social studies teachers who were early adopters of proficiency- based instruction and learning in their classrooms. The research centered on questions …


Synergy: Game Design + Qur'an Memorization, Sultana Jesmine Moulana Jan 2017

Synergy: Game Design + Qur'an Memorization, Sultana Jesmine Moulana

Theses and Dissertations

The rise of digital technology has transformed nearly every part of our daily lives, including the way we learn and memorize. Such transformations raise interesting questions for one of the most long-standing and demanding memorization tasks in the world: the memorization of the Islamic holy book, The Qur’an. For Muslims, The Qur’an is a timeless, sacred text, cradling within its covers many profound images, stories, and parables. Despite rigorous research in the fields of game design and memorization techniques, very little work has been done in combining these two areas of research to create a game-based memorization experience of The …